วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 04:13  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 59 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มี.ค. 2019, 22:31 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ


แก้ไขล่าสุดโดย Love J. เมื่อ 13 มี.ค. 2019, 21:59, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 01:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ


s006 เอ่? จะได้ไม่เห็นผิด

แนะนำ เริ่มตั้งแต่ สังขารุเบกขาญาณ มรรคญานแท้จริง จึงเกิดขึ้น และเข้าสู่มรรควิถี ขึ้นสู่อริยะมรรค น๊ะค๊ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 01:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ


s006 เอ่? จะได้ไม่เห็นผิด

แนะนำ เริ่มตั้งแต่ สังขารุเบกขาญาณ มรรคญานแท้จริง จึงเกิดขึ้น และเข้าสู่มรรควิถี ขึ้นสู่อริยะมรรค น๊ะค๊ะ


ผมกล่าวถึงธรรมภายนอกครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 03:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ


s006 เอ่? จะได้ไม่เห็นผิด

แนะนำ เริ่มตั้งแต่ สังขารุเบกขาญาณ มรรคญานแท้จริง จึงเกิดขึ้น และเข้าสู่มรรควิถี ขึ้นสู่อริยะมรรค น๊ะค๊ะ


ผมกล่าวถึงธรรมภายนอกครับ


ที่ถูก คือ

ความไม่ยึดมั่นถือมั่น คือ องค์ธรรมในมหากริยาจิตของพระอรหันต์
ไม่ใช่ความไม่ยึดมั่นถือมั่นที่คิดขึ้นลอยๆไม่มีปรมัตถ์ธรรมสภาวะรองรับ

การเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เริ่มไปตามลำดับขั้นในวิปัสสนา16 เท่านั้น
เป็นภาวะของปัญญา ที่ใจเห็น ค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 03:53 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12233


 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ


การเห็น..กับ..การได้..

อาจต้องแยกกันให้ออก..


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 04:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


s006 เอ่?

พิสูจน์ได้ง่ายๆๆ

แค่เนตเสีย โทรศัพท์พัง รถโดนชน

ยังไม่ต้องให้ถึง คนรักตาย คนในครอบครัวตาย บ้านไฟไหม้ ก็พิสูจน์ได้ง่ายๆ
ว่า เห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จริงหรือไม่

ถ้าเห็นจริง แค่ระดับนึง ใจสดชื่น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 05:20 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ


การเห็น..กับ..การได้..

อาจต้องแยกกันให้ออก..


การเห็น..กับการได้.. อย่างไรช่วยอธิบายเพิ่มเติมได้มั้ยครับ :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 10:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



อ้างคำพูด:
อนัจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (ไตรลักษณ์) มันมีมันเป็นของมันอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นธรรมชาติธรรมดาของมัน แล้วมันจะเป็นมิจฉาทิฏฐิได้อย่างไร

อ้อ แต่มี ปล.ด้วยว่าเป็นความเห็นความเข้าใจของตัวเอง ถ้าอย่างนั้น ก็ควรให้อภัย :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 11:40 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



อ้างคำพูด:
อนัจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (ไตรลักษณ์) มันมีมันเป็นของมันอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นธรรมชาติธรรมดาของมัน แล้วมันจะเป็นมิจฉาทิฏฐิได้อย่างไร

อ้อ แต่มี ปล.ด้วยว่าเป็นความเห็นความเข้าใจของตัวเอง ถ้าอย่างนั้น ก็ควรให้อภัย :b1:


ผมเห็นว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิด้ายเหตุดังนี้
1. ไม่เห็นทุกข์ตามเป็นจริง
2. ไม่เห็นเหตุแห่งทุกข์ตามเป็นจริง
3. ไม่เห็นความดับทุกข์ตามเป็นจริง
4. ไม่เห็นทางดับทุกข์ตามเป็นจริง
5. ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย
6. ไมใช่ทางสายกลาง มชฌิมาปฏิปทา ด้วยเหตุว่า
ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 13:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ

ในพระพุทธศาสนาคือคำสอนของพระพุทธเจ้า
เป็นการแสดงความจริงให้เข้าใจถูกตามการตรัสรู้
ไม่ใช่การคิดนึกด้นเดาโดยขาดการไตร่ตรองตามคำสอน
มิจฉาทิฏฐิเป็นธัมมะชนิดที่ตรงกันข้ามกับสัมมาทิฏฐิที่เป็นความคิดถูกตามคำสอน
มิจฉาทิฏฐิคือความคิดเห็นผิดไม่ตรงตามคำสอนเป็นความหลงผิดจำผิดว่ามีตัวเราเต็มๆ
สัมมาทิฏฐิคือความคิดเห็นถูกตรงตามคำสอนทีละคำตรงความจริงที่กายใจตนเองกำลังมี
คำว่าอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็นสามัญลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไปเป็นปกติธรรมดา
ไม่มีใครคิดใครทำใครสร้างความเป็นจริงที่กำลังมีกำลังเกิดดับเป็นไปเพราะทุกอย่างเกิดแล้วดับแล้วทันที
มีแต่ต้องอาศัยการฟังคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงเป็นพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ที่ทรงตรัสรู้ความจริงทั้งหมดหนึ่งเดียวในจักรวาลนี้และทรงแสดงความเกิดดับที่กำลังเป็นไปเดี๋ยวนี้ตามปกติ
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 14:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



อ้างคำพูด:
อนัจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (ไตรลักษณ์) มันมีมันเป็นของมันอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นธรรมชาติธรรมดาของมัน แล้วมันจะเป็นมิจฉาทิฏฐิได้อย่างไร

อ้อ แต่มี ปล.ด้วยว่าเป็นความเห็นความเข้าใจของตัวเอง ถ้าอย่างนั้น ก็ควรให้อภัย :b1:


ผมเห็นว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิด้ายเหตุดังนี้
1. ไม่เห็นทุกข์ตามเป็นจริง
2. ไม่เห็นเหตุแห่งทุกข์ตามเป็นจริง
3. ไม่เห็นความดับทุกข์ตามเป็นจริง
4. ไม่เห็นทางดับทุกข์ตามเป็นจริง
5. ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย
6. ไมใช่ทางสายกลาง มชฌิมาปฏิปทา ด้วยเหตุว่า
ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย


อนัจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


ตั้งโจทก์ผิด คิดผลลัพธ์ออกมาได้เท่าไหร่ผิดหมด :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 17:31 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



อ้างคำพูด:
อนัจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (ไตรลักษณ์) มันมีมันเป็นของมันอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นธรรมชาติธรรมดาของมัน แล้วมันจะเป็นมิจฉาทิฏฐิได้อย่างไร

อ้อ แต่มี ปล.ด้วยว่าเป็นความเห็นความเข้าใจของตัวเอง ถ้าอย่างนั้น ก็ควรให้อภัย :b1:


ผมเห็นว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิด้ายเหตุดังนี้
1. ไม่เห็นทุกข์ตามเป็นจริง
2. ไม่เห็นเหตุแห่งทุกข์ตามเป็นจริง
3. ไม่เห็นความดับทุกข์ตามเป็นจริง
4. ไม่เห็นทางดับทุกข์ตามเป็นจริง
5. ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย
6. ไมใช่ทางสายกลาง มชฌิมาปฏิปทา ด้วยเหตุว่า
ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย


อนัจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


ตั้งโจทก์ผิด คิดผลลัพธ์ออกมาได้เท่าไหร่ผิดหมด :b1:


โจทย์ผิด ผลลัพธ์ผิด นั้นก็เป็นความคิดเห็นตามเหตุตามผลของคุณกรัชกาย
สัมมาทิฏฐิ คือ เห็นทางพ้นทุกข์ ไม่เห็นทางพ้นทุกข์ผมจึงว่า มิจฉาทิฏฐิ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 20:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



อ้างคำพูด:
อนัจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (ไตรลักษณ์) มันมีมันเป็นของมันอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นธรรมชาติธรรมดาของมัน แล้วมันจะเป็นมิจฉาทิฏฐิได้อย่างไร

อ้อ แต่มี ปล.ด้วยว่าเป็นความเห็นความเข้าใจของตัวเอง ถ้าอย่างนั้น ก็ควรให้อภัย :b1:


ผมเห็นว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิด้ายเหตุดังนี้
1. ไม่เห็นทุกข์ตามเป็นจริง
2. ไม่เห็นเหตุแห่งทุกข์ตามเป็นจริง
3. ไม่เห็นความดับทุกข์ตามเป็นจริง
4. ไม่เห็นทางดับทุกข์ตามเป็นจริง
5. ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย
6. ไมใช่ทางสายกลาง มชฌิมาปฏิปทา ด้วยเหตุว่า
ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย


อนัจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


ตั้งโจทก์ผิด คิดผลลัพธ์ออกมาได้เท่าไหร่ผิดหมด :b1:


โจทย์ผิด ผลลัพธ์ผิด นั้นก็เป็นความคิดเห็นตามเหตุตามผลของคุณกรัชกาย
สัมมาทิฏฐิ คือ เห็นทางพ้นทุกข์ ไม่เห็นทางพ้นทุกข์ผมจึงว่า มิจฉาทิฏฐิ


อ้างคำพูด:
อนัจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะสามอย่าง ได้แก่ ความเป็นอนิจจัง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา นั้น มันเป็นธรรมชาติ มันจะเป็นมิจฉาทิฏฐิได้อย่างไร :b1:

คุณว่า ขันนี่ เป็นมิจฉาทิฏฐิได้ไหม

รูปภาพ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 20:59 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง

[*]ที่ผมยกพระอรหันต์มาเปรียบเทียบนี้เพื่อแสดงให้เห็นผู้สิ้นความยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ ๕ แล้วต่างกันกับ
ผู้ไม่มีหลักมีเกณฑ์อย่างไร

..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

..............................................................................................

ผมเห็นว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิด้ายเหตุดังนี้

ไม่เห็นทุกข์ตามเป็นจริง
ไม่เห็นเหตุแห่งทุกข์ตามเป็นจริง
ไม่เห็นความดับทุกข์ตามเป็นจริง
ไม่เห็นทางดับทุกข์ตามเป็นจริง
ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย
ไมใช่ทางสายกลาง มชฌิมาปฏิปทา ด้วยเหตุว่าไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย

[*] ทำไมจึงไม่เห็นอริยสัจ ๔ ตามจริง เพราะอโยนิโสมนสิการ ทำไว้ใจใจโดยไม่แยบคาย เช่น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สิ่งทั้งหลายเกิดดับเองไม่มีผู้ใดกระทำสิ่งใดให้เกิด ไม่มีผู้ใดกระทำสิ่งใดให้ดับ

เมื่อทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายอย่างนี้ ก็มีความเห็นสิ่งทั้งหลายเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เหมือนกันแต่เห็นว่าไม่มีอัตตาการ ไม่มีผู้ใดละอะไร ผู้ทำความเพียรไม่มี พระอริยสาวกไม่มี พระอรหันต์ผู้สิ้นกิเลสไม่มี

ความเห็นนี้ย่อมไม่ทำความเพียรเพื่อกำหนดรู้ทุกข์ตามจริง เหตุแห่งทุกข์ที่ต้องละ ความดับทุกข์ที่ต้องทำให้แจ้ง ทางดำเนินสู่ความดับทุกข์ที่ต้องเจริญ




ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มี.ค. 2019, 21:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง

[*]ที่ผมยกพระอรหันต์มาเปรียบเทียบนี้เพื่อแสดงให้เห็นผู้สิ้นความยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ ๕ แล้วต่างกันกับ
ผู้ไม่มีหลักมีเกณฑ์อย่างไร

..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

..............................................................................................

ผมเห็นว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิด้ายเหตุดังนี้

ไม่เห็นทุกข์ตามเป็นจริง
ไม่เห็นเหตุแห่งทุกข์ตามเป็นจริง
ไม่เห็นความดับทุกข์ตามเป็นจริง
ไม่เห็นทางดับทุกข์ตามเป็นจริง
ไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย
ไมใช่ทางสายกลาง มชฌิมาปฏิปทา ด้วยเหตุว่าไม่หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย

[*] ทำไมจึงไม่เห็นอริยสัจ ๔ ตามจริง เพราะอโยนิโสมนสิการ ทำไว้ใจใจโดยไม่แยบคาย เช่น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สิ่งทั้งหลายเกิดดับเองไม่มีผู้ใดกระทำสิ่งใดให้เกิด ไม่มีผู้ใดกระทำสิ่งใดให้ดับ

เมื่อทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายอย่างนี้ ก็มีความเห็นสิ่งทั้งหลายเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เหมือนกันแต่เห็นว่าไม่มีอัตตาการ ไม่มีผู้ใดละอะไร ผู้ทำความเพียรไม่มี พระอริยสาวกไม่มี พระอรหันต์ผู้สิ้นกิเลสไม่มี

ความเห็นนี้ย่อมไม่ทำความเพียรเพื่อกำหนดรู้ทุกข์ตามจริง เหตุแห่งทุกข์ที่ต้องละ ความดับทุกข์ที่ต้องทำให้แจ้ง ทางดำเนินสู่ความดับทุกข์ที่ต้องเจริญ




ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้


อ้างคำพูด:
กรัชกาย
ตั้งโจทก์ผิด คิดผลลัพธ์ออกมาได้เท่าไหร่ผิดหมด


อ้างคำพูด:
Love J.
โจทย์ผิด ผลลัพธ์ผิด นั้นก็เป็นความคิดเห็นตามเหตุตามผลของคุณกรัชกาย
สัมมาทิฏฐิ คือ เห็นทางพ้นทุกข์ ไม่เห็นทางพ้นทุกข์ผมจึงว่า มิจฉาทิฏฐิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 59 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 35 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron