วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 16:46  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 44 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2015, 22:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


เวลาตั้งใจรู้ธรรมต่างๆรวมทั้งปัจจุบันอารมณ์ ถ้าปฎิบัติในขณะทำการงาน
มักจะมีวิปัสสนูปกิเลส หรือไม่ก็เห็นนิวรณ์อย่างชัดเจน
ส่วนตัวเป็นบ่อย นิวรณ์ที่เหมือนหมดแรง จะขยับทำอะไรมันเหนื่อยมาก
เหมือนไม่มีพลังงาน เป็นกิเลสชนิดหนึ่ง

ถ้านั่งสมาธิ จะกำหนดดีมาก ชัดเจน แยกธรรมได้ง่ายแต่หมดพลัง เพราะโดนนิวรณ์ก่อกวนก่อนหน้า

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ย. 2015, 06:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
เวลาตั้งใจรู้ธรรมต่างๆรวมทั้งปัจจุบันอารมณ์ ถ้าปฎิบัติในขณะทำการงาน
มักจะมีวิปัสสนูปกิเลส หรือไม่ก็เห็นนิวรณ์อย่างชัดเจน
ส่วนตัวเป็นบ่อย นิวรณ์ที่เหมือนหมดแรง จะขยับทำอะไรมันเหนื่อยมาก
เหมือนไม่มีพลังงาน เป็นกิเลสชนิดหนึ่ง

ถ้านั่งสมาธิ จะกำหนดดีมาก ชัดเจน แยกธรรมได้ง่ายแต่หมดพลัง เพราะโดนนิวรณ์ก่อกวนก่อนหน้า

วิปัวนูกิเลสไม่ได้เกิดง่ายๆนะครับ.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 00:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
student เขียน:
เวลาตั้งใจรู้ธรรมต่างๆรวมทั้งปัจจุบันอารมณ์ ถ้าปฎิบัติในขณะทำการงาน
มักจะมีวิปัสสนูปกิเลส หรือไม่ก็เห็นนิวรณ์อย่างชัดเจน
ส่วนตัวเป็นบ่อย นิวรณ์ที่เหมือนหมดแรง จะขยับทำอะไรมันเหนื่อยมาก
เหมือนไม่มีพลังงาน เป็นกิเลสชนิดหนึ่ง

ถ้านั่งสมาธิ จะกำหนดดีมาก ชัดเจน แยกธรรมได้ง่ายแต่หมดพลัง เพราะโดนนิวรณ์ก่อกวนก่อนหน้า

วิปัวนูกิเลสไม่ได้เกิดง่ายๆนะครับ.


ผมเป็นคนชั่งสังเกตุ

แม้ไม่ได้นั่งสมาธิ เวลาปกติผมก็ปฎิบัติ

ทำไมผมจะแยกไม่ได้ระหว่างจิตเป็นสมาธิที่ตั้งมั่น กับจิตที่ขาดสติ

จิตที่ขาดสัมมาสติก็จะไหลไปตามกระแสโลก

จิตที่ตั้งมั่นก็จะรู้พร้อม

เวลานั่งสมาธิ ผมนั่งได้ไม่เกินชั่วโมง เพราะจริตเป็นแนวคิดพิจารณา นิ่งๆเห็นดวงแก้วทำไม่เป็น

จิตจะพิจารณาหมด หู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ ให้เห็นการเกิดดับเป็นเรื่องปกติ

ครั้งต่อไปอารมณ์จะได้เคยชินเมื่อจิตจับว่าธรรมทั้งหลายเกิดดับ

และจิตที่สังเกตุอารมณ์นั้นก็จำเป็นต้องทำเช่นกัน นั่นแหละทำไมรู้ว่า นิวรณ์มันมีอิทธิพลกับขันธ์5แค่ไหน

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 05:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12233


 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
เวลาตั้งใจรู้ธรรมต่างๆรวมทั้งปัจจุบันอารมณ์ ถ้าปฎิบัติในขณะทำการงาน
มักจะมีวิปัสสนูปกิเลส หรือไม่ก็เห็นนิวรณ์อย่างชัดเจน
ส่วนตัวเป็นบ่อย นิวรณ์ที่เหมือนหมดแรง จะขยับทำอะไรมันเหนื่อยมาก
เหมือนไม่มีพลังงาน เป็นกิเลสชนิดหนึ่ง

ถ้านั่งสมาธิ จะกำหนดดีมาก ชัดเจน แยกธรรมได้ง่ายแต่หมดพลัง เพราะโดนนิวรณ์ก่อกวนก่อนหน้า


ใช่ครับ....ถ้าจิตชั่งสังเกต....จะเห็นนิวรณ์แสดงออกทางรูปได้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 08:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
student เขียน:
เวลาตั้งใจรู้ธรรมต่างๆรวมทั้งปัจจุบันอารมณ์ ถ้าปฎิบัติในขณะทำการงาน
มักจะมีวิปัสสนูปกิเลส หรือไม่ก็เห็นนิวรณ์อย่างชัดเจน
ส่วนตัวเป็นบ่อย นิวรณ์ที่เหมือนหมดแรง จะขยับทำอะไรมันเหนื่อยมาก
เหมือนไม่มีพลังงาน เป็นกิเลสชนิดหนึ่ง

ถ้านั่งสมาธิ จะกำหนดดีมาก ชัดเจน แยกธรรมได้ง่ายแต่หมดพลัง เพราะโดนนิวรณ์ก่อกวนก่อนหน้า


ใช่ครับ....ถ้าจิตชั่งสังเกต....จะเห็นนิวรณ์แสดงออกทางรูปได้

เป็นเช่นไรออกมาทางรูป. กบมั่วอีกแล้ว


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 12:18 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 12 มิ.ย. 2014, 20:13
โพสต์: 709

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
ขอบคุณในทุกๆความเห็นค่ะ
ขอบคุณมาก
:b39: :b39: :b39:

ช่วงนี้ยุ่งๆอย่างแรง :b9: :b9:
ต่อให้ตนเองได้ศึกษาอีกสักข้อนะคะ
tongue
เป็นปกติที่เวลาทำสมาธิจะถึง
สภาวะที่เหมือนตัวรู้ลอยเด่น

แล้ว..ตัวรู้ๆอยู่นี้..
มันหรี่ลงได้ไง

ยังรู้อยู่นะ......มีตัวรู้อยู่
ไม่ใช่รู้แบบค่อยเบาลงเหมือนจะดับหาย
มันเหมือน
..ตัวรู้..มันถูกจำกัดอยู่แบบ..เหลือน้อยเดียว..อยู่อย่างนั้น

ขอความเห็นหน่อยค่ะ :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 13:21 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12233


 ข้อมูลส่วนตัว


เอ้า..คุณลุง Bigtoo...ตอบหลานๆหน่อยซิ....ชอบมาสอนธรรมไม่ใช่เหรอ...หลานๆ..ถามแล้ว...ตอบหน่อย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 18:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
เอ้า..คุณลุง Bigtoo...ตอบหลานๆหน่อยซิ....ชอบมาสอนธรรมไม่ใช่เหรอ...หลานๆ..ถามแล้ว...ตอบหน่อย

เรื่องของการทำสมาธินี้บางครั้งผู้ถามก็ถามไปตามความรู้สึกที่ได้รับรู้มาหรือสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเองบรรยายไปตามความรู้สึกนั้นๆ. ที่จริงแล้วมันก็มีอยู่ว่ามีสติกับนิวรณ์เท่านั้นแหล่ะที่แข่งขันกันอยู่. ต่างคนต่างทำหน้าที่ของกันและกัน. ถ้าสติแข็งกล้าจิตผู้รู้จะเด่นชัด แต่ถ้านิวรณ์มีกำลังสติก็จะผลุบๆโผล่ๆสู่กันอยู่อย่างนี้. ทำไปทำมาก็สัปหงกไปดื้อๆอย่างนั้น. สติจะต้องไม่ขาดสายยกอะไรเป็นกรรมฐานสติต้องแม่นตรงต่อสิ่งนั้นอย่าให้ขาด. อาการอะไรจะเกิดกับเราก็อย่าไปสนใจ. จนกว่าปีติจะเกิด(ขนลุกขนพองสู้ซ่าไปทั้งตัวนั้นแหล่ะ. )อันนี้แล้วแต่ละคนบางคนของเก่าเยอะก็สำเร็จไว. บางคนไม่มีของเก่าก็หลายปีนะ แต่ถ้าจะวิปัสนา. ก็จัดลงปริญญาสามได้เลยถ้าได้ระดับฌานยิ่งดีสำเร็จง่าย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 21:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


s005
ทำสมาธิแล้วเห็นแสงสว่างเป็นวิปัสสนูกิเลสข้อแรกโอภาส
โอภาส หมายถึง แสงสว่าง(ที่ปรากฏเป็นธรรมารมณ์ในใจ)
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 21:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
s005
ทำสมาธิแล้วเห็นแสงสว่างเป็นวิปัสสนูกิเลสข้อแรกโอภาส
โอภาส หมายถึง แสงสว่าง(ที่ปรากฏเป็นธรรมารมณ์ในใจ)
onion onion onion

วิปัสนูกิเลสเขาเกิดขึ้นเพื่อเป็นเครื่องหมายของคนที่เดินถูกทาง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 22:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
s005
ทำสมาธิแล้วเห็นแสงสว่างเป็นวิปัสสนูกิเลสข้อแรกโอภาส
โอภาส หมายถึง แสงสว่าง(ที่ปรากฏเป็นธรรมารมณ์ในใจ)
onion onion onion

วิปัสนูกิเลสเขาเกิดขึ้นเพื่อเป็นเครื่องหมายของคนที่เดินถูกทาง

อ่านความหมายและขยายความให้ชัดเจนนะคะ
อ้างคำพูด:
วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ หมายถึง อุปกิเลสแห่งวิปัสสนา

:b16:
อ้างคำพูด:
อุปกิเลส (อ่านว่า อุปะกิเหลด) แปลว่า ธรรมชาติที่เข้าไปทำให้ใจเศร้าหมอง, เครื่องทำให้ใจเศร้าหมอง หมายถึง สิ่งที่ทำให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัวไม่แจ่มใส ทำให้ใจหม่นไหม้ ทำให้ใจเสื่อมทราม กล่าวโดยรวมก็คือสิ่งที่ทำให้ใจสกปรก ไม่สะอาดบริสุทธิ์นั่นเอง อุปกิเลส แสดงไว้ 16 ประการคือ

ความเพ่งเล็งอยากได้ไม่เลือกที่
ความพยาบาท
ความโกรธ
ความผูกเจ็บใจ
ความลบหลู่บุญคุณ
ความตีเสมอ
ความริษยา
ความตระหนี่
ความเจ้าเล่ห์
ความโอ้อวด
ความหัวดื้อถือรั้น
ความแข่งดี
ความถือตัว
ความดูหมิ่น
ความมัวเมา
ความประมาทเลินเล่อ
อุปกิเลส ทั้ง 16 ประการนี้ แม้ประการใดประการหนึ่งเมื่อเกิดขึ้นในใจแล้วก็จะทำให้ใจสกปรกไม่ผ่องใสทันที และจะส่งผลให้เจ้าของใจหมดความสุขกายสบายใจ เกิดความเร่าร้อน หรือเกิดความฮึกเหิมทะนงตัว เต้นไปตามจังหวะที่อุปกิเลสนั้นๆ บงการให้เป็นไป

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=51013
:b12:
:b44: :b44:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2015, 22:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
s005
ทำสมาธิแล้วเห็นแสงสว่างเป็นวิปัสสนูกิเลสข้อแรกโอภาส
โอภาส หมายถึง แสงสว่าง(ที่ปรากฏเป็นธรรมารมณ์ในใจ)
onion onion onion

วิปัสนูกิเลสเขาเกิดขึ้นเพื่อเป็นเครื่องหมายของคนที่เดินถูกทาง

อ่านความหมายและขยายความให้ชัดเจนนะคะ
อ้างคำพูด:
วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ หมายถึง อุปกิเลสแห่งวิปัสสนา

:b16:
อ้างคำพูด:
อุปกิเลส (อ่านว่า อุปะกิเหลด) แปลว่า ธรรมชาติที่เข้าไปทำให้ใจเศร้าหมอง, เครื่องทำให้ใจเศร้าหมอง หมายถึง สิ่งที่ทำให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัวไม่แจ่มใส ทำให้ใจหม่นไหม้ ทำให้ใจเสื่อมทราม กล่าวโดยรวมก็คือสิ่งที่ทำให้ใจสกปรก ไม่สะอาดบริสุทธิ์นั่นเอง อุปกิเลส แสดงไว้ 16 ประการคือ

ความเพ่งเล็งอยากได้ไม่เลือกที่
ความพยาบาท
ความโกรธ
ความผูกเจ็บใจ
ความลบหลู่บุญคุณ
ความตีเสมอ
ความริษยา
ความตระหนี่
ความเจ้าเล่ห์
ความโอ้อวด
ความหัวดื้อถือรั้น
ความแข่งดี
ความถือตัว
ความดูหมิ่น
ความมัวเมา
ความประมาทเลินเล่อ
อุปกิเลส ทั้ง 16 ประการนี้ แม้ประการใดประการหนึ่งเมื่อเกิดขึ้นในใจแล้วก็จะทำให้ใจสกปรกไม่ผ่องใสทันที และจะส่งผลให้เจ้าของใจหมดความสุขกายสบายใจ เกิดความเร่าร้อน หรือเกิดความฮึกเหิมทะนงตัว เต้นไปตามจังหวะที่อุปกิเลสนั้นๆ บงการให้เป็นไป

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=51013
:b12:
:b44: :b44:
วิปัสนูกิเลสคือด่านสำหรับผู้เดินมาถูกทาง. ผู้ปฎิบัติผิดให้ตายก็ไม่เจอวิปัสนูปกิเลส. เพียงแต่อย่ายึดติดเพราะนั้นก็เป็นเพียงสิ่งมายา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ย. 2015, 01:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


idea เขียน:
:b8:
ขอบคุณในทุกๆความเห็นค่ะ
ขอบคุณมาก
:b39: :b39: :b39:

ช่วงนี้ยุ่งๆอย่างแรง :b9: :b9:
ต่อให้ตนเองได้ศึกษาอีกสักข้อนะคะ
tongue
เป็นปกติที่เวลาทำสมาธิจะถึง
สภาวะที่เหมือนตัวรู้ลอยเด่น

แล้ว..ตัวรู้ๆอยู่นี้..
มันหรี่ลงได้ไง

ยังรู้อยู่นะ......มีตัวรู้อยู่
ไม่ใช่รู้แบบค่อยเบาลงเหมือนจะดับหาย
มันเหมือน
..ตัวรู้..มันถูกจำกัดอยู่แบบ..เหลือน้อยเดียว..อยู่อย่างนั้น

ขอความเห็นหน่อยค่ะ :b8:


ต้องดูว่าเป็นจิต หรือสังขารขันธ์(อารมณ์)
ถ้าเป็นจิต ต้องดูว่ารู้ตัวพร้อมแค่ไหน คือจากหู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ
อะไรกระทบ จิตจะรู้หมด ในแต่ละวินาที ธรรมต่างๆ เกิดขึ้นร้อยแปดพันอย่าง ถ้าจิตตั้งมั่น จิตจะต้องเฉียบคม เคลื่อนไปจุดไหนก็ได้ แต่คงสภาวะ ตั้งมั่น
ถ้าเป็นอารมณ์ ต้องดูว่าจิตเห็นอะไร (ปัญญานำ จะเห็นเกิดดับตามสัจจธรรม) ถ้าอารมณ์นำ ก็จะไหลไปตามอำนาจของความอยาก เช่นได้ยินเสียงดังรบกวนตอนนั่งสมาธิอยู่ ถ้าปัญญานำ จะกำหนดการเกิดดับเป็นเรื่องธรรมดา ถ้าความอยากนำ จะเกิดอารมณ์ เช่น อยากไม่ให้เสียงดัง ( ไม่ใช่ "ไม่อยากให้เสียงดัง") ถ้าไม่อยากคือหมดความอยาก แต่นี่อารมณ์มันอยากอยู่ ก็เป็น อยากไม่ให้เสียงดังรบกวน
ยกตัวอย่างเสียงเกี่ยวอะไรกับตัวรู้ลอยเด่น หรือเหลือน้อย คำว่าเหลือน้อยตีได้หลายทาง เช่น กิเลสเหลือน้อย จะหมดกิเลสแล้ว หรือ ธรรมที่กำหนดรู้เบาบางลง แทบกำหนดไม่ได้ เช่น ลมหายใจละเอียดเพราะสมาธิตั้งมั่น เช่น ร่างกายหายไป จำไม่ได้ว่า นั่งท่าไหน มืออยู่ไหน ขาอยู่ไหน กายอยู่ไหน

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ย. 2015, 04:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
s005
ทำสมาธิแล้วเห็นแสงสว่างเป็นวิปัสสนูกิเลสข้อแรกโอภาส
โอภาส หมายถึง แสงสว่าง(ที่ปรากฏเป็นธรรมารมณ์ในใจ)
onion onion onion

วิปัสนูกิเลสเขาเกิดขึ้นเพื่อเป็นเครื่องหมายของคนที่เดินถูกทาง

อ่านความหมายและขยายความให้ชัดเจนนะคะ
อ้างคำพูด:
วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ หมายถึง อุปกิเลสแห่งวิปัสสนา

:b16:
อ้างคำพูด:
อุปกิเลส (อ่านว่า อุปะกิเหลด) แปลว่า ธรรมชาติที่เข้าไปทำให้ใจเศร้าหมอง, เครื่องทำให้ใจเศร้าหมอง หมายถึง สิ่งที่ทำให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัวไม่แจ่มใส ทำให้ใจหม่นไหม้ ทำให้ใจเสื่อมทราม กล่าวโดยรวมก็คือสิ่งที่ทำให้ใจสกปรก ไม่สะอาดบริสุทธิ์นั่นเอง อุปกิเลส แสดงไว้ 16 ประการคือ

ความเพ่งเล็งอยากได้ไม่เลือกที่
ความพยาบาท
ความโกรธ
ความผูกเจ็บใจ
ความลบหลู่บุญคุณ
ความตีเสมอ
ความริษยา
ความตระหนี่
ความเจ้าเล่ห์
ความโอ้อวด
ความหัวดื้อถือรั้น
ความแข่งดี
ความถือตัว
ความดูหมิ่น
ความมัวเมา
ความประมาทเลินเล่อ
อุปกิเลส ทั้ง 16 ประการนี้ แม้ประการใดประการหนึ่งเมื่อเกิดขึ้นในใจแล้วก็จะทำให้ใจสกปรกไม่ผ่องใสทันที และจะส่งผลให้เจ้าของใจหมดความสุขกายสบายใจ เกิดความเร่าร้อน หรือเกิดความฮึกเหิมทะนงตัว เต้นไปตามจังหวะที่อุปกิเลสนั้นๆ บงการให้เป็นไป

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=51013
:b12:
:b44: :b44:
วิปัสนูกิเลสคือด่านสำหรับผู้เดินมาถูกทาง. ผู้ปฎิบัติผิดให้ตายก็ไม่เจอวิปัสนูปกิเลส. เพียงแต่อย่ายึดติดเพราะนั้นก็เป็นเพียงสิ่งมายา

ตอนแรกก็อาจจะถูกศึกษาทฤษฎีแล้วมโนว่าจิตสว่างไสว
เป็นการเห็นแสงพอเกิดแสงสว่างขึ้นมาในจิตเลยเข้าใจผิด
ตอนหลังเลยกลายเป็นไปหลงยึดติดสิ่งไม่มีที่ละเอียดเข้าไปนั่น
เลยตั้งหลักใจไม่ได้สักที ไม่รีบแก้ไขก็รอไปเถอะ เข้าไม่ถึงจิตปรมัตถ์
:b16:
:b55: :b55:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ย. 2015, 06:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
s005
ทำสมาธิแล้วเห็นแสงสว่างเป็นวิปัสสนูกิเลสข้อแรกโอภาส
โอภาส หมายถึง แสงสว่าง(ที่ปรากฏเป็นธรรมารมณ์ในใจ)
onion onion onion

วิปัสนูกิเลสเขาเกิดขึ้นเพื่อเป็นเครื่องหมายของคนที่เดินถูกทาง

อ่านความหมายและขยายความให้ชัดเจนนะคะ
อ้างคำพูด:
วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ หมายถึง อุปกิเลสแห่งวิปัสสนา

:b16:
อ้างคำพูด:
อุปกิเลส (อ่านว่า อุปะกิเหลด) แปลว่า ธรรมชาติที่เข้าไปทำให้ใจเศร้าหมอง, เครื่องทำให้ใจเศร้าหมอง หมายถึง สิ่งที่ทำให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัวไม่แจ่มใส ทำให้ใจหม่นไหม้ ทำให้ใจเสื่อมทราม กล่าวโดยรวมก็คือสิ่งที่ทำให้ใจสกปรก ไม่สะอาดบริสุทธิ์นั่นเอง อุปกิเลส แสดงไว้ 16 ประการคือ

ความเพ่งเล็งอยากได้ไม่เลือกที่
ความพยาบาท
ความโกรธ
ความผูกเจ็บใจ
ความลบหลู่บุญคุณ
ความตีเสมอ
ความริษยา
ความตระหนี่
ความเจ้าเล่ห์
ความโอ้อวด
ความหัวดื้อถือรั้น
ความแข่งดี
ความถือตัว
ความดูหมิ่น
ความมัวเมา
ความประมาทเลินเล่อ
อุปกิเลส ทั้ง 16 ประการนี้ แม้ประการใดประการหนึ่งเมื่อเกิดขึ้นในใจแล้วก็จะทำให้ใจสกปรกไม่ผ่องใสทันที และจะส่งผลให้เจ้าของใจหมดความสุขกายสบายใจ เกิดความเร่าร้อน หรือเกิดความฮึกเหิมทะนงตัว เต้นไปตามจังหวะที่อุปกิเลสนั้นๆ บงการให้เป็นไป

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=51013
:b12:
:b44: :b44:
วิปัสนูกิเลสคือด่านสำหรับผู้เดินมาถูกทาง. ผู้ปฎิบัติผิดให้ตายก็ไม่เจอวิปัสนูปกิเลส. เพียงแต่อย่ายึดติดเพราะนั้นก็เป็นเพียงสิ่งมายา

ตอนแรกก็อาจจะถูกศึกษาทฤษฎีแล้วมโนว่าจิตสว่างไสว
เป็นการเห็นแสงพอเกิดแสงสว่างขึ้นมาในจิตเลยเข้าใจผิด
ตอนหลังเลยกลายเป็นไปหลงยึดติดสิ่งไม่มีที่ละเอียดเข้าไปนั่น
เลยตั้งหลักใจไม่ได้สักที ไม่รีบแก้ไขก็รอไปเถอะ เข้าไม่ถึงจิตปรมัตถ์
:b16:
:b55: :b55:
โอภาสกับอโลโกก็ต่างกันนะ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 44 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 37 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron