วันเวลาปัจจุบัน 19 เม.ย. 2024, 22:46  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 123, 124, 125, 126, 127, 128, 129 ... 179  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ก็จำได้ จึงหมอบปริเทวนาการแทบเท้าแห่งภิกษุผู้เป็นบุตร ฝ่ายบิดาไปบ้าง
ก็ร้องไห้ตรงที่นั้นเหมือนกัน น่าสงสารเหลือเกิน ฝ่ายภิกษุนั้นเห็นบิดามารดา
ก็ไม่อาจจะทรงกายอยู่ได้จึงร้องไห้ ภิกษุนั้นกลั้นความโศกแล้วกล่าวว่า ท่าน
ทั้งสองอย่าคิดเลย อาตมาจักเลี้ยงดูท่านให้ผาสุก ยังบิดามารดาให้อุ่นใจแล้ว
ให้ดื่มยาคู ให้นั่งพักในที่ควรส่วนหนึ่งแล้ว นำภิกษาหารมาอีกให้บิดามารดา

บริโภค แล้วแสวงหาภิกษาเพื่อตน ไปสู่สำนักบิดามารดา ถามเรื่องภัตตาหาร
อีก ได้รับตอบว่า ไม่บริโภค จึงบริโภคเอง แล้วให้บิดามารดาอยู่ในที่ควร
แห่งหนึ่ง ภิกษุนั้นได้ปฏิบัติบิดามารดาทั้งสองโดยทำนองนี้ตั้งแต่นั้นมา แม้ภัต
ที่เกิดในปักษ์เป็นต้นที่ตนได้มา ก็ให้แก่บิดามารดา ตนเองเที่ยวภิกษาจาร ได้
มาก็บริโภค เมื่อไม่ได้ก็ไม่บริโภค ได้ผ้าจำพรรษาก็ตาม ผ้าอย่างใดอย่างหนึ่ง

ซึ่งเป็นอดิเรกลาภก็ตาม ก็ให้แก่บิดามารดา ซักย้อมผ้าเก่า ๆ ที่บิดามารดา
นุ่งห่มแล้ว เย็บปะนุ่งห่มเอง ก็วันที่ภิกษุนั้นได้อาหาร มีน้อยวัน วันที่ไม่ได้
มีมากกว่า ผ้านุ่งผ้าห่มของภิกษุนั้นเศร้าหมองเต็มที เมื่อภิกษุนั้นปฏิบัติบิดา
มารดาต่อมา ก็เป็นผู้ซูบผอมเศร้าหมองไม่ผ่องใส กายเหลืองขึ้น ๆ มีตัวดาษ
ไปด้วยเส้นเอ็น ครั้งนั้นเหล่าภิกษุที่เป็นเพื่อนเห็นเพื่อนคบกันมาเห็นภิกษุนั้น

จึงถามว่า อาวุโส แต่ก่อนสรีรวรรณะของเธองามสดใส แต่บัดนี้เธอซูบผอม
เศร้าหมองไม่ผ่องใส กายเหลืองขึ้น ๆ มีตัวดาษไปด้วยเส้นเอ็น พยาธิเกิดขึ้น
แก่เธอหรือ ภิกษุนั้นตอบว่า อาวุโส ข้าพเจ้าไม่มีพยาธิ แต่มีความกังวล
แล้วบอกประพฤติเหตุนั้น ภิกษุเหล่านั้นจึงกล่าวว่า อาวุโส พระศาสดาไม่

ประทานอนุญาตเพื่อยังของที่เขาให้ด้วยศรัทธาให้ตกไป ก็ท่านถือเอาของที่เขา
ให้ด้วยศรัทธามาให้แก่เหล่าคฤหัสถ์ ทำกิจไม่สมควร ภิกษุนั้นได้ฟังถ้อยคำ
ของภิกษุเหล่านั้นก็ละอาย ทอดทิ้งมาตาปิตุปัฏฐานกิจเสีย ภิกษุเหล่านั้นยังไม่
พอใจ แม้ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ จึงพากันไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้ากราบทูล


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุชื่อโน้นยังของที่เขาให้ด้วยศรัทธาให้ตกไป
เลี้ยงดูคฤหัสถ์ พระศาสดาตรัสเรียกภิกษุนั้นมาตรัสถามว่า แน่ะภิกษุ ได้ยินว่า
เธอถือเอาศรัทธาไทยไปเลี้ยงคฤหัสถ์ จริงหรือ เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลรับว่า จริง
พระเจ้าข้า เมื่อทรงใคร่จะสรรเสริญการกระทำของภิกษุนั้น และทรงใคร่จะ
ประกาศบุพจริยาของพระองค์ จึงตรัสถามว่า แน่ะภิกษุ เมื่อเธอเลี้ยงดูเหล่า

คฤหัสถ์ เลี้ยงดูคฤหัสถ์เหล่าไหน ภิกษุนั้นกราบทูลว่า บิดามารดาของข้า
พระองค์ พระเจ้าข้า เพื่อจะยังความอุตสาหะให้เกิดแก่ภิกษุนั้น พระศาสดา
ได้ทรงประทานสาธุการสามครั้ง ว่า สาธุ สาธุ สาธุ แล้วตรัสว่า เธอดำรง
อยู่ในทางที่เราดำเนินแล้ว แม้เราเมื่อประพฤติบุพจริยาก็ได้บำรุงเลี้ยงบิดา

มารดา ภิกษุนั้นกลับได้ความเบิกบานใจ ลำดับนั้น เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบ
ทูลวิงวอนให้ทรงประกาศบุพจริยา พระศาสดาจึงทรงนำอดีตนิทานมาแสดง
ดังต่อไปนี้.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในอดีตกาล ณ ที่ไม่ไกลแต่กรุงพาราณสี มีบ้าน
นายพรานบ้านหนึ่งริมฝั่งนี้แห่งแม่น้ำ และมีบ้านนายพรานอีกบ้านหนึ่งริมฝั่ง
โน้นแห่งแม่น้ำ ในบ้านแห่งหนึ่ง ๆ มีตระกูลประมาณห้าร้อยตระกูล นาย
เนสาทผู้เป็นใหญ่สองคนในบ้านทั้งสองเป็นสหายกัน ในเวลาที่ยังหนุ่มอยู่ เขา
ได้ทำกติกาสัญญากันอย่างนี้ว่า ถ้าข้างหนึ่งมีธิดา ข้างหนึ่งมีบุตร เราจักทำ

อาวาหวิวาทมงคลแก่บุตรธิดาเหล่านั้น ลำดับนั้น ในเรือนของนายเนสาท
ผู้เป็นใหญ่ในบ้านริมฝั่งนี้คลอดบุตร บิดามารดาให้ชื่อว่า ทุกูลกุมาร เพราะ
กุมารนั้นอันญาติทั้งหลายรองรับด้วยทุกูลพัสตร์ในขณะเกิด ในเรือนของนาย

เนสาทผู้เป็นใหญ่อีกคนหนึ่งคลอดธิดา บิดามารดาให้ชื่อว่า ปาริกากุมารี
เพราะนางเกิดฝั่งโน้น กุมารกุมารีทั้งสองมีรูปงามน่าเลื่อมใสมีผิวพรรณดัง
ทองคำ แม้เกิดในสกุลนายพรานก็ไม่ทำปาณาติบาต.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
กาลต่อมา เมื่อทุกูลกุมารมีอายุได้สิบหกปี บิดามารดาพูดว่า จะนำ
กุมาริกามาเพื่อเจ้า แต่ทุกูลกุมารมาแต่พรหมโลก เป็นสัตว์บริสุทธิ์ จึงปิดหู
ทั้งสองกล่าวว่า ข้าแต่คุณพ่อคุณแม่ ฉันไม่ต้องการอยู่ครองเรือน โปรดอย่า
ได้พูดอย่างนี้ แม้บิดามารดาพูดอยู่ถึงสองครั้งสามครั้ง ก็ไม่ปรารถนา ฝ่าย

ปาริกากุมารีแม้บิดามารดาพูดว่า แน่ะแม่ บุตรของสหายเรามีอยู่ เขามีรูปงาม
น่าเลื่อมใสมีผิวพรรณดั่งทองคำ เราจักให้ลูกแก่เขา นางปาริกาก็กล่าวห้าม
อย่างเดียวกัน แล้วปิดหูทั้งสองเสีย เพราะนางมาแต่พรหมโลกเป็นสัตว์บริสุทธิ์.

ในคราวนั้น ทุกูลกุมารส่งข่าวลับไปถึงนางปาริกาว่า ถ้าปาริกามี
ความต้องการด้วยเมถุนธรรม ก็จงไปสู่เรือนของบุคคลอื่น ฉันไม่มีความพอ
ใจในเมถุน แม้นางปาริกาก็ส่งข่าวลับไปถึงทุกูลกุมารเหมือนกัน แต่บิดามารดา
ได้กระทำอาวาหวิวาหมงคล แก่กุมารกุมารีทั้งสองผู้ไม่ปรารถนาเรื่องประ-

เวณีเลย เขาทั้งสองมิได้หยั่งลงสู่สมุทรคือกิเลส อยู่ด้วยกันเหมือนมหาพรหม
สององค์ ฉะนั้น ฝ่ายทุกูลกุมารไม่ฆ่าปลาหรือเนื้อ โดยที่สุดแม้เนื้อที่บุคคล
นำมา ก็ไม่ขาย ลำดับนั้น บิดามารดาพูดกะเขาว่า แน่ะพ่อ เจ้าเกิดในสกุล
นายพราน ไม่ปรารถนาอยู่ครองเรือน ไม่ทำการฆ่าสัตว์ เจ้าจักทำอะไร

ทุกูลกุมาร กล่าวตอบอย่างนี้ว่า ข้าแต่คุณพ่อคุณแม่ เมื่อท่านทั้งสองอนุญาต
เราทั้งสองก็จักบวช บิดามารดาได้ฟังดังนั้น จึงอนุญาตว่า ถ้าเช่นนั้น เจ้า
ทั้งสองจงบวชเถิด ทุกูลกุมารและปาริกากุมารีก็ยินดีร่าเริง ไหว้บิดามารดา
แล้วออกจากบ้าน เข้าสู่หิมวันตประเทศทางฝั่งแม่น้ำคงคา โดยลำดับ ละแม่
น้ำคงคามุ่งตรงไปแม่น้ำมิคสัมมตา ซึ่งไหลลงมาแต่หิมวันตประเทศถึงแม่-
น้ำคงคา.

ขณะนั้น พิภพแห่งท้าวสักกเทวราชสำแดงอาการเร่าร้อน ท้าว-
สักกเทวราชทรงอาวัชนาการก็ทรงทราบการณ์นั้น จึงตรัสเรียกพระวิสสุกรรม
เทพบุตรมา ตรัสว่า แน่ะพ่อวิสสุกรรม ท่านมหาบุรุษทั้งสองออกจากบ้าน
ใคร่จะบวชเป็นฤาษี เข้าสู่หิมวันตประเทศ ควรที่ท่านทั้งสองนั้นจะได้ที่อยู่

ท่านจงเนรมิตบรรณศาลา และบรรพชิตบริขารเพื่อท่านทั้งสองนั้น ณ ภายใน
กึ่งเสียงกู่ ตั้งแต่มิคสัมมตานที เสร็จแล้วกลับมา พระวิสสุกรรมเทพบุตรรับ


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
เทวบัญชาแล้ว ไปจัดกิจทั้งปวงโดยนัยที่กล่าวแล้วในมูคปักขชาดก ไล่เนื้อและ
นกที่มีสำเนียง ไม่เป็นที่ชอบใจให้หนีไป แล้วเนรมิตมรรคาเดินผู้เดียว แล้ว
กลับไปที่อยู่ของตน กุมารกุมารีทั้งสองเห็นทางนั้น แล้วก็เดินไปตามทางนั้น
ถึงอาศรมบท ทุกูลบัณฑิตเข้าสู่บรรณศาลา เห็นบรรพชิตบริขารก็ทราบสักก-

ทัตติยภาพว่า ท้าวสักกะประทานแก่เรา จึงเปลื้องผ้าสาฎก ออกนุ่งผ้าเปลือก
ไม้สีแดงผืนหนึ่งห่มผืนหนึ่ง พาดหนังเสือบนบ่า ผูกมณฑลชฎาทรงเพศฤาษี
แล้วให้นางปาริกาบวชเป็นฤาษิณี ฤาษีฤาษิณีทั้งสององค์นั้น เจริญเมตตาภูมิ-
กามาพจรอาศัยอยู่ในที่นั้น แม้ฝูงเนื้อและนกทั้งปวง ก็กลับได้เมตตาจิตต่อกัน

และกัน ด้วยอานุภาพเมตตาแห่งดาบสดาบสินีทั้งสองนั้น บรรดาสัตว์เหล่านั้น
ไม่มีสัตว์ไร ๆ เบียดเบียนสัตว์ไร ๆ เลย ฝ่ายปาริกาดาบสินีลุกขึ้นแต่เช้า
ตั้งน้ำดื่มและของฉันแล้วกวาดอาศรมบททำกิจทั้งปวง ดาบสและดาบสินีทั้ง
สองนั้น นำผลไม้เล็กใหญ่มาฉัน แล้วเข้าสู่บรรณศาลาของตน ๆ เจริญสมณ
ธรรม สำเร็จการอยู่ในที่นั้นนั่นแล.

ท้าวสักกเทวราชเสด็จมาสู่ที่บำรุงแห่งพระมุนีทั้งสองนั้น วันหนึ่งพระ-
องค์ทรงพิจารณาเห็นอันตรายแห่งพระมุนีทั้งสองนั้นว่า จักษุทั้งสองข้างของ
ท่านทั้งสองนี้จักมืด จึงลงมาจากเทวโลกเข้าไปหาทุกูลบัณฑิต นมัสการแล้ว
นั่ง ณ ที่ควรส่วนหนึ่ง ตรัสอย่างนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อันตรายจะปรากฏแก่
ท่านทั้งสอง ควรที่ท่านทั้งสองจะได้บุตรไว้สำหรับปฏิบัติท่าน ขอท่านทั้งสอง

จงเสพโลกธรรม ทุกูลบัณฑิตได้สดับคำของท้าวสักกเทวราชจึงกล่าวว่า ดูก่อน
ท้าวสักกะ พระองค์ตรัสอะไร เราทั้งสองแม้อยู่ท่ามกลางเรือนก็หาได้เสพโลก
ธรรมไม่ เราทั้งสองละโลกธรรมนี้ เกลียดดุจกองคูถอันเต็มไปด้วยหนอน ก็
บัดนี้เราทั้งสองเข้าป่าบวชเป็นฤาษี จักกระทำกรรมเช่นนี้อย่างไรได้ ท้าว

สักกเทวราชตรัสว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ พระผู้เป็นเจ้าไม่ต้องทำอย่างนั้น เป็น
แต่เอามือลูบท้องปาริกาดาบสินีเวลานางมีระดู ทุกูลบัณฑิตรับว่า อย่างนี้อาจ
ทำได้ ท้าวสักกเทวราช นมัสการทุกูลดาบสแล้วกลับไปที่อยู่ของตน ฝ่ายทุกูล


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 08:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บัณฑิตก็บอกนางปรริกาให้รู้ตัว แล้วเอามือลูบท้องนาง ในเวลาที่นางมีระดู.
ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์จุติจากเทวโลก ถือปฏิสนธิในท้องนางปาริ-
กาฤาษีณี กาลล่วงไปได้สิบเดือน นางคลอดบุตรมีผิวพรรณดั่งทองคำ ด้วย
เหตุนั้นเอง บิดามารดาจึงตั้งชื่อบุตรว่า สุวรรณสามกุมาร เวลาที่ปาริกาดาบ-
สินี ไปป่าเพื่อหามูลผลาผล นางกินรีทั้งหลายที่อยู่ภายในบรรพต ได้ทำหน้าที่
นางนม ดาบสดาบสินีทั้งสองสรงน้ำพระโพธิสัตว์แล้วให้บรรทมในบรรณศาลา

แล้วพากันไปหาผลไม้เล็กใหญ่ ในขณะนั้น นางกินรีทั้งหลาย อุ้มกุมารไป
สรงน้ำที่ซอกเขาเป็นต้น แล้วขึ้นสู่ยอดบรรพต ประดับด้วยบุปผชาติต่าง ๆ
แล้วฝนหรดาลและมโนศิลาเป็นต้นที่แผ่นศิลา ประให้เป็นเม็ดที่นลาตแล้วนำ
มาให้ไสยาสน์ในบรรณศาลา ฝ่ายนางปาริกากลับมาก็ให้บุตรดื่มนม กาลต่อ

มา บิดามารดาปกปักรักษาบุตรนั้น จนมีอายุได้สิบหกปี ให้นั่งอยู่ในบรรณ-
ศาลา ตนเองพากันไปป่าเพื่อหามูลผลาผลในป่า ลำดับนั้น พระมหาสัตว์ทรง
คิดว่า อันตรายอะไร ๆ จะพึงมีแก่บิดามารดาของเรา ในกาลบางคราว จึง
ทรงสังเกตทางที่บิดามารดาไป.

อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อดาบสดาบสินีทั้งสองนำมูลผลาผลในป่ากลับมาใน
เวลาเย็น ถึงที่ใกล้อาศรมบท มหาเมฆตั้งขึ้นฝนตก ท่านทั้งสองจึงเข้าไปสู่
โคนไม้แห่งหนึ่ง ยืนอยู่บนยอดจอมปลวก อสรพิษมีอยู่ภายในจอมปลวกนั้น
น้ำฝนเจือกลิ่นเหงื่อจากสรีระของสองท่านนั้น ไหลลงเข้ารูจมูกแห่งอสรพิษนั้น
มันโกรธพ่นลมในจมูกออกมา ลมในจมูกนั้นถูกจักษุทั้งสองข้างแห่งดาบสและ

ดาบสินีนั้น ทั้งสองท่านก็เป็นคนจักษุมืดไม่เห็นกันและกัน เพราะลมนั้น
ทุกูลบัณฑิตเรียกนางปาริกามาบอกว่า ปาริกา จักษุทั้งสองของฉันมืด ฉัน
มองไม่เห็นเธอ แม้นางปาริกา ก็กล่าวอย่างนั้นเหมือนกัน ทั้งสองมองไม่เห็น
ทางก็ยืนคร่ำครวญอยู่ด้วยเข้าใจว่า บัดนี้ชีวิตของเราทั้งสองไม่มีละ.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 08:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ก็ดาบสและดาบสินีทั้งสองนั้น มีบุรพกรรมเป็นอย่างไร ได้ยินว่า
ท่านทั้งสองนั้นในปางก่อนเกิดในสกุลแพทย์ ครั้งนั้น แพทย์นั้นรักษาโรคใน
จักษุของบุรุษมีทรัพย์มากคนหนึ่ง บุรุษนั้นจักษุหายดีแล้ว ไม่ให้ทรัพย์ค่า
รักษาอะไร ๆ แก่แพทย์นั้น แพทย์โกรธเขา ไปสู่เรือนแจ้งแก่ภริยาของตน
ว่า ที่รัก ฉันรักษาโรคในจักษุของบุรุษนั้นหาย บัดนี้เขาไม่ให้ทรัพย์ค่ารักษา

แก่ฉัน เราจะทำอย่างไรดี ฝ่ายภริยาได้สดับสามีกล่าวก็โกรธ จึงกล่าวว่า
เราไม่ต้องการทรัพย์ที่มีอยู่ของมัน ท่านจงประกอบยาขนานหนึ่งให้มันหยอด
ทำจักษุทั้งสองของมันให้บอดเสียเลย สามีเห็นชอบด้วย จึงออกจากเรือนไป
หาบุรุษนั้น ได้กระทำตามนั้น บุรุษผู้มีทรัพย์มากคนนั้น ไม่นานนักก็กลับ
จักษุมืดไปอีก ดาบสและดาบสินีทั้งสองมีจักษุมืดด้วยบาปกรรมอันนี้.

ลำดับนั้น พระมหาสัตว์คิดว่า บิดามารดาของเรา ในวันอื่น ๆ เคย
กลับเวลานี้ บัดนี้เราไม่รู้เรื่องราวของท่านทั้งสองนั้น จึงเดินสวนทางร้องเรียก
หาไป ท่านทั้งสองนั้นจำเสียงบุตรได้ก็ขานรับ แล้วกล่าวห้ามด้วยความรักใน
บุตรว่า มีอันตรายในที่นี้ อย่ามาเลยลูก พระมหาสัตว์ตอบท่านทั้งสองว่า
ถ้าเช่นนั้น ท่านทั้งสองจงจับปลายไม้เท้านี้มาเถิด แล้วยื่นไม้เท้ายาวให้ท่าน

ทั้งสองจับ ท่านทั้งสองจับปลายไม้เท้าแล้วมาหาบุตร พระมหาสัตว์ถามว่า
จักษุของท่านทั้งสองมืดไปด้วยเหตุอะไร บิดามารดาทั้งสอง ก็เล่าให้พระมหา
สัตว์ผู้บุตรฟังว่า ลูกรัก เมื่อฝนตก เราทั้งสองยืนอยู่บนยอดจอมปลวกที่โคน
ไม้ในที่นี้ จักษุทั้งสองมืดไปด้วยเหตุนั้น พระมหาสัตว์ได้สดับคำของบิดามารดา
ก็รู้ว่าอสรพิษมีในจอมปลวกนั้น อสรพิษนั้นขัดเคืองปล่อยลมในจมูกออกมา

พระมหาสัตว์เห็นบิดามารดาแล้วร้องไห้และหัวเราะ บิดามารดาจึงถามว่า
ทำไมถึงร้องไห้ และหัวเราะ พระมหาสัตว์ตอบว่า ข้าพเจ้าร้องไห้ ด้วยเสีย
ใจว่าจักษุของท่านทั้งสองพินาศไป ในเวลาที่ข้าพเจ้ายังเป็นเด็กอยู่ แต่ข้าพเจ้า
หัวเราะด้วยดีใจว่า ข้าพเจ้าจักได้ปฏิบัติบำรุงท่านทั้งสองในบัดนี้ ขอท่านทั้ง
สองอย่าได้คิดอะไรเลย ข้าพเจ้าจักปฏิบัติบำรุงท่านทั้งสองให้ผาสุก พระมหา-


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 08:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
สัตว์ปลอบโยนให้บิดามารดาทั้งสองเบาใจ แล้วนำมาอาศรมบท ผูกเชือกเป็น
ราวในที่ทั้งปวงสำหรับบิดามารดาทั้งสองนั้น คือที่พักกลางคืน ที่พักกลางวัน
ที่จงกรม บรรณศาลา ที่ถ่ายอุจจาระปัสสาวะ จำเดิมแต่นั้นมา ให้บิดามารดา
อยู่ในอาศรมบท ไปนำมูลผลาผลในป่ามาเองตั้งไว้ในบรรณศาลา กวาดที่อยู่

ของบิดามารดาแต่เช้าทีเดียว ไหว้บิดามารดาแล้วถือหม้อน้ำไปสู่มิคสัมมตานที
นำน้ำดื่มมา แต่งตั้งของฉันไว้ ให้ไม้สีฟันและน้ำบ้วนปากเป็นต้น ให้
ผลาผลที่มีรสอร่อย เมื่อบิดามารดาบริโภคแลบ้วนปากแล้ว ตนเองจึงบริโภค
ผลาผลที่เหลือ เสร็จกิจบริโภคแล้วไหว้ลาบิดามารดา มีฝูงมฤคแวดล้อมเข้า
ป่าเพื่อต้องการหาผลาผล เหล่ากินนรที่เชิงบรรพต แวดล้อมพระโพธิสัตว์

ช่วยเก็บผลาผลให้พระโพธิสัตว์ เวลาเย็นพระโพธิสัตว์กลับมาอาศรม เอาหม้อ
ตักน้ำมาตั้งไว้ ต้มน้ำให้ร้อนแล้วอาบและล้างเท้าบิดามารดาตามอัธยาศัย นำ
กระเบื้องถ่านเพลิงมาให้ผิง เช็ดมือเท้าของบิดามารดา เมื่อบิดามารดานั่งแล้ว
ก็ให้บริโภคผลาผล ส่วนตนเองบริโภคเมื่อบิดามารดาบริโภคเสร็จแล้ว จัด
วางผลาผล ที่เหลือไว้ในอาศรมบท พระโพธิสัตว์ปฏิบัติบำรุงบิดามารดาโดย
ทำนองนี้ทีเดียว.

สมัยนั้น พระราชาพระนามว่า ปิลยักขราช เสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระองค์ทรงโลภเนื้อมฤค จึงมอบราชสมบัติให้พระชนนี
ปกครอง ผูกสอดราชาวุธห้าอย่างเข้าสู่หิมวันตประเทศ ทรงฆ่ามฤคทั้งหลาย
เสวยเนื้อ เสด็จถึงมิคสัมมตานที แล้วถึงท่าที่สุวรรณสามพระโพธิสัตว์ตักน้ำ

โดยลำดับ ทอดพระเนตรเห็นรอยเท้ามฤค ก็ทรงทำซุ้มด้วยกิ่งไม้มีสีเขียว
โก่งคันศรสอดลูกศรอาบยาพิษ ประทับนั่งเตรียมอยู่ในซุ้มนั้น ฝ่ายพระมหาสัตว์
นำผลาผลมาในเวลาเย็น วางไว้ในอาศรมบท ไหว้บิดามารดาลาไปตักน้ำ
ถือหม้อน้ำมีฝูงมฤคแวดล้อม ให้มฤคสองตัวเดินเคียงกัน วางหม้อน้ำดื่มบน

หลังมฤคทั้งสองมือประคองไปสู่ท่าน้ำ ฝ่ายพระราชาประทับอยู่ในซุ้ม ทอด
พระเนตรเห็นพระโพธิสัตว์ดำเนินมา ทรงคิดว่า เราเที่ยวมาในหิมวันตประเทศ
ตลอดกาลถึงเพียงนี้ ยังไม่เคยเห็นมนุษย์ ผู้นี้จะเป็นเทวดาหรือนาคหนอ

ถ้าเราจักเข้าไปไต่ถามผู้นี้ ถ้าเป็นเทวดาก็จักเหาะขึ้นสู่อากาศ ถ้าเป็นนาคก็จัก
ดำดินไป แต่เราจะเที่ยวอยู่ในหิมวันตประเทศตลอดกาลทั้งปวงก็หาไม่ ถ้าเรา
จักกลับพาราณสี อมาตย์ทั้งหลายจักถามเราในการที่เราเที่ยวในหิมวันตประเทศ


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 08:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
นั้นว่า เมื่อพระองค์อยู่ในหิมวันตประเทศได้เคยทอดพระเนตรเห็นอะไร
อัศจรรย์บ้าง เราจักกล่าวว่าได้เคยเห็นสัตว์เช่นนี้ เขาก็จักถามว่า สัตว์นั้น
ชื่ออะไร ถ้าเราจักตอบว่า ไม่รู้จัก เขาก็จักติเตียนเรา เพราะเหตุนั้น เราจัก
ยิงผู้นี้ทำให้ทุรพลแล้วจึงถามเรื่อง ลำดับนั้น ในเมื่อฝูงมฤคนั้นลงดื่มน้ำแล้ว
ขึ้นก่อน พระโพธิสัตว์จึงค่อย ๆ ลงราวกะพระเถระผู้มีวัตรอันเรียนแล้ว อาบ-

น้ำระงับความกระวนกระวายแล้วขึ้นจากน้ำ นุ่งผ้าเปลือกไม้สีแดงผืนหนึ่ง ห่ม
ผืนหนึ่ง เอาหนังเสือพาดเฉวียงบ่า ยกหม้อน้ำขึ้นเช็ดน้ำแล้ววางบนบ่าซ้าย
ก็ในกาลนั้น พระราชาทรงคิดว่า บัดนี้เป็นสมัยที่จะยิง จึงยกลูกศรอาบยาพิษ
นั้นขึ้นยิงพระโพธิสัตว์ถูกข้างขวาทะลุออกข้างซ้าย ฝูงมฤครู้ว่าพระมหาสัตว์
ถูกยิง ตกใจกลัวหนีไป ฝ่ายสุวรรณสามบัณฑิตแม้ถูกยิง ก็ประคองหม้อน้ำ

ไว้โดยปกติ ตั้งสติค่อย ๆ วางหม้อน้ำลง คุ้ยเกลี่ยทรายตั้งหม้อน้ำ กำหนดทิศ
หันศีรษะไปทางทิศาภาคเป็นที่อยู่ของบิดามารดา เป็นดุจสุวรรณปฏิมานอน
บนทรายมีพรรณดั่งแผ่นเงิน ตั้งสติกล่าวว่า ชื่อว่าบุคคลผู้มีเวรของเราใน
หิมวันตประเทศนี้ย่อมไม่มี บุคคลผู้มีเวรของบิดามารดาของเราก็ไม่มี
กล่าวดังนี้แล้วถ่มโลหิตในปาก ไม่เห็นพระราชาเลย เมื่อจะถามจึงกล่าวคาถา
ที่หนึ่งว่า

ใครหนอใช้ลูกศรยิ่งเราผู้ประมาทกำลังแบก
หม้อน้ำ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ คนไหนยิงเรา
ซ่อนกายอยู่.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปมตฺตํ ความว่า ผู้ไม่ตั้งสติในการ
เจริญเมตตา ก็คำนี้พระโพธิสัตว์กล่าวหมายเนื้อความว่า ได้กระทำตนเป็นผู้
ประมาทในขณะนั้น. บทว่า วิทฺธา ความว่า ยิงแล้วซ่อนกายอยู่ในที่นี้
ชนชื่อไรหนอ เป็นกษัตริย์ หรือพราหมณ์ หรือแพศย์ ใช้ลูกศรอาบยาพิษ
ยิงเราผู้กำลังไปตักน้ำที่มิคสัมมตานที คือชนชื่อไรหนอยิงเราแล้วซ่อนกายอยู่
คือปกปิดตนในพุ่มไม้.

ก็แลครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว เพื่อจะแสดงความที่มังสะในสรีระของตน
เห็นว่าไม่เป็นภักษา จึงกล่าวคาถาที่สองว่า


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 08:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
เนื้อของเราก็กินไม่ได้ หนังก็ไม่มีประโยชน์
เมื่อเป็นเช่นนี้ เขาเข้าใจว่าเราเป็นผู้ควรยิง ด้วยเหตุ
อะไรหนอ.

ในคาถานั้นมีความว่า ท่านมาณพผู้เจริญ เนื้อของเรา คือเนื้อใน
สรีระของเรา กินไม่ได้ คือมนุษย์ทั้งหลายไม่พึงกิน หนังของเรา คือหนัง
ในสรีระของเรา ไม่มีประโยชน์แก่มนุษย์ทั้งหลาย เมื่อเป็นเช่นนี้ คือแม้เมื่อ
เป็นอย่างนี้ บุรุษนี้ได้เข้าใจว่าเราเป็นผู้ควรยิง คือควรแทง คือยิงเราโดย
ไม่พิจารณาด้วยวรรณะอะไร คือด้วยเหตุอะไร.
ครั้นกล่าวคาถาที่สองแล้ว เมื่อจะถามถึงชื่อเป็นต้น พระโพธิสัตว์
จึงกล่าวคาถาว่า

ท่านคือใคร หรือเป็นบุตรของใคร เราจะรู้จัก
ท่านได้อย่างไร ดูก่อนสหาย เราถามท่านแล้ว ขอ
ท่านจงบอกเถิด ทำไมท่านยิงเราแล้วจึงซ่อนตัวเสีย
ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้วก็ได้นิ่งอยู่.

พระราชาทรงสดับดังนั้น ทรงดำริว่า บุรุษนี้แม้ถูกเรายิงด้วยลูกศร
อาบยาพิษล้มแล้ว ก็ไม่ด่าไม่ตัดพ้อเรา เรียกหาเราด้วยถ้อยคำที่น่ารัก ดุจ
บุคคลจับฟั้นหัวใจ เราจักไปหาเขา แล้วเสด็จไปประทับยืนในที่ใกล้พระ-
โพธิสัตว์ แล้วตรัสว่า

เราเป็นพระราชาของชาวกาสี คนเรียกเราว่า
พระเจ้าปิลยักษ์ เราละแว่นแคว้นเที่ยวแสวงหามฤค
เพราะความโลภ อนึ่ง เราเป็นผู้ฉลาดในธนูศิลป์
ปรากฏว่าเป็นผู้แม่นยำนัก แม้ช้างมาสู่ระยะลูกศร
ของเรา ก็ไม่พึงพ้นไปได้.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 08:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ราชาหมสฺมิ ความว่า ได้ยินว่า
พระเจ้าปิลยักษ์นั้นมีพระดำริอย่างนี้ว่า เทวดาก็ตามนาคก็ตาม ย่อมพูดภาษา
มนุษย์ได้ทั้งนั้น เราไม่รู้จักผู้นี้ว่าเป็นเทวดา หรือนาค หรือมนุษย์ ถ้าเขา
โกรธ จะทำให้พินาศได้ เมื่อกล่าวถึงเราว่า เป็นพระราชา ใคร ๆ ที่ไม่กลัว
ย่อมไม่มี เพราะเหตุดังนี้นั้น เพื่อจะให้รู้ว่าพระองค์เป็นพระราชา จึงได้ตรัส

ก่อนว่า ราชาหมสฺมิ ดังนี้. ดูก่อนมาณพผู้เจริญ เราเป็นพระราชาของ
ชาวกาสี คือของชนผู้อยู่ในกาสิกรัฐ. บทว่า มํ ได้แก่ ประชาชนรู้จักเรา
โดยนามว่า พระเจ้าปิลยักษ์. บทว่า วิทู ได้แก่ รู้จัก คือเรียก. บทว่า
โลภา ความว่า มอบราชสมบัติแก่พระชนนี เพราะความโลภเนื้อมฤค. บทว่า
มิคเมสํ ได้แก่ แสวงหา คือค้นหาเหล่ามฤค. บทว่า จรามหํ ความว่า

เราเที่ยวไปในป่าผู้เดียวเท่านั้น พระราชาประสงค์จะแสดงกำลังของพระองค์
จึงตรัสคาถาที่สอง. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อิสฺสฏฺเฐ ได้แก่ ในธนูศิลป์.
บทว่า ทฬฺหธมฺโม ความว่า เป็นผู้สามารถโก่งและลดซึ่งธนูอันหนัก คือ
ธนูหนักพันแรงคนยกได้ ได้ยินกันแพร่หลาย คือปรากฏไปทั่วพื้นชมพูทวีป.

บทว่า อาคโต อุสุปาตนํ ความว่า ช้างที่มีกำลังมาในที่ลูกศรของเราตก
ก็ไม่พ้นจากที่ไปได้ถึงเจ็ดก้าว.
พระราชาทรงสรรเสริญกำลังของพระองค์ ดังนี้แล้ว เมื่อจะตรัสถาม
ชื่อและโคตรของพระโพธิสัตว์ จึงตรัสว่า

ท่านคือใคร หรือเป็นบุตรของใคร พวกเรา
จะรู้จักท่านได้อย่างไร ท่านจงแจ้งชื่อและโคตรของ
บิดาท่านและของตัวท่าน.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปเวทย แปลว่า พึงบอก.

พระมหาสัตว์ได้สดับดังนั้นแล้ว ดำริว่า ถ้าเราบอกว่า เราเป็นเทวดา
นาค ยักษ์ กินนร หรือเป็นกษัตริย์เป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง พระราชานี้
ย่อมเชื่อคำของเรา เราควรกล่าวความจริงเท่านั้น ดำริฉะนี้แล้วจึงทูลว่า
ขอจงทรงพระเจริญ ข้าพระองค์เป็นบุตรฤาษี
ผู้เป็นบุตรของนายพราน ญาติทั้งหลายเรียกข้า-


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 08:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
พระองค์เมื่อยังมีชีวิตอยู่ว่า สามะ วันนี้ข้าพระองค์ถึง
ปากมรณะนอนอยู่อย่างนี้ ข้าพระองค์ถูกพระองค์ยิง
ด้วยลูกศรใหญ่อาบยาพิษ เหมือนมฤคที่ถูกพรานป่า
ยิงแล้ว ฉะนั้น ข้าแต่พระราชา ขอพระองค์จงทอด
พระเนตร ซึ่งข้าพระองค์ผู้นอนจมอยู่ในโลหิตของตน
เชิญทอดพระเนตรลูกศรอันแล่นเข้าข้างขวาทะลุออก

ข้างซ้าย ข้าพระองค์บ้วนโลหิตอยู่ เป็นผู้กระสับ
กระส่าย ขอทูลถามพระองค์ว่า พระองค์ยิงข้าพระองค์
แล้ว จะซ่อนพระองค์อยู่ทำไม เสือเหลืองถูกฆ่า
เพราะหนัง ช้างถูกฆ่าเพราะงา เมื่อเป็นเช่นนี้ พระ-
องค์เข้าพระทัยว่า ข้าพระองค์เป็นผู้ควรยิง ด้วยเหตุ
อะไรหนอ.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ภทฺทนฺเต ความว่า ข้าแต่พระมหาราช
ขอพระองค์จงทรงพระเจริญ ข้าพระองค์เป็นบุตรฤาษีผู้เป็นบุตรนายพราน.
บทว่า ชีวนฺตํ ความว่า ญาติทั้งหลายเมื่อเรียกขานข้าพระองค์ซึ่งยังมีชีวิตอยู่
เมื่อก่อนแต่นี้ว่า มาเถิดสามะ ไปเถิดสามะ ก็ได้เรียกกันว่า สามะ. บทว่า

สวาชฺเชวงฺคโต ความว่า วันนี้ ข้าพระองค์นั้น ไป คือถึง คือเข้าไปใน
ปากแห่งมรณะแล้วอย่างนี้. บทว่า สเย แปลว่า นอนอยู่ มฤคถูกพรานป่ายิง
ด้วยลูกศรใหญ่อาบยาพิษ ฉันใด แม้ข้าพระองค์ก็ฉันนั้น คือเป็นผู้ถูกพระองค์
ทรงยิงอย่างนั้น. บทว่า ปริปลุโต ความว่า นอนจม ขอพระองค์โปรด
ทอดพระเนตรข้าพระองค์ผู้นอนอยู่เห็นปานนี้. บทว่า ปฏิวามคตํ ความว่า

เข้าทางข้างขวาแล้วทะลุออกทางข้างซ้าย. บทว่า ปสฺส ได้แก่ โปรดทอด
พระเนตรข้าพระองค์. บทว่า ถิมฺหามิ แปลว่า บ้วนอยู่ พระมหาสัตว์นั้น
ดำรงสติมั่นไม่หวั่นไหวเลย ถ่มโลหิต ตรัสแล้วด้วยประการฉะนี้. บทว่า
อาตุโร ความว่า ข้าพระองค์เจ็บหนักขอทูลถามพระองค์. บทว่า นิลียสิ
ความว่า ประทับนั่งอยู่ในพุ่มไม้แห่งหนึ่ง. บทว่า วิทฺเธยฺยํ แปลว่า ควรยิง.
บทว่า อมญฺญถ ความว่า ได้เข้าใจว่าเหมือนมฤค.

พระราชาทรงสดับคำของพระมหาสัตว์แล้ว ไม่ตรัสบอกตามจริง เมื่อ
จะตรัสคำเท็จจึงตรัสว่า
ดูก่อนสามะ มฤคปรากฏแล้ว มาสู่ระยะลูกศร
เห็นท่านเข้าก็หนีไป เพราะเหตุนั้น เราจึงเกิดความ
โกรธ.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 13:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อุพฺพิชฺชิ แปลว่า หนีไป. บทว่า
อาวิสิ ได้แก่ ท่วมทับ พระราชาทรงแสดงว่า ความโกรธเกิดขึ้นแก่เรา
เพราะเหตุนั้น.
ลำดับนั้น พระมหาสัตว์ทูลพระราชาว่า ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่
พระองค์ตรัสอะไร ขึ้นชื่อว่ามฤคที่เห็นข้าพระองค์แล้วหนีไป ไม่มีในหิมวันต
ประเทศนี้ แล้วทูลว่า

จำเดิมแต่ข้าพระองค์จำความได้ รู้จักถูกและผิด
ฝูงมฤคในป่าแม้ดุร้าย ก็ไม่สะดุ้งกลัวข้าพระองค์
จำเดิมแต่ข้าพระองค์นุ่งผ้าเปลือกไม้ ตั้งอยู่ในปฐมวัย
ฝูงมฤคในป่าแม้ดุร้าย ก็ไม่สะดุ้งกลัวข้าพระองค์
ข้าแต่พระราชา ฝูงกินนรผู้ขลาดอยู่ภูเขาคันธมาทน์

เห็นข้าพระองค์ย่อมไม่สะดุ้งกลัว เราทั้งหลายต่าง
ชื่นชมต่อกันไปสู่ภูเขาและป่า เมื่อเป็นเช่นนี้ มฤค
ทั้งหลายจะสะดุ้งกลัวข้าพระองค์ ด้วยเหตุไร.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า น มํ มิคา ความว่า ธรรมดามฤค
ทั้งหลายเห็นข้าพระองค์แล้ว ย่อมไม่สะดุ้งกลัว. บทว่า สาปทานิ ได้แก่
พาลมฤค. บทว่า ยโต นิธึ ความว่า จำเดิมแต่กาลที่ข้าพระองค์นุ่ง คือ
ทรงผ้าเปลือกไม้. บทว่า ภีรู กึปุริสา ราช ความว่า ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่
มฤคทั้งหลายจงยกไว้ก่อน ธรรมดากินนรทั้งหลาย ย่อมเป็นผู้ขลาดอย่างยิ่ง

กินนรเหล่าใดอยู่ที่ภูเขาคันธมาทน์นี้ กินนรแม้เหล่านั้นเห็นข้าพระองค์แล้ว
ย่อมไม่สะดุ้งกลัว พวกเราชื่นชมต่อกันและกัน ไปตามป่าเขาลำเนาไพร
โดยแท้แล. บทว่า อุตฺราสนฺติ มิคา มมํ ความว่า พระมหาสัตว์แสดงความว่า
เพราะเหตุไร พระองค์จึงจักให้ข้าพระองค์เชื่อว่า มฤคทั้งหลายเห็นข้าพระองค์
แล้วสะดุ้งกลัว พระราชาได้สดับดังนั้นแล้ว ทรงดำริว่า เรายิงสุวรรณสาม
ผู้ไร้ความผิดนี้แล้ว ยังกล่าวมุสาวาทอีก เราจักกล่าวคำจริงเท่านั้น ดังนี้
แล้ว จึงตรัสว่า


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 13:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ดูก่อนสามะ เนื้อเห็นท่านแล้ว หาได้ตกใจไม่
เรากล่าวเท็จแก่ท่านดอก เราถูกความโกรธและความ
โลภครอบงำแล้ว จึงยิงท่านด้วยลูกศรนั้น.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า น ตทฺทส ความว่า เนื้อเห็นท่านแล้ว
ไม่ตกใจ. บทว่า กินฺตาหํ ความว่า เรากล่าวเท็จในสำนักของท่านผู้มีทัศนะ
งามอย่างนี้ดอก. บทว่า โกธโลภาภิภูตาหํ ความว่า เราเป็นผู้อันความโกรธ
และความโลภครอบงำแล้ว ก็เมื่อเนื้อทั้งหลายข้ามลงก่อนแล้วนั่นแล เรานั้น
จักยิงเนื้อทั้งหลายเพราะความโกรธ เรายืนยกธนูอยู่ ภายหลังได้เห็นพระ-
โพธิสัตว์ ไม่รู้ว่าพระโพธิสัตว์นั้นเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาเทวดา
เป็นต้น จักถามพระโพธิสัตว์นั้น พระราชายังความโลภให้เกิดขึ้นด้วยประการ
ฉะนี้ ฉะนั้นจึงตรัสอย่างนี้.

ก็แลครั้นตรัสอย่างนี้แล้ว พระราชาทรงดำริว่า สุวรรณสามนี้จะ
มิได้อยู่อาศัยในป่านี้แต่ผู้เดียวเท่านั้น ญาติทั้งหลายของเขาพึงมีแน่ จักถาม
เขาดู จึงตรัสคาถาอีกว่า
ดูก่อนสามะ ท่านมาแต่ไหน หรือใครใช้ท่านมา
ท่านผู้จะตักน้ำจึงไปสู่แม่น้ำมิคสัมมตา แล้วกลับมา.

บรรดาบทเหล่านั้น พระราชาตรัสเรียกพระโพธิสัตว์ ด้วยบทว่า
สาม. บทว่า อาคมฺม ความว่า จากประเทศไหนมาสู่ป่านี้. บทว่า กสฺส
วา ปหิโต ความว่า ท่านถูกใครส่งไปด้วยคำว่า จงไปสู่แม่น้ำเพื่อนำน้ำมา
แก่พวกเรา ดังนี้ จึงมายังแม่น้ำมิคสัมมตานี้.
พระโพธิสัตว์ได้สดับพระดำรัสของพระราชาแล้ว กลั้นทุกขเวทนา
เป็นอันมาก บ้วนโลหิตแล้วกล่าวคาถาว่า

บิดามารดาของข้าพระองค์ตาบอด ข้าพระองค์
เลี้ยงท่านเหล่านั้นอยู่ในป่าใหญ่ ข้าพระองค์นำน้ำมา
เพื่อท่านทั้งสองนั้น จึงมาแม่น้ำมิคสัมมตา.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 13:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ภรามิ ความว่า นำมูลผลาผลเป็นต้น
มาเลี้ยงดู.
ก็แลครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ก็บ่นรำพันปรารภบิดามารดา กล่าวว่า
อาหารของบิดามารดานั้นยังพอมีอยู่ เมื่อเป็น
เช่นนี้ ชีวิตของท่านทั้งสองนั้นจักดำรงอยู่ราวหกวัน
ท่านทั้งสองนั้นตามืด เกรงจักตายเสียเพราะไม่ได้
ดื่มน้ำ ความทุกข์เพราะถูกพระองค์ยิงด้วยลูกศรนี้
หาเป็นความทุกข์ของข้าพระองค์นักไม่ เพราะความ

ทุกข์นี้อันบุรุษจะต้องได้ประสบ ความทุกข์ที่ข้าพระ-
องค์ไม่ได้เห็นบิดามารดา เป็นความทุกข์ของข้า
พระองค์ ยิ่งกว่าความทุกข์ เพราะถูกพระองค์ยิงด้วย
ลูกศรนี้เสียอีก ความทุกข์เพราะถูกพระองค์ยิงด้วย
ลูกศรนี้ หาเป็นความทุกข์ของข้าพระองค์นักไม่
เพราะความทุกข์นี้อันบุรุษจะต้องได้ประสบ บิดา

มารดาทั้งสองนั้นเป็นกำพร้าเข็ญใจ จะร้องไห้อยู่
ตลอดราตรีนาน จักเหือดแห้งไปในกึ่งราตรีหรือใน
ที่สุดราตรี ดุจแม่น้ำน้อยในคิมหฤดูจักเหือดแห้งไป
ข้าพระองค์เคยหมั่นบำรุงบำเรอนวดมือเท้าของท่าน
ทั้งสองนั้น บัดนี้ไม่เห็นข้าพระองค์ ท่านทั้งสองจัก
บ่นเรียกหาว่า พ่อสาม ๆ เที่ยวอยู่ในป่าใหญ่ ลูกศร

คือความโศก ที่สองนี้แหละ ยังหัวใจของข้าพระองค์
ให้หวั่นไหว เพราะข้าพระองค์ไม่ได้เห็นท่านทั้งสอง
ผู้จักษุบอด ข้าพระองค์เห็นจักละเสียซึ่งชีวิต.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 13:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อุสามตฺตํ ได้แก่ พอเป็นอาหาร
ได้ยินว่า คำว่า อุสา เป็นชื่อของโภชนาหาร ความว่า บิดามารดาทั้งสอง
นั้นยังมีโภชนาหาร. บทว่า อถ สาหสฺส ชีวิตํ ความว่า มีชีวิตอยู่ได้
ประมาณหกวัน พระมหาสัตว์กล่าวคำนี้ หมายถึงผลาผลที่นำมาตั้งไว้ อีก
อย่างหนึ่ง บทว่า อุสา ได้แก่ ไออุ่น ด้วยบทนั้น พระมหาสัตว์แสดง

ความนี้ว่า ในร่างกายของบิดามารดาทั้งสองนั้นพอมีไออุ่นอยู่ เมื่อเป็นเช่นนั้น
ก็จะมีชีวิตอยู่ได้หกวัน ด้วยผลาผลที่ข้าพระองค์นำมา. บทว่า มริสฺสเร
แปลว่า จักตาย ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่ ความทุกข์เพราะถูกพระองค์ยิงนี้ ถึง
เป็นความทุกข์ก็จริง แต่ไม่เป็นความทุกข์ของข้าพระองค์ เพราะเหตุไรจึง

กล่าวอย่างนี้. บทว่า ปุมุนา ได้แก่ อันบุรุษ ความว่า ความทุกข์เห็น
ปานนั้นนี้ อันบุรุษพึงได้ประสบทั้งนั้น ก็เพราะความทุกข์ที่ข้าพระองค์ไม่ได้เห็น
คุณแม่ปาริกานั้น เป็นความทุกข์ของข้าพระองค์ ยิ่งกว่าความทุกข์เพราะถูก
พระองค์ ยิงนี้ร้อยเท่าพันเท่าแสนเท่า. บทว่า จิรํ รตฺตาย รุจฺจติ ความว่า
จักร้องไห้ตลอดราตรีนาน. บทว่า อฑฺฒรตฺเต ได้แก่ ในสมัยกึ่งราตรี.

บทว่า รตฺเต วา ได้แก่ ในสุดท้ายราตรี. บทว่า อวสุสฺสติ ได้แก่ จักเหือด
แห้ง อธิบายว่า จักเหือดแห้งไปเหมือนแม่น้ำน้อยในฤดูร้อน. บทว่า อุฏฺฐาน-
ปาทจริยาย ความว่า ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่ ข้าพระองค์ลุกขึ้นคืนละสองสามครั้ง
หรือวันละสองสามครั้ง ปฏิบัติรับใช้บิดามารดาทั้งสองนั้น นวดมือเท้าของท่าน
ทั้งสองนั้น ด้วยความหมั่นเพียรของข้าพระองค์ บัดนี้ ท่านทั้งสองผู้มีจักษุมืด

นั้นไม่เห็นข้าพระองค์ จักลุกขึ้นเพื่อต้องการการปฏิบัตินั้น ๆ จักบ่นรำพันว่า
พ่อสาม พ่อสาม จักถูกหนามตำเอาเที่ยวไปในหิมวันตประเทศนี้. บทว่า
ทุติยํ ความว่า ลูกศรคือความโศกเพราะไม่ได้เห็นบิดามารดาทั้งสองนั้น ซึ่ง
เป็นความทุกข์ที่สองนี้ เป็นความทุกข์กว่า ถูกลูกศรอาบยาพิษยิงเอาครั้งแรก
ร้อยเท่าพันเท่าแสนเท่า.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 123, 124, 125, 126, 127, 128, 129 ... 179  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 16 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร