วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 12:59  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 189 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 ... 13  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มี.ค. 2019, 20:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ส่วนเรื่องการปฏิบัติ ผมทำแล้วครับ

- เริ่มจากท่านพิจารณาอย่างไรนะถึงเห็นธรรมได้ ไปถามท่านเอากับสมาธิดีกว่า
- นึกถึงท่านสามเณร แล้วเข้าธาตุกรรมฐาน
- อธิษฐานนิมิต(ทำไว้ในใจถึงกายธาตุ หากสมาธิมั่นคงมีกำลังได้ที่มันพรึบขึ้นให้เห็นทันที(นับแต่อุปจาระฌาณขึ้นไป)) (แบบโลกียะ)
- เจริญจตุธาตุววัตถาน(เอาแค่รู้เข้าใจ) (แบบโลกียะ)
- นั่งดู พิจารณา (แบบโลกียะ)
- เห็นอนัตตาในกายธาตุ (แบบโลกียะ)
- หน่าย คลายกำหนัด (แบบโลกียะ)
- เสื่อม (แบบโลกียะ เพราะจิตยังไม่เดิน)

:b32: :b32: :b32:


เอาไงก็เอาเถอะขอรับ :b1:



อย่าคิดมากท่าน เราเฮฮากันไม่ซีเรียสนะครับ ผมยังจำคำที่ท่านสอนผมนะครับว่า อย่าบ้าธรรม ท่านสอนผมนี่อย่าบ้าธรรมมาก ผมก็พิจารณาได้ว่าเพราะรู้จริงจึงไม่ยึด ยึดเพราะไม่รู้แต่เพราะหลงต่างหาก ถูกมั้ยครับ ดังนั้นคุยให้ได้เหมือนคนปรกติจะดีกว่ามากใช่ปะครับ :b1: :b1: :b1:


คิกๆๆๆ ปล่อยให้ทำตามสบายก็ไม่เอาอีก

ถ้างั้นก็เอางี้ เขาเป็นอะไร แล้วจะไปต่อยังไง

นั่งสมาธิแล้วร้องไห้ ร้องจนตัวสั่น

นั่งสมาธิที่ปฏิบัติจริงๆครั้งนี้คือครั้งที่ 2 ที่เข้าถึง นั่งได้เกือบชั่วโมง ครั้งแรกรู้สึกลอยอยู่บนเมฆ รู้สึกดีมาก ครั้งนี้ก็เหมือนกัน แต่ครั้งนี้ลึกกว่ามากนานกว่ามากด้วยเป็นชั่วโมง ครั้งนี้นั่งระลึกจิต หรือเขาเรียกอะไรไม่รู้ ใจคิดถึงแม่คิดถึงพ่อมาก เหมือนจิตอยู่ในอดีต คิดถึงเขาเหมือนจากมานานมาก คิดถึงจับจิต คิดถึงน้ำตาไหลร้องไห้มือสั่นตัวสั่นตัวชา
ถามตัวเองว่าร้องทำไม ร้องไห้ไม่หยุด ตอนร้องรู้สึกตัว ถามตัวเองว่าร้องทำไม ตอบตัวเองไม่ได้ รู้แต่ว่าคิดถึงเขาที่จากมาไกล ไม่ได้คิดไปเองนะ ไม่ได้บ้าด้วย มีคนเป็นเหมือนเรา ใจนิ่งจิตนิ่ง แต่ทำไมใจกับจิตต้องคิดถึงเขาขนาดนั้น เราอยู่กันคนละโลกแล้ว ถึงจิตจะคิดถึงแค่ไหนก็ต้องละต้องวาง ใจคิดจะนั่งสมาธิแค่ให้มีสมาธิอ่านหนังสือ ทำไปทำมายาวเลย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มี.ค. 2019, 20:27 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
สามเณรท่านเห็นชาวนากำลังทำทางดินผันน้ำเข้านา (ถ้าจำไม่ผิดนะครับ) ท่านก็สังเกตุเห็นว่าน้ำไม่มีชีวิต ชาวนายังบังคับให้ไหลตามทางที่ต้องการได้ ท่านก็น้อมเข้ามาพิจารณาตนเองว่าเรามีชีวิตแท้ ๆ ทำไมจะอบรมข่มจิตให้ตั้งมั่นควรแก่การงาน ตามต้องการไม่ได้ จึงเกิดกำลังใจในการเจริญ สมถะ วิปัสสนา บรรลุอรหันต์ในที่สุด ประมาณนี้ครับ


สาธุท่านเจ ดีแล้วครับ สาธุ

เหลือท่านกรัซกายยังตอบผมไม่ได้เลย :b32: :b32: :b32: มีแต่หันเหบ่ายเบี่ยงแล้วบอกให้ลองไปทำดูสิ ไม่รู้กลัวอะไร


ผลสุดท้ายก็ทำสมาธิ เจริญปัญญา คิกๆๆๆ นั่นตัวหนังสือ สมาธิ ปัญญา ท่านยังไม่ได้ทำเบย เพียงแต่อ่านหนังสือแล้วก็มโนไปเท่านั้นเอง บอกไม่เชื่อ


:b32: :b32: :b32: ถามความคิดเห็น นี่ครับ ว่า สถานการณ์นั้นท่านคิดเห็นยังไงจึงรีบไปเข้ากรรมฐาน ท่านกรัซกายนี่อ่านอะไรเข้าใจยากจังครับ ลองย้อนไปอ่านครับ นี่ทำให้เห็นว่าท่านกรัซกายรู้นะ ปต่ขาดการทำความรู้ความเข้าใจจริง ดังนั้นก็ไม่ต่างกัยมโนไปเองว่าเป็นนั่นเป็นนี่ ท่านบ้าธรรมเกินไปอะไรก็จะลงธรรมหมดไหนท่านเคยบอกตำหนิผมว่าบ้าธรรม แต่ผมว่าท่านบ้ากว่าผมนะนี่

ค่อยๆแยกแยะเป็นเรื่องๆไปครับท่าน อย่าเอาทุกเรื่องมารวมกัน


ไปเอานิทานธรรมบทมา เขาว่ายังงั้น แล้วเราเองก็มาคิดยังงี้ แล้วก็ว่าที่เราคิดนั่นแหละเป็นธรรมะ ครั้นคิดยังงั้นแล้วก็นั่งนอนยิ้ม ธรรมะๆๆๆ :b32:


เห็นแสดงกระทู้เรื่องความคิดแบบแยบคาย แต่ตอบกระทู้ไม่ค่อยแยบคายเลยครับ :-)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มี.ค. 2019, 20:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
สามเณรท่านเห็นชาวนากำลังทำทางดินผันน้ำเข้านา (ถ้าจำไม่ผิดนะครับ) ท่านก็สังเกตุเห็นว่าน้ำไม่มีชีวิต ชาวนายังบังคับให้ไหลตามทางที่ต้องการได้ ท่านก็น้อมเข้ามาพิจารณาตนเองว่าเรามีชีวิตแท้ ๆ ทำไมจะอบรมข่มจิตให้ตั้งมั่นควรแก่การงาน ตามต้องการไม่ได้ จึงเกิดกำลังใจในการเจริญ สมถะ วิปัสสนา บรรลุอรหันต์ในที่สุด ประมาณนี้ครับ


สาธุท่านเจ ดีแล้วครับ สาธุ

เหลือท่านกรัซกายยังตอบผมไม่ได้เลย :b32: :b32: :b32: มีแต่หันเหบ่ายเบี่ยงแล้วบอกให้ลองไปทำดูสิ ไม่รู้กลัวอะไร


ผลสุดท้ายก็ทำสมาธิ เจริญปัญญา คิกๆๆๆ นั่นตัวหนังสือ สมาธิ ปัญญา ท่านยังไม่ได้ทำเบย เพียงแต่อ่านหนังสือแล้วก็มโนไปเท่านั้นเอง บอกไม่เชื่อ


:b32: :b32: :b32: ถามความคิดเห็น นี่ครับ ว่า สถานการณ์นั้นท่านคิดเห็นยังไงจึงรีบไปเข้ากรรมฐาน ท่านกรัซกายนี่อ่านอะไรเข้าใจยากจังครับ ลองย้อนไปอ่านครับ นี่ทำให้เห็นว่าท่านกรัซกายรู้นะ ปต่ขาดการทำความรู้ความเข้าใจจริง ดังนั้นก็ไม่ต่างกัยมโนไปเองว่าเป็นนั่นเป็นนี่ ท่านบ้าธรรมเกินไปอะไรก็จะลงธรรมหมดไหนท่านเคยบอกตำหนิผมว่าบ้าธรรม แต่ผมว่าท่านบ้ากว่าผมนะนี่

ค่อยๆแยกแยะเป็นเรื่องๆไปครับท่าน อย่าเอาทุกเรื่องมารวมกัน


ไปเอานิทานธรรมบทมา เขาว่ายังงั้น แล้วเราเองก็มาคิดยังงี้ แล้วก็ว่าที่เราคิดนั่นแหละเป็นธรรมะ ครั้นคิดยังงั้นแล้วก็นั่งนอนยิ้ม ธรรมะๆๆๆ :b32:


เห็นแสดงกระทู้เรื่องความคิดแบบแยบคาย แต่ตอบกระทู้ไม่ค่อยแยบคายเลยครับ :-)


กระทู้ธรรมบท เขาเขียนลงตัวมาให้อ่านแล้ว จะไปคิดทำไมอีก :b32: หรือคิดว่าการคิดนั่นเป็นการรู้ธรรม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มี.ค. 2019, 20:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
สามเณรท่านเห็นชาวนากำลังทำทางดินผันน้ำเข้านา (ถ้าจำไม่ผิดนะครับ) ท่านก็สังเกตุเห็นว่าน้ำไม่มีชีวิต ชาวนายังบังคับให้ไหลตามทางที่ต้องการได้ ท่านก็น้อมเข้ามาพิจารณาตนเองว่าเรามีชีวิตแท้ ๆ ทำไมจะอบรมข่มจิตให้ตั้งมั่นควรแก่การงาน ตามต้องการไม่ได้ จึงเกิดกำลังใจในการเจริญ สมถะ วิปัสสนา บรรลุอรหันต์ในที่สุด ประมาณนี้ครับ


สาธุท่านเจ ดีแล้วครับ สาธุ

เหลือท่านกรัซกายยังตอบผมไม่ได้เลย :b32: :b32: :b32: มีแต่หันเหบ่ายเบี่ยงแล้วบอกให้ลองไปทำดูสิ ไม่รู้กลัวอะไร


ผลสุดท้ายก็ทำสมาธิ เจริญปัญญา คิกๆๆๆ นั่นตัวหนังสือ สมาธิ ปัญญา ท่านยังไม่ได้ทำเบย เพียงแต่อ่านหนังสือแล้วก็มโนไปเท่านั้นเอง บอกไม่เชื่อ


:b32: :b32: :b32: ถามความคิดเห็น นี่ครับ ว่า สถานการณ์นั้นท่านคิดเห็นยังไงจึงรีบไปเข้ากรรมฐาน ท่านกรัซกายนี่อ่านอะไรเข้าใจยากจังครับ ลองย้อนไปอ่านครับ นี่ทำให้เห็นว่าท่านกรัซกายรู้นะ ปต่ขาดการทำความรู้ความเข้าใจจริง ดังนั้นก็ไม่ต่างกัยมโนไปเองว่าเป็นนั่นเป็นนี่ ท่านบ้าธรรมเกินไปอะไรก็จะลงธรรมหมดไหนท่านเคยบอกตำหนิผมว่าบ้าธรรม แต่ผมว่าท่านบ้ากว่าผมนะนี่

ค่อยๆแยกแยะเป็นเรื่องๆไปครับท่าน อย่าเอาทุกเรื่องมารวมกัน


ไปเอานิทานธรรมบทมา เขาว่ายังงั้น แล้วเราเองก็มาคิดยังงี้ แล้วก็ว่าที่เราคิดนั่นแหละเป็นธรรมะ ครั้นคิดยังงั้นแล้วก็นั่งนอนยิ้ม ธรรมะๆๆๆ :b32:


เห็นแสดงกระทู้เรื่องความคิดแบบแยบคาย แต่ตอบกระทู้ไม่ค่อยแยบคายเลยครับ :-)


ไหนคิดเรื่องนี้หน่อยสิ

เหมือนท้องจะแตกไส้จะหลุด

ขณะสวดมนต์แล้วได้เอนตัวลงนอนอย่างมีสติ...ได้บริกรรมพอง กับ ยุบ ไปเรื่อย ๆ ไม่ได้คิดอะไร...จนหลับไปไม่รู้ตัว...ระยะหนึ่ง...ตื่นกลางดึก คือ มีสติรู้ขึ้นมาทันทีของการพองยุบของท้อง และรู้สึกว่ามีนิ้วมือมากดที่สะดือแรงมาก เวลาที่พองออก ท้องก็จะพองออกมาก มือที่กดก็จะแรงไปตามการพองและยุบ จนรู้สึกกลัวมากเหมือนไส้จะหลุดออกมา.. แต่ผมก็พยายามดึงสติให้อยู่กับคำบริกรรมพอง ยุบอีก แต่พยายามแล้วจิตก็ทนไม่ได้ จิตสั่นไปหมดเหมือนท้องจะแตก

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มี.ค. 2019, 20:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
สามเณรท่านเห็นชาวนากำลังทำทางดินผันน้ำเข้านา (ถ้าจำไม่ผิดนะครับ) ท่านก็สังเกตุเห็นว่าน้ำไม่มีชีวิต ชาวนายังบังคับให้ไหลตามทางที่ต้องการได้ ท่านก็น้อมเข้ามาพิจารณาตนเองว่าเรามีชีวิตแท้ ๆ ทำไมจะอบรมข่มจิตให้ตั้งมั่นควรแก่การงาน ตามต้องการไม่ได้ จึงเกิดกำลังใจในการเจริญ สมถะ วิปัสสนา บรรลุอรหันต์ในที่สุด ประมาณนี้ครับ


สาธุท่านเจ ดีแล้วครับ สาธุ

เหลือท่านกรัซกายยังตอบผมไม่ได้เลย :b32: :b32: :b32: มีแต่หันเหบ่ายเบี่ยงแล้วบอกให้ลองไปทำดูสิ ไม่รู้กลัวอะไร


ผลสุดท้ายก็ทำสมาธิ เจริญปัญญา คิกๆๆๆ นั่นตัวหนังสือ สมาธิ ปัญญา ท่านยังไม่ได้ทำเบย เพียงแต่อ่านหนังสือแล้วก็มโนไปเท่านั้นเอง บอกไม่เชื่อ


:b32: :b32: :b32: ถามความคิดเห็น นี่ครับ ว่า สถานการณ์นั้นท่านคิดเห็นยังไงจึงรีบไปเข้ากรรมฐาน ท่านกรัซกายนี่อ่านอะไรเข้าใจยากจังครับ ลองย้อนไปอ่านครับ นี่ทำให้เห็นว่าท่านกรัซกายรู้นะ ปต่ขาดการทำความรู้ความเข้าใจจริง ดังนั้นก็ไม่ต่างกัยมโนไปเองว่าเป็นนั่นเป็นนี่ ท่านบ้าธรรมเกินไปอะไรก็จะลงธรรมหมดไหนท่านเคยบอกตำหนิผมว่าบ้าธรรม แต่ผมว่าท่านบ้ากว่าผมนะนี่

ค่อยๆแยกแยะเป็นเรื่องๆไปครับท่าน อย่าเอาทุกเรื่องมารวมกัน


ไปเอานิทานธรรมบทมา เขาว่ายังงั้น แล้วเราเองก็มาคิดยังงี้ แล้วก็ว่าที่เราคิดนั่นแหละเป็นธรรมะ ครั้นคิดยังงั้นแล้วก็นั่งนอนยิ้ม ธรรมะๆๆๆ :b32:


เห็นแสดงกระทู้เรื่องความคิดแบบแยบคาย แต่ตอบกระทู้ไม่ค่อยแยบคายเลยครับ :-)



นึกออกอีกอย่าง ที่พูดก่อนหน้าว่า ตีหวย ตีตัวเลข คือไปจับคำพูดของพระที่ตนนับถือว่าท่านพูดศัพท์ทางธรรมแปลกๆ แล้วก็เก็บคำพูดของท่านมานั่งคิด นั่งนึกตีความกันว่า หมายถึงอะไร ท่านใบ้ธรรมอะไรให้ แบบเลิฟ เจ.ตีความเรื่องสามเณรนั่นแล. :b32:

แล้วก็บอกอีกว่า แบบนี้แหละเดี๋ยวเถอะได้เป็นอรหันต์ ยังจำได้ไหม เลิฟ เจ.ก็แนวๆนี้แหละ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มี.ค. 2019, 20:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
สามเณรท่านเห็นชาวนากำลังทำทางดินผันน้ำเข้านา (ถ้าจำไม่ผิดนะครับ) ท่านก็สังเกตุเห็นว่าน้ำไม่มีชีวิต ชาวนายังบังคับให้ไหลตามทางที่ต้องการได้ ท่านก็น้อมเข้ามาพิจารณาตนเองว่าเรามีชีวิตแท้ ๆ ทำไมจะอบรมข่มจิตให้ตั้งมั่นควรแก่การงาน ตามต้องการไม่ได้ จึงเกิดกำลังใจในการเจริญ สมถะ วิปัสสนา บรรลุอรหันต์ในที่สุด ประมาณนี้ครับ


สาธุท่านเจ ดีแล้วครับ สาธุ

เหลือท่านกรัซกายยังตอบผมไม่ได้เลย :b32: :b32: :b32: มีแต่หันเหบ่ายเบี่ยงแล้วบอกให้ลองไปทำดูสิ ไม่รู้กลัวอะไร


ผลสุดท้ายก็ทำสมาธิ เจริญปัญญา คิกๆๆๆ นั่นตัวหนังสือ สมาธิ ปัญญา ท่านยังไม่ได้ทำเบย เพียงแต่อ่านหนังสือแล้วก็มโนไปเท่านั้นเอง บอกไม่เชื่อ


:b32: :b32: :b32: ถามความคิดเห็น นี่ครับ ว่า สถานการณ์นั้นท่านคิดเห็นยังไงจึงรีบไปเข้ากรรมฐาน ท่านกรัซกายนี่อ่านอะไรเข้าใจยากจังครับ ลองย้อนไปอ่านครับ นี่ทำให้เห็นว่าท่านกรัซกายรู้นะ ปต่ขาดการทำความรู้ความเข้าใจจริง ดังนั้นก็ไม่ต่างกัยมโนไปเองว่าเป็นนั่นเป็นนี่ ท่านบ้าธรรมเกินไปอะไรก็จะลงธรรมหมดไหนท่านเคยบอกตำหนิผมว่าบ้าธรรม แต่ผมว่าท่านบ้ากว่าผมนะนี่

ค่อยๆแยกแยะเป็นเรื่องๆไปครับท่าน อย่าเอาทุกเรื่องมารวมกัน


ไปเอานิทานธรรมบทมา เขาว่ายังงั้น แล้วเราเองก็มาคิดยังงี้ แล้วก็ว่าที่เราคิดนั่นแหละเป็นธรรมะ ครั้นคิดยังงั้นแล้วก็นั่งนอนยิ้ม ธรรมะๆๆๆ :b32:


เห็นแสดงกระทู้เรื่องความคิดแบบแยบคาย แต่ตอบกระทู้ไม่ค่อยแยบคายเลยครับ :-)


ไหนคิดเรื่องนี้หน่อยสิ

เหมือนท้องจะแตกไส้จะหลุด

ขณะสวดมนต์แล้วได้เอนตัวลงนอนอย่างมีสติ...ได้บริกรรมพอง กับ ยุบ ไปเรื่อย ๆ ไม่ได้คิดอะไร...จนหลับไปไม่รู้ตัว...ระยะหนึ่ง...ตื่นกลางดึก คือ มีสติรู้ขึ้นมาทันทีของการพองยุบของท้อง และรู้สึกว่ามีนิ้วมือมากดที่สะดือแรงมาก เวลาที่พองออก ท้องก็จะพองออกมาก มือที่กดก็จะแรงไปตามการพองและยุบ จนรู้สึกกลัวมากเหมือนไส้จะหลุดออกมา.. แต่ผมก็พยายามดึงสติให้อยู่กับคำบริกรรมพอง ยุบอีก แต่พยายามแล้วจิตก็ทนไม่ได้ จิตสั่นไปหมดเหมือนท้องจะแตก


อาการอย่างนั้น ผมจะกำหนดเดี่ยวนี้ก็ได้ ไม่ต้องตั้งท่าภาวนา เห็นก็แค่รู้แค่ดูเหมือนท้องจะแตกอันนี้เว่อร์ไป ไม่ขนาดนั้น

กรัชกาย เขียน:
นึกออกอีกอย่าง ที่พูดก่อนหน้าว่า ตีหวย ตีตัวเลข คือไปจับคำพูดของพระที่ตนนับถือว่าท่านพูดศัพท์ทางธรรมแปลกๆ แล้วก็เก็บคำพูดของท่านมานั่งคิด นั่งนึกตีความกันว่า หมายถึงอะไร ท่านใบ้ธรรมอะไรให้ แบบเลิฟ เจ.ตีความเรื่องสามเณรนั่นแล. :b32:

แล้วก็บอกอีกว่า แบบนี้แหละเดี๋ยวเถอะได้เป็นอรหันต์ ยังจำได้ไหม เลิฟ เจ.ก็แนวๆนี้แหละ


ตีความอะไร อันนี้เขาตีความให้ตั้งแต่ที่อ่านแล้ว สรุปทำความเข้าใจเอาไว้ เขาถามจึงตอบตามที่เข้าใจ

ศัทธ์ธรรมะแปลก ๆ เสิร์ชกุเกิลดูความหมายแล้วนำมาใช้สื่อสาร มันเป็นแค่ภาษาเอามาสื่อสารกันให้รู้เรื่องเป็นใช้ได้ ธรรม คือความเป็นจริงของสิ่งทั้งปวง คำศัพท์ เอามาบัญญัติสิ่งเหล่านั้นเพื่อคุยกันรู้เรื่อง ถ้าไม่รู้เรื่องก็ถามให้รู้เรื่องแค่นั้นเอง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มี.ค. 2019, 20:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
สามเณรท่านเห็นชาวนากำลังทำทางดินผันน้ำเข้านา (ถ้าจำไม่ผิดนะครับ) ท่านก็สังเกตุเห็นว่าน้ำไม่มีชีวิต ชาวนายังบังคับให้ไหลตามทางที่ต้องการได้ ท่านก็น้อมเข้ามาพิจารณาตนเองว่าเรามีชีวิตแท้ ๆ ทำไมจะอบรมข่มจิตให้ตั้งมั่นควรแก่การงาน ตามต้องการไม่ได้ จึงเกิดกำลังใจในการเจริญ สมถะ วิปัสสนา บรรลุอรหันต์ในที่สุด ประมาณนี้ครับ


สาธุท่านเจ ดีแล้วครับ สาธุ

เหลือท่านกรัซกายยังตอบผมไม่ได้เลย :b32: :b32: :b32: มีแต่หันเหบ่ายเบี่ยงแล้วบอกให้ลองไปทำดูสิ ไม่รู้กลัวอะไร


ผลสุดท้ายก็ทำสมาธิ เจริญปัญญา คิกๆๆๆ นั่นตัวหนังสือ สมาธิ ปัญญา ท่านยังไม่ได้ทำเบย เพียงแต่อ่านหนังสือแล้วก็มโนไปเท่านั้นเอง บอกไม่เชื่อ


:b32: :b32: :b32: ถามความคิดเห็น นี่ครับ ว่า สถานการณ์นั้นท่านคิดเห็นยังไงจึงรีบไปเข้ากรรมฐาน ท่านกรัซกายนี่อ่านอะไรเข้าใจยากจังครับ ลองย้อนไปอ่านครับ นี่ทำให้เห็นว่าท่านกรัซกายรู้นะ ปต่ขาดการทำความรู้ความเข้าใจจริง ดังนั้นก็ไม่ต่างกัยมโนไปเองว่าเป็นนั่นเป็นนี่ ท่านบ้าธรรมเกินไปอะไรก็จะลงธรรมหมดไหนท่านเคยบอกตำหนิผมว่าบ้าธรรม แต่ผมว่าท่านบ้ากว่าผมนะนี่

ค่อยๆแยกแยะเป็นเรื่องๆไปครับท่าน อย่าเอาทุกเรื่องมารวมกัน


ไปเอานิทานธรรมบทมา เขาว่ายังงั้น แล้วเราเองก็มาคิดยังงี้ แล้วก็ว่าที่เราคิดนั่นแหละเป็นธรรมะ ครั้นคิดยังงั้นแล้วก็นั่งนอนยิ้ม ธรรมะๆๆๆ :b32:


เห็นแสดงกระทู้เรื่องความคิดแบบแยบคาย แต่ตอบกระทู้ไม่ค่อยแยบคายเลยครับ :-)


ไหนคิดเรื่องนี้หน่อยสิ

เหมือนท้องจะแตกไส้จะหลุด

ขณะสวดมนต์แล้วได้เอนตัวลงนอนอย่างมีสติ...ได้บริกรรมพอง กับ ยุบ ไปเรื่อย ๆ ไม่ได้คิดอะไร...จนหลับไปไม่รู้ตัว...ระยะหนึ่ง...ตื่นกลางดึก คือ มีสติรู้ขึ้นมาทันทีของการพองยุบของท้อง และรู้สึกว่ามีนิ้วมือมากดที่สะดือแรงมาก เวลาที่พองออก ท้องก็จะพองออกมาก มือที่กดก็จะแรงไปตามการพองและยุบ จนรู้สึกกลัวมากเหมือนไส้จะหลุดออกมา.. แต่ผมก็พยายามดึงสติให้อยู่กับคำบริกรรมพอง ยุบอีก แต่พยายามแล้วจิตก็ทนไม่ได้ จิตสั่นไปหมดเหมือนท้องจะแตก


อาการอย่างนั้น ผมจะกำหนดเดี่ยวนี้ก็ได้ ไม่ต้องตั้งท่าภาวนา เห็นก็แค่รู้แค่ดูเหมือนท้องจะแตกอันนี้เว่อร์ไป ไม่ขนาดนั้น

กรัชกาย เขียน:
นึกออกอีกอย่าง ที่พูดก่อนหน้าว่า ตีหวย ตีตัวเลข คือไปจับคำพูดของพระที่ตนนับถือว่าท่านพูดศัพท์ทางธรรมแปลกๆ แล้วก็เก็บคำพูดของท่านมานั่งคิด นั่งนึกตีความกันว่า หมายถึงอะไร ท่านใบ้ธรรมอะไรให้ แบบเลิฟ เจ.ตีความเรื่องสามเณรนั่นแล. :b32:

แล้วก็บอกอีกว่า แบบนี้แหละเดี๋ยวเถอะได้เป็นอรหันต์ ยังจำได้ไหม เลิฟ เจ.ก็แนวๆนี้แหละ


ตีความอะไร อันนี้เขาตีความให้ตั้งแต่ที่อ่านแล้ว สรุปทำความเข้าใจเอาไว้ เขาถามจึงตอบตามที่เข้าใจ

ศัทธ์ธรรมะแปลก ๆ เสิร์ชกุเกิลดูความหมายแล้วนำมาใช้สื่อสาร มันเป็นแค่ภาษาเอามาสื่อสารกันให้รู้เรื่องเป็นใช้ได้ ธรรม คือความเป็นจริงของสิ่งทั้งปวง คำศัพท์ เอามาบัญญัติสิ่งเหล่านั้นเพื่อคุยกันรู้เรื่อง ถ้าไม่รู้เรื่องก็ถามให้รู้เรื่องแค่นั้นเอง



คิกๆๆ เอาตามสบายเถอะขอรับ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มี.ค. 2019, 21:08 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
วางหลักก่อน


รับกัมมัฏฐานที่เหมาะกับจริยา

พึงเข้าใจความหมายของจริยา และกัมมัฏฐาน พอเป็นเค้า ดังนี้

- กัมมัฏฐาน แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต หรือที่ให้จิตทำงาน กล่าวคือ สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา หรือ อุปกรณ์ในการฝึกอบรมจิต หรืออุบายหรือกลวิธีเหนี่ยวนำสมาธิ พูดง่ายๆว่า สิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด (ด้วยสติ) จิตจะได้มีงานทำเป็นเรื่องเป็นราว สงบอยู่ที่ได้ ไม่เที่ยววิ่งแล่นเตลิดหรือเลื่อนลอยฟุ้งซ่านไปอย่างไร้จุดหมาย

พูดสั้นๆ กรรมฐาน คือสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ของจิต ที่จะชักนำให้เกิดสมาธิ หรืออะไรก็ได้ ที่พอจิตเพ่ง หรือจับแล้วจะช่วยให้จิตแน่วแน่อยู่กับมันเป็นสมาธิได้เร็ว และมั่นคงที่สุด

พูดให้สั้นที่สุดว่า สิ่งที่ใช้ฝึกสมาธิ


อย่างนี้ วิปัสสนากรรมฐาน ไม่ใช้การเพ่งอารมณ์ ก็ไม่ถือเป็นกรรมฐานสิครับ
นึกคิดเอางเอง แล้วนั้งยิ้มนอนยิ้มว่าเป็นธรรมะ อาการมันเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

ท่านว่าให้เลือกเอาอย่างเดียว อย่างใดอย่างหนึ่ง ไปหยิบจับของใครมานึกคิดเอาว่าเป็น
ธรรมะหรือเปล่าครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มี.ค. 2019, 05:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
วางหลักก่อน


รับกัมมัฏฐานที่เหมาะกับจริยา

พึงเข้าใจความหมายของจริยา และกัมมัฏฐาน พอเป็นเค้า ดังนี้

- กัมมัฏฐาน แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต หรือที่ให้จิตทำงาน กล่าวคือ สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา หรือ อุปกรณ์ในการฝึกอบรมจิต หรืออุบายหรือกลวิธีเหนี่ยวนำสมาธิ พูดง่ายๆว่า สิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด (ด้วยสติ) จิตจะได้มีงานทำเป็นเรื่องเป็นราว สงบอยู่ที่ได้ ไม่เที่ยววิ่งแล่นเตลิดหรือเลื่อนลอยฟุ้งซ่านไปอย่างไร้จุดหมาย

พูดสั้นๆ กรรมฐาน คือสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ของจิต ที่จะชักนำให้เกิดสมาธิ หรืออะไรก็ได้ ที่พอจิตเพ่ง หรือจับแล้วจะช่วยให้จิตแน่วแน่อยู่กับมันเป็นสมาธิได้เร็ว และมั่นคงที่สุด

พูดให้สั้นที่สุดว่า สิ่งที่ใช้ฝึกสมาธิ


อย่างนี้ วิปัสสนากรรมฐาน ไม่ใช้การเพ่งอารมณ์ ก็ไม่ถือเป็นกรรมฐานสิครับ
นึกคิดเอางเอง แล้วนั้งยิ้มนอนยิ้มว่าเป็นธรรมะ อาการมันเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

ท่านว่าให้เลือกเอาอย่างเดียว อย่างใดอย่างหนึ่ง ไปหยิบจับของใครมานึกคิดเอาว่าเป็น
ธรรมะหรือเปล่าครับ



แน่ะๆ มีย้อน มีเถียง คิกๆๆ :b32:

พูดยังงั้น ยิ่งทำให้เห็นชัดเข้าอีกว่า เลิฟ เจ. ไม่ได้ศึกษาหลักธรรมจริงๆ เป็นนักธรรมข้างธรรมมาสจริงๆ ดังว่า ฟังคนนั้นพูดทีคนนี้พูดหน่อยแล้วตนเองก็นำมาปะติดปะต่อกัน แล้วก็ยิ้มแก้มปริ :b12: ธรรมะๆๆๆ

เขียนอย่างบาลี “กัมมัฏฐาน” เขียนอย่างสันสกฤต “กรรมฐาน”

รูปแบบบาลีเห็นไม่บ่อย ส่วนมากจะเห็นจะเขียนรูปสันสกฤตกัน (แต่ “กรรม “ ในที่นี้ ก็แปลว่า การงาน กรรมฐาน = ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต เหมือนกัน)

“กัมม” แปลว่า การงาน (งาน ในที่นี้ หมายถึง งานทางด้านจิตใจ) "ฐาน" แปลว่า ที่ตั้ง รวมกัน เป็น “กัมมัฏฐาน” แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต

ถ้าเราเข้าใจถูกตามหลักของเขาอย่างนี้แล้ว จะเห็นมุมกว้างในขณะทำการทำงานทุกอย่าง ซักผ้า รีดผ้า อาบน้ำ แปรงฟัน เดิน วิ่งออกกำลังกาย ฯลฯ ถ้าควบคุมจิตใจให้อยู่กับสิ่งนั้นๆขณะนั้นๆ สิ่งนั้น เรียกว่า กัมมัฏฐาน ได้หมด

เมื่อมองให้แคบเข้ามา ขณะกำหนดลมหายใจเข้า ว่า พุท ว่าโธ ลมหายใจออก (ว่าในใจ) ลมเข้าที ลมออกที ลมเข้า-ลมออก ก็เป็น กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ท้องพอง ว่า พองหนอ ท้องยุบ ว่า ยุบหนอ คิด ว่าคิดหนอ รู้สึกปวดว่าปวดหนอ ฟุ้งซ่าน ว่า ฟุ้งซ่านหนอ ฯลฯ สิ่งนั้นๆ แต่ละขณะๆ ก็เรียกว่า กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ได้หมดขอรับ ถ้าเข้าใจ :b8:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มี.ค. 2019, 05:57 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
วางหลักก่อน


รับกัมมัฏฐานที่เหมาะกับจริยา

พึงเข้าใจความหมายของจริยา และกัมมัฏฐาน พอเป็นเค้า ดังนี้

- กัมมัฏฐาน แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต หรือที่ให้จิตทำงาน กล่าวคือ สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา หรือ อุปกรณ์ในการฝึกอบรมจิต หรืออุบายหรือกลวิธีเหนี่ยวนำสมาธิ พูดง่ายๆว่า สิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด (ด้วยสติ) จิตจะได้มีงานทำเป็นเรื่องเป็นราว สงบอยู่ที่ได้ ไม่เที่ยววิ่งแล่นเตลิดหรือเลื่อนลอยฟุ้งซ่านไปอย่างไร้จุดหมาย

พูดสั้นๆ กรรมฐาน คือสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ของจิต ที่จะชักนำให้เกิดสมาธิ หรืออะไรก็ได้ ที่พอจิตเพ่ง หรือจับแล้วจะช่วยให้จิตแน่วแน่อยู่กับมันเป็นสมาธิได้เร็ว และมั่นคงที่สุด

พูดให้สั้นที่สุดว่า สิ่งที่ใช้ฝึกสมาธิ


อย่างนี้ วิปัสสนากรรมฐาน ไม่ใช้การเพ่งอารมณ์ ก็ไม่ถือเป็นกรรมฐานสิครับ
นึกคิดเอางเอง แล้วนั้งยิ้มนอนยิ้มว่าเป็นธรรมะ อาการมันเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

ท่านว่าให้เลือกเอาอย่างเดียว อย่างใดอย่างหนึ่ง ไปหยิบจับของใครมานึกคิดเอาว่าเป็น
ธรรมะหรือเปล่าครับ



แน่ะๆ มีย้อน มีเถียง คิกๆๆ :b32:

พูดยังงั้น ยิ่งทำให้เห็นชัดเข้าอีกว่า เลิฟ เจ. ไม่ได้ศึกษาหลักธรรมจริงๆ เป็นนักธรรมข้างธรรมมาสจริงๆ ดังว่า ฟังคนนั้นพูดทีคนนี้พูดหน่อยแล้วตนเองก็นำมาปะติดปะต่อกัน แล้วก็ยิ้มแก้มปริ :b12: ธรรมะๆๆๆ

เขียนอย่างบาลี “กัมมัฏฐาน” เขียนอย่างสันสกฤต “กรรมฐาน”

รูปแบบบาลีเห็นไม่บ่อย ส่วนมากจะเห็นจะเขียนรูปสันสกฤตกัน (แต่ “กรรม “ ในที่นี้ ก็แปลว่า การงาน กรรมฐาน = ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต เหมือนกัน)

“กัมม” แปลว่า การงาน (งาน ในที่นี้ หมายถึง งานทางด้านจิตใจ) "ฐาน" แปลว่า ที่ตั้ง รวมกัน เป็น “กัมมัฏฐาน” แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต

ถ้าเราเข้าใจถูกตามหลักของเขาอย่างนี้แล้ว จะเห็นมุมกว้างในขณะทำการทำงานทุกอย่าง ซักผ้า รีดผ้า อาบน้ำ แปรงฟัน เดิน วิ่งออกกำลังกาย ฯลฯ ถ้าควบคุมจิตใจให้อยู่กับสิ่งนั้นๆขณะนั้นๆ สิ่งนั้น เรียกว่า กัมมัฏฐาน ได้หมด

เมื่อมองให้แคบเข้ามา ขณะกำหนดลมหายใจเข้า ว่า พุท ว่าโธ ลมหายใจออก (ว่าในใจ) ลมเข้าที ลมออกที ลมเข้า-ลมออก ก็เป็น กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ท้องพอง ว่า พองหนอ ท้องยุบ ว่า ยุบหนอ คิด ว่าคิดหนอ รู้สึกปวดว่าปวดหนอ ฟุ้งซ่าน ว่า ฟุ้งซ่านหนอ ฯลฯ สิ่งนั้นๆ แต่ละขณะๆ ก็เรียกว่า กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ได้หมดขอรับ ถ้าเข้าใจ :b8:


ไม่ได้เถียงครับ แค่ถาม
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มี.ค. 2019, 07:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
วางหลักก่อน


รับกัมมัฏฐานที่เหมาะกับจริยา

พึงเข้าใจความหมายของจริยา และกัมมัฏฐาน พอเป็นเค้า ดังนี้

- กัมมัฏฐาน แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต หรือที่ให้จิตทำงาน กล่าวคือ สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา หรือ อุปกรณ์ในการฝึกอบรมจิต หรืออุบายหรือกลวิธีเหนี่ยวนำสมาธิ พูดง่ายๆว่า สิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด (ด้วยสติ) จิตจะได้มีงานทำเป็นเรื่องเป็นราว สงบอยู่ที่ได้ ไม่เที่ยววิ่งแล่นเตลิดหรือเลื่อนลอยฟุ้งซ่านไปอย่างไร้จุดหมาย

พูดสั้นๆ กรรมฐาน คือสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ของจิต ที่จะชักนำให้เกิดสมาธิ หรืออะไรก็ได้ ที่พอจิตเพ่ง หรือจับแล้วจะช่วยให้จิตแน่วแน่อยู่กับมันเป็นสมาธิได้เร็ว และมั่นคงที่สุด

พูดให้สั้นที่สุดว่า สิ่งที่ใช้ฝึกสมาธิ


อย่างนี้ วิปัสสนากรรมฐาน ไม่ใช้การเพ่งอารมณ์ ก็ไม่ถือเป็นกรรมฐานสิครับ
นึกคิดเอางเอง แล้วนั้งยิ้มนอนยิ้มว่าเป็นธรรมะ อาการมันเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

ท่านว่าให้เลือกเอาอย่างเดียว อย่างใดอย่างหนึ่ง ไปหยิบจับของใครมานึกคิดเอาว่าเป็น
ธรรมะหรือเปล่าครับ



แน่ะๆ มีย้อน มีเถียง คิกๆๆ :b32:

พูดยังงั้น ยิ่งทำให้เห็นชัดเข้าอีกว่า เลิฟ เจ. ไม่ได้ศึกษาหลักธรรมจริงๆ เป็นนักธรรมข้างธรรมมาสจริงๆ ดังว่า ฟังคนนั้นพูดทีคนนี้พูดหน่อยแล้วตนเองก็นำมาปะติดปะต่อกัน แล้วก็ยิ้มแก้มปริ :b12: ธรรมะๆๆๆ

เขียนอย่างบาลี “กัมมัฏฐาน” เขียนอย่างสันสกฤต “กรรมฐาน”

รูปแบบบาลีเห็นไม่บ่อย ส่วนมากจะเห็นจะเขียนรูปสันสกฤตกัน (แต่ “กรรม “ ในที่นี้ ก็แปลว่า การงาน กรรมฐาน = ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต เหมือนกัน)

“กัมม” แปลว่า การงาน (งาน ในที่นี้ หมายถึง งานทางด้านจิตใจ) "ฐาน" แปลว่า ที่ตั้ง รวมกัน เป็น “กัมมัฏฐาน” แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต

ถ้าเราเข้าใจถูกตามหลักของเขาอย่างนี้แล้ว จะเห็นมุมกว้างในขณะทำการทำงานทุกอย่าง ซักผ้า รีดผ้า อาบน้ำ แปรงฟัน เดิน วิ่งออกกำลังกาย ฯลฯ ถ้าควบคุมจิตใจให้อยู่กับสิ่งนั้นๆขณะนั้นๆ สิ่งนั้น เรียกว่า กัมมัฏฐาน ได้หมด

เมื่อมองให้แคบเข้ามา ขณะกำหนดลมหายใจเข้า ว่า พุท ว่าโธ ลมหายใจออก (ว่าในใจ) ลมเข้าที ลมออกที ลมเข้า-ลมออก ก็เป็น กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ท้องพอง ว่า พองหนอ ท้องยุบ ว่า ยุบหนอ คิด ว่าคิดหนอ รู้สึกปวดว่าปวดหนอ ฟุ้งซ่าน ว่า ฟุ้งซ่านหนอ ฯลฯ สิ่งนั้นๆ แต่ละขณะๆ ก็เรียกว่า กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ได้หมดขอรับ ถ้าเข้าใจ :b8:


ไม่ได้เถียงครับ แค่ถาม
:b8:


แล้วเครียร์ยัง ถามต่ออีกได้นะ ถ้ายังไม่ชัดพอ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มี.ค. 2019, 08:22 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
วางหลักก่อน


รับกัมมัฏฐานที่เหมาะกับจริยา

พึงเข้าใจความหมายของจริยา และกัมมัฏฐาน พอเป็นเค้า ดังนี้

- กัมมัฏฐาน แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต หรือที่ให้จิตทำงาน กล่าวคือ สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา หรือ อุปกรณ์ในการฝึกอบรมจิต หรืออุบายหรือกลวิธีเหนี่ยวนำสมาธิ พูดง่ายๆว่า สิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด (ด้วยสติ) จิตจะได้มีงานทำเป็นเรื่องเป็นราว สงบอยู่ที่ได้ ไม่เที่ยววิ่งแล่นเตลิดหรือเลื่อนลอยฟุ้งซ่านไปอย่างไร้จุดหมาย

พูดสั้นๆ กรรมฐาน คือสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ของจิต ที่จะชักนำให้เกิดสมาธิ หรืออะไรก็ได้ ที่พอจิตเพ่ง หรือจับแล้วจะช่วยให้จิตแน่วแน่อยู่กับมันเป็นสมาธิได้เร็ว และมั่นคงที่สุด

พูดให้สั้นที่สุดว่า สิ่งที่ใช้ฝึกสมาธิ


อย่างนี้ วิปัสสนากรรมฐาน ไม่ใช้การเพ่งอารมณ์ ก็ไม่ถือเป็นกรรมฐานสิครับ
นึกคิดเอางเอง แล้วนั้งยิ้มนอนยิ้มว่าเป็นธรรมะ อาการมันเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

ท่านว่าให้เลือกเอาอย่างเดียว อย่างใดอย่างหนึ่ง ไปหยิบจับของใครมานึกคิดเอาว่าเป็น
ธรรมะหรือเปล่าครับ



แน่ะๆ มีย้อน มีเถียง คิกๆๆ :b32:

พูดยังงั้น ยิ่งทำให้เห็นชัดเข้าอีกว่า เลิฟ เจ. ไม่ได้ศึกษาหลักธรรมจริงๆ เป็นนักธรรมข้างธรรมมาสจริงๆ ดังว่า ฟังคนนั้นพูดทีคนนี้พูดหน่อยแล้วตนเองก็นำมาปะติดปะต่อกัน แล้วก็ยิ้มแก้มปริ :b12: ธรรมะๆๆๆ

เขียนอย่างบาลี “กัมมัฏฐาน” เขียนอย่างสันสกฤต “กรรมฐาน”

รูปแบบบาลีเห็นไม่บ่อย ส่วนมากจะเห็นจะเขียนรูปสันสกฤตกัน (แต่ “กรรม “ ในที่นี้ ก็แปลว่า การงาน กรรมฐาน = ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต เหมือนกัน)

“กัมม” แปลว่า การงาน (งาน ในที่นี้ หมายถึง งานทางด้านจิตใจ) "ฐาน" แปลว่า ที่ตั้ง รวมกัน เป็น “กัมมัฏฐาน” แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต

ถ้าเราเข้าใจถูกตามหลักของเขาอย่างนี้แล้ว จะเห็นมุมกว้างในขณะทำการทำงานทุกอย่าง ซักผ้า รีดผ้า อาบน้ำ แปรงฟัน เดิน วิ่งออกกำลังกาย ฯลฯ ถ้าควบคุมจิตใจให้อยู่กับสิ่งนั้นๆขณะนั้นๆ สิ่งนั้น เรียกว่า กัมมัฏฐาน ได้หมด

เมื่อมองให้แคบเข้ามา ขณะกำหนดลมหายใจเข้า ว่า พุท ว่าโธ ลมหายใจออก (ว่าในใจ) ลมเข้าที ลมออกที ลมเข้า-ลมออก ก็เป็น กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ท้องพอง ว่า พองหนอ ท้องยุบ ว่า ยุบหนอ คิด ว่าคิดหนอ รู้สึกปวดว่าปวดหนอ ฟุ้งซ่าน ว่า ฟุ้งซ่านหนอ ฯลฯ สิ่งนั้นๆ แต่ละขณะๆ ก็เรียกว่า กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ได้หมดขอรับ ถ้าเข้าใจ :b8:


ไม่ได้เถียงครับ แค่ถาม
:b8:


แล้วเครียร์ยัง ถามต่ออีกได้นะ ถ้ายังไม่ชัดพอ :b1:


ตอบปัญหาโดยแยบคายตามที่รู้ที่เข้าใจ อย่างนี้ผมก็อยากถาม
หัวเราะคิก ๆ จิกกัด เหน็บแนมผู้ถาม อย่างนี้ผมก็ไม่อยากถามครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มี.ค. 2019, 08:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
วางหลักก่อน


รับกัมมัฏฐานที่เหมาะกับจริยา

พึงเข้าใจความหมายของจริยา และกัมมัฏฐาน พอเป็นเค้า ดังนี้

- กัมมัฏฐาน แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต หรือที่ให้จิตทำงาน กล่าวคือ สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา หรือ อุปกรณ์ในการฝึกอบรมจิต หรืออุบายหรือกลวิธีเหนี่ยวนำสมาธิ พูดง่ายๆว่า สิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด (ด้วยสติ) จิตจะได้มีงานทำเป็นเรื่องเป็นราว สงบอยู่ที่ได้ ไม่เที่ยววิ่งแล่นเตลิดหรือเลื่อนลอยฟุ้งซ่านไปอย่างไร้จุดหมาย

พูดสั้นๆ กรรมฐาน คือสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ของจิต ที่จะชักนำให้เกิดสมาธิ หรืออะไรก็ได้ ที่พอจิตเพ่ง หรือจับแล้วจะช่วยให้จิตแน่วแน่อยู่กับมันเป็นสมาธิได้เร็ว และมั่นคงที่สุด

พูดให้สั้นที่สุดว่า สิ่งที่ใช้ฝึกสมาธิ


อย่างนี้ วิปัสสนากรรมฐาน ไม่ใช้การเพ่งอารมณ์ ก็ไม่ถือเป็นกรรมฐานสิครับ
นึกคิดเอางเอง แล้วนั้งยิ้มนอนยิ้มว่าเป็นธรรมะ อาการมันเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

ท่านว่าให้เลือกเอาอย่างเดียว อย่างใดอย่างหนึ่ง ไปหยิบจับของใครมานึกคิดเอาว่าเป็น
ธรรมะหรือเปล่าครับ



แน่ะๆ มีย้อน มีเถียง คิกๆๆ :b32:

พูดยังงั้น ยิ่งทำให้เห็นชัดเข้าอีกว่า เลิฟ เจ. ไม่ได้ศึกษาหลักธรรมจริงๆ เป็นนักธรรมข้างธรรมมาสจริงๆ ดังว่า ฟังคนนั้นพูดทีคนนี้พูดหน่อยแล้วตนเองก็นำมาปะติดปะต่อกัน แล้วก็ยิ้มแก้มปริ :b12: ธรรมะๆๆๆ

เขียนอย่างบาลี “กัมมัฏฐาน” เขียนอย่างสันสกฤต “กรรมฐาน”

รูปแบบบาลีเห็นไม่บ่อย ส่วนมากจะเห็นจะเขียนรูปสันสกฤตกัน (แต่ “กรรม “ ในที่นี้ ก็แปลว่า การงาน กรรมฐาน = ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต เหมือนกัน)

“กัมม” แปลว่า การงาน (งาน ในที่นี้ หมายถึง งานทางด้านจิตใจ) "ฐาน" แปลว่า ที่ตั้ง รวมกัน เป็น “กัมมัฏฐาน” แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต

ถ้าเราเข้าใจถูกตามหลักของเขาอย่างนี้แล้ว จะเห็นมุมกว้างในขณะทำการทำงานทุกอย่าง ซักผ้า รีดผ้า อาบน้ำ แปรงฟัน เดิน วิ่งออกกำลังกาย ฯลฯ ถ้าควบคุมจิตใจให้อยู่กับสิ่งนั้นๆขณะนั้นๆ สิ่งนั้น เรียกว่า กัมมัฏฐาน ได้หมด

เมื่อมองให้แคบเข้ามา ขณะกำหนดลมหายใจเข้า ว่า พุท ว่าโธ ลมหายใจออก (ว่าในใจ) ลมเข้าที ลมออกที ลมเข้า-ลมออก ก็เป็น กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ท้องพอง ว่า พองหนอ ท้องยุบ ว่า ยุบหนอ คิด ว่าคิดหนอ รู้สึกปวดว่าปวดหนอ ฟุ้งซ่าน ว่า ฟุ้งซ่านหนอ ฯลฯ สิ่งนั้นๆ แต่ละขณะๆ ก็เรียกว่า กัมมัฏฐาน ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตได้

ได้หมดขอรับ ถ้าเข้าใจ :b8:


ไม่ได้เถียงครับ แค่ถาม
:b8:


แล้วเครียร์ยัง ถามต่ออีกได้นะ ถ้ายังไม่ชัดพอ :b1:


ตอบปัญหาโดยแยบคายตามที่รู้ที่เข้าใจ อย่างนี้ผมก็อยากถาม
หัวเราะคิก ๆ จิกกัด เหน็บแนมผู้ถาม อย่างนี้ผมก็ไม่อยากถามครับ



คิกๆๆๆ :b32: ถามเถอะคลายเครียด

คุณเลิฟ เจ. เพียงคุณพูด...ว่า ทำอนุสสติทั้ง ๑๐ อย่างเนี่ยนะ กรัชกายก็รู้ไส้รู้พุงหมดแล้ว แต่คุณไม่ยอมรับความจริง คงอาย อย่าอายขอรับ ยังไงก็ยังงั้น แค่ไหนก็แค่นั้น จะอยากมีอยากเป็นเอาไปทำอะไร

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มี.ค. 2019, 08:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นำจุดหมายสูงสุดภาคปฏิบัติธรรม ให้พิจารณา

มรรค ในฐานะอุปกรณ์สำหรับใช้ มิใช่สำหรับยึดถือหรือแบกโก้ไว้

"ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษผู้เดินทางไกล พบห้วงน้ำใหญ่ ฝั่งข้างนี้ น่าหวาดระแวง น่ากลัวภัย แต่ฝั่งข้างโน้น ปลอดโปร่ง ไม่มีภัย ก็แล เรือหรือสะพาน สำหรับข้ามไปฝั่งโน้น ก็ไม่มี บุรุษนั้นพึงดำริว่า ห้วงน้ำนี้ใหญ่ ฝั่ง ข้างนี้ น่าหวาดระแวง ...ถ้ากระไร เราพึงเก็บรวมเอาหญ้า
ท่อนไม้ กิ่งไม้ และใบไม้ มาผูกเป็นแพ แล้วอาศัยแพนั้น พยายามเอาด้วยมือและเท้า พึงข้ามถึงฝั่งโน้นได้โดยสวัสดี"

"คราวนั้น เขาจึง...ผูกแพ...ข้ามถึงฝั่งโน้นโดยสวัสดี ครั้น เขาได้ข้ามไป ขึ้นฝั่งข้างโน้นแล้ว ก็มีความดำริว่า แพนี้ มีอุปการะแก่เรามากแท้ เราอาศัยแพนี้...ถ้ากระไร เราพึงยกแพนี้ขึ้นเทินบนหัว หรือแบกขึ้นบ่าไว้ ไปตามความปรารถนา"

"ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะเห็นเป็นเช่นไร ? บุรุษนั้น ผู้กระทำอย่างนี้ จะชื่อว่า เป็นผู้กระทำถูกหน้าที่ต่อแพนั้น หรือไม่ ?"

(ภิกษุทั้งหลาย ทูลตอบว่า ไม่ถูก จึงตรัสต่อไปว่า)

"บุรุษนั้นทำอย่างไร จึงจะชื่อว่าทำถูกหน้าที่ต่อแพนั้น ?
ในเรื่องนี้ บุรุษนั้น เมื่อได้ข้ามไปถึงฝั่งโน้นแล้ว มีความดำริว่า แพนี้ มีอุปการะแก่เรามากแท้...
ถ้ากระไร เราพึงยกแพนี้ขึ้นไว้บนบก หรือ ผูกให้ลอยอยู่ในน้ำ แล้วจึงไปตามปรารถนา
บุรุษนั้นกระทำอย่างนี้ จึงจะชื่อว่า เป็นผู้กระทำถูกหน้าที่ต่อแพนั้น นี้ฉันใด"

"ธรรมก็มีอุปมาเหมือนแพ เราแสดงไว้ เพื่อมุ่งหมายให้ใช้ข้ามไป มิใช่เพื่อให้ยึดถือไว้ ฉันนั้น
เมื่อเธอทั้งหลาย รู้ทั่วถึงธรรม อันมีอุปมาเหมือนแพที่เราแสดงแล้ว พึงละเสียแม้ ซึ่งธรรมทั้งหลาย จะป่วยกล่าวไปใยถึงอธรรมเล่า" (ม.มู.12/280/270)


"ภิกษุทั้งหลาย ทิฏฐิ (หลักการ ความเข้าใจธรรม) ที่บริสุทธิ์ถึงอย่างนี้ ผุดผ่องถึงอย่างนี้ ถ้าเธอทั้งหลาย ยังยึดติดอยู่ เริงใจกระหยิ่มอยู่ เฝ้าถนอมอยู่ ยึดถือว่าเป็นของเราอยู่ เธอทั้งหลาย จะพึงรู้ทั่วถึงธรรม ที่เราแสดงแล้ว เพื่อมุ่งหมายให้ใช้ข้ามไป มิใช่เพื่อให้ยึดถือเอาไว้ ได้ละหรือ"(ม.มู.12/445/479)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มี.ค. 2019, 08:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต่อ

พุทธพจน์ทั้งสองแห่งนี้ นอกจากเป็นเครื่องเตือนไม่ให้ยึดมั่นในธรรมทั้งหลาย (แม้ที่เป็นความจริง ความถูกต้อง) โดยมิได้ถือเอาประโยชน์จากธรรมเหล่านั้นตามความหมาย คุณค่า และประโยชน์ตามความเป็นจริงของมันแล้ว

ข้อที่สำคัญยิ่งก็คือ เป็นการย้ำให้มองเห็นธรรมทั้งหลาย ในฐานะเป็นอุปกรณ์ หรือ วิธีการที่จะนำไปสู่จุดหมาย มิใช่สิ่งลอยๆ หรือจบในตัว

ด้วยเหตุนี้ เมื่อปฏิบัติธรรมข้อใดข้อหนึ่ง จะต้องรู้ตระหนักชัดเจนถึงวัตถุประสงค์ของธรรมนั้น พร้อมทั้งความสัมพันธ์ของมันกับธรรมอย่างอื่นๆ ในการดำเนินไปสู่วัตถุประสงค์นั้น

วัตถุประสงค์ในที่นี้ มิได้หมายเพียงวัตถุประสงค์ทั่วไปในขั้นสุดท้ายเท่านั้น
แต่หมายถึงวัตถุประสงค์เฉพาะตัวของธรรมข้อนั้นๆ เป็นสำคัญ ว่าธรรมข้อนั้นปฏิบัติ เพื่อช่วยสนับสนุน หรือให้เกิดธรรมข้อใด จะไปสิ้นสุดลงที่ใด มีธรรมใดรับช่วงต่อไป ดังนี้เป็นต้น

เหมือนการเดินทางไกล ที่ต่อยานพาหนะหลายทอด และอาจใช้ยานพาหนะต่างกัน ทั้งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ จะรู้คลุมๆ เพียงว่าจะไปสู่จุดหมายปลายทางที่นั่นๆ เท่านั้นไม่ได้
จะต้องรู้ด้วยว่า ยานแต่ละทอดแต่ละอย่างนั้น ตนกำลังอาศัยเพื่อไปถึงที่ใด ถึงที่นั้นแล้ว จะอาศัยยานใดต่อไป ดังนี้ เป็นต้น *

การปฏิบัติธรรมที่ขาดความตระหนักในวัตถุประสงค์ ความเป็นอุปกรณ์ และความสัมพันธ์กับธรรมอื่นๆ ย่อมกลายเป็นการปฏิบัติที่เลื่อนลอย คับแคบ ตัน และที่ร้ายยิ่งคือ ทำให้เขวออกนอกทาง ไม่ตรงจุดหมาย และกลายเป็นธรรมที่เฉื่อยชา เป็นหมัน ไม่แล่นทำการ ไม่ออกผลที่หมาย

เพราะการปฏิบัติอย่างไร้จุดหมายเช่นนี้ ความไขว้เขว และผลเสียหายต่างๆ จึงเกิดขึ้นแก่หลักธรรมสำคัญๆ เช่น สันโดษ อุเบกขา เป็นต้น

ที่อ้างอิง *

* พระสูตรที่ช่วยเน้นข้อความที่กล่าวมานี้ ได้แก่ รถวินีตสูตร ม.มู.12/292-300/287-297 ซึ่งแสดงให้เห็นวัตถุประสงค์ทั่วไปและวัตถุประสงค์เฉพาะของธรรมแต่ละอย่าง ตามลำดับวิสุทธิ ๗


.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 189 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 ... 13  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 43 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร