วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 20:05  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 117 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ก.ย. 2015, 21:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
ศิริพงศ์เป็นอัตตาระบุตัวตนของใคร
จำเป็นไหมต้องรู้ว่าตั้งแต่เกิดมาไม่พ้น
ถ้าไม่มีอัตตาจะมีศิริพงศ์วันนี้ได้อย่างไร
:b32: :b32:
:b15:

wink
เห็นอัตตารึยังแล้วเห็นอนัตตาไหม
บังคับได้ไหมว่าไม่ให้รู้ว่ามีอัตตา
จะเป็นอัตตาหิ อัตโนนาโถยังไง
ถ้าไม่มีอัตตาให้รู้ที่กายกูจิตกู
:b16:
:b32: :b32:
ที่ตาเห็นก็แค่เห็นสีกับสันฐานไม่เห็นอัตตาแน่นอนครับ

:b12:
รู้ว่าประโยชน์ในการนำไปใช้ในการสนทนาธรรม
ไม่ใช่รู้แล้วมีมานะถือดีที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
ต้องรู้ทั้งอัตตาและก็รู้อนัตตาเพื่อรู้ละวางจิตตน
ถ้าเห็นงูเลื้อยมาเห็นสีใช่ไหมอย่าวิ่งหนีละกัน
ต้องเป็นผู้ตรงว่าขณะไหนรู้ขณะไหนหลง
:b32: :b32: :b32:
เห็นกับกลัวต่างกัน

Kiss
คำว่าอนัตตาคือไม่สามารถบังคับบัญชาได้
ทุกอย่างเป็นสิ่งที่มีจริงตามสมมุติให้รู้ว่า
ตัวเองมีอะไรคนอื่นมีอะไรที่มีเหมือนกัน
สติสัมปชัญญะเป็นความรู้ตัวทั่วพร้อม
ในการแยกธาตุทีละ1ขณะในสฬายตนะ
ว่าแต่ละขณะในชีวิตประจำวันเกิดผัสสะ
เป็นจิตระลึกความจริงของสิ่งที่มีตามเป็นจริง
ขณะที่รู้ทั้ง6ทางไม่ได้รู้ทางเดียวเป็นชีวิตปกติ
การดับที่เป็นจิตตภาวนาล้วนๆเป็นการดับสฬายตนะ
จึงเกิดจิตที่รู้สติปัฏฐานอยู่ภายในจิตที่เกิดรู้เห็นภายใน
พระอรหันต์ท่านเห็นทางอายตนะ6ตามปกติแต่จิตอุเบกขา
พระพุทธเจ้าสอนให้ฉลาดรู้แยกแยะสิ่งที่รู้ภายนอกกับภายใน
จะรู้ว่าหลงหรือไม่หลงผิดควรสอบอารมณ์กับพระวิปัสสนาจารย์
:b14:
:b44: :b44:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ก.ย. 2015, 21:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b12:

อ้างคำพูด:
ทำอย่างไรก็ไม่มีทางเห็นอัตตา. เพราะอัตตาไม่มี อัตตาเป็นเพียงการพูดขึ้นมาเพราะความไม่รู้เท่านั้น. แต่ที่จริงไม่มีใครเห็นอัตตา

:b4:
อัตตาไม่มีอยู่จริงนั้นถูกต้อง :b13:

แต่ความเห็นผิดความรู้สึกผิดๆว่าเป็นอัตตามีอยู่จริง ในใจปุถุชนทุกคน สัมผัสได้ด้วยความรู้สึกตอบโต้ต่อผัสสะและอารมณ์ที่ดิ้นอยู่ในจิตใจ พิสูจน์ได้เสมอ ทุกขณะที่มีการกระทบสัมผัส
ถ้าไม่มี โสดาปัตติมรรคก็ไม่มีสักกายทิฏฐิให้ละหรือทำลาย
onion


ผัสสะคือการกระทบ ทำหน้าที่อยู่แล้วตราบใดที่ยังมีชีวิตอยู่ อัตตาคือจุดสมมุติของธรรม เมื่อสภาวะธรรมดำเนินมาถึงตรงจุดหนึ่ง เช่น เด็ก เป็นหนุ่มเป็นสาว ก็ไม่เรียกเด็กแล้ว คือปัจจัยแห่งธรรมได้ดำเนินสภาพมาถึงจุดหนุ่มสาว แต่ความเป็นหนุ่มสาวก็เป็นอนิจจัง เพราะปัจจัยส่งเสริมก็แปรเปลี่ยนสภาพกลายเป็นแก่ ก็เรียกคนแก่ แต่แท้ที่จริงคือสมมุติ

อัตตาจึงเป็นการยึดถือเอาจุดสมมุตินั้นว่าเป็นเราเป็นเขา เพราะไม่ได้พิจารณาเหตุปัจจัย

พุทธศาสนาจึงเป็นเรื่องเหตุผล

ไม่มีอะไรตั้งอยู่ลอยๆ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ก.ย. 2015, 22:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
ศิริพงศ์เป็นอัตตาระบุตัวตนของใคร
จำเป็นไหมต้องรู้ว่าตั้งแต่เกิดมาไม่พ้น
ถ้าไม่มีอัตตาจะมีศิริพงศ์วันนี้ได้อย่างไร
:b32: :b32:
:b15:

wink
เห็นอัตตารึยังแล้วเห็นอนัตตาไหม
บังคับได้ไหมว่าไม่ให้รู้ว่ามีอัตตา
จะเป็นอัตตาหิ อัตโนนาโถยังไง
ถ้าไม่มีอัตตาให้รู้ที่กายกูจิตกู
:b16:
:b32: :b32:
ที่ตาเห็นก็แค่เห็นสีกับสันฐานไม่เห็นอัตตาแน่นอนครับ

:b12:
รู้ว่าประโยชน์ในการนำไปใช้ในการสนทนาธรรม
ไม่ใช่รู้แล้วมีมานะถือดีที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
ต้องรู้ทั้งอัตตาและก็รู้อนัตตาเพื่อรู้ละวางจิตตน
ถ้าเห็นงูเลื้อยมาเห็นสีใช่ไหมอย่าวิ่งหนีละกัน
ต้องเป็นผู้ตรงว่าขณะไหนรู้ขณะไหนหลง
:b32: :b32: :b32:
เห็นกับกลัวต่างกัน

Kiss
คำว่าอนัตตาคือไม่สามารถบังคับบัญชาได้
ทุกอย่างเป็นสิ่งที่มีจริงตามสมมุติให้รู้ว่า
ตัวเองมีอะไรคนอื่นมีอะไรที่มีเหมือนกัน
สติสัมปชัญญะเป็นความรู้ตัวทั่วพร้อม
ในการแยกธาตุทีละ1ขณะในสฬายตนะ
ว่าแต่ละขณะในชีวิตประจำวันเกิดผัสสะ
เป็นจิตระลึกความจริงของสิ่งที่มีตามเป็นจริง
ขณะที่รู้ทั้ง6ทางไม่ได้รู้ทางเดียวเป็นชีวิตปกติ
การดับที่เป็นจิตตภาวนาล้วนๆเป็นการดับสฬายตนะ
จึงเกิดจิตที่รู้สติปัฏฐานอยู่ภายในจิตที่เกิดรู้เห็นภายใน
พระอรหันต์ท่านเห็นทางอายตนะ6ตามปกติแต่จิตอุเบกขา
พระพุทธเจ้าสอนให้ฉลาดรู้แยกแยะสิ่งที่รู้ภายนอกกับภายใน
จะรู้ว่าหลงหรือไม่หลงผิดควรสอบอารมณ์กับพระวิปัสสนาจารย์
:b14:
:b44: :b44:

เราจะสัมผัสความหลงได้ก็ต้องรู้ว่าไม่หลงเป็นอย่างไร. เราจะรับรู้อัตตาได้เราต้องรับรู้อนัตตาก่อน เพราะทุกอย่างมีสองสถานะ. จะสังเกตุมั้ยครับว่าเราเริ่มเรียนรู้เรื่องอนัตตาเราจึงค่อยๆรู้เรื่องอัตตา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ก.ย. 2015, 22:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


wink
อนัตตาไม่อาจเปลี่ยนได้เป็นไปตามเหตุตามปัจจัย
อัตตาคือการเห็นการสืบต่อของสิ่งที่รู้ที่มีต่อเนื่อง
คิดว่าไม่มีอะไรหายไปเป็นสิ่งที่มีอยู่ตลอดเวลา
การแตกดับสูญหายมีเมื่อตายทิ้งร่างไปแค่นั้น
อนัตตาเห็นความไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นของแตกดับ
:b39:
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 05:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
มองแบบคุณอโสกะ คือมองแบบอนัตตา

มองแบบคนเรามี cell ต่างๆเล็กๆ แต่ cell เล็กๆยังเป็นของเราอยู่ เพราะอยู่ในร่างกายเรา มันก็คืออัตตา

เหมือนนักวิทยาศาสตร์แยกส่วนเล็กๆจนถึงอะตอม แต่อะตอมยังถือเป็นสถานะอยู่ มันก็คืออัตตา

:b16:
น่าชื่นใจที่คุณ student พยายามมองให้เห็นหรือ รู้ จักอัตตาในแง่วิทยาศาสตร์

แต่ "อัตตา"นั้นเป็นนามธรรม เป็นพลังงานไม่ใช่สสาร มันเป็นความเห็นผิดยึดผิด ที่ถูกปรุงแต่งขึ้นมาเหมือนการวาดภาพในอากาศหรือสร้างจินตนาการ ถ้ายึดแน่นก็จะเห็นเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ถ้าไม่ยึดไว้ก็สลายเป็นอากาศธาตุ เป็นความว่างเปล่า ความว่างเปล่าเป็นของมีอยู่จริงเป็นอนัตตา เพราะไม่มีความเห็นผิดยึดผิดว่าเป็นตัวเป็นตนอยู่ในนั้น

ตัวอย่างที่เห็นง่ายๆใกล้ตัวก็อย่างชื่อ student ซึ่งก็เป็นเพียงชื่อสมมุติชั่วคราวใช้ในลานธรรมจักรแห่งนี้ไม่ใช่ชื่อที่สมมุติว่าจริงตามบัตรประชาชนของคุณ student นี่ก็เป็นความผูกยึดชั่วคราวที่ปรุงแต่งขึ้นมา ส่วนชื่อในบัตรประชาชนก็เป็นความผูกยึดที่ค่อนข้างจะแน่นแฟ้นแน่นหนาเพราะมีการจดทะเบียนรับรอง

ลองให้ใครมาแตะดูถูกดูหมิ่นชื่อ student ดูซิครับ จะได้เห็นหรือรู้ซึ้งถึงความเห็นผิดว่าเป็นอัตตาหรือ กู ในจิตใจของคุณ student ว่ามีมากน้อยเพียงไร ยึดแน่นเพียงไร

ความเห็นผิดยึดผิดว่าเป็นกูเป็นเรานี่แหละครับเป็นสมุทัยตัวจริงที่พระพุทธเจ้าทรงทิ้งไว้ไม่เฉลยตรงๆในอริยสัจ 4 เพื่อให้พวกเราค้นพบด้วยตัวเองมันจึงจะซึ้งและทิ้งความเห็นผิดยึดผิดได้

สมุทัย ในอริยสัจ 4 พระพุทธองค์ทรงตรัสบอกแค่ว่า ตัณหา
ความอยากคือสมุทัย

แต่ถ้าเราจะเพียงค้นคว้าต่อให้ลึกลงไปด้วยคำถามง่ายๆพื้นๆอีกสักนิด

ตัณหา แปลว่าความชอบ ความอยาก ไม่อยาก

เราเพียงถามต่อไปว่า ใครชอบ
ใครอยาก
ใครไม่อยาก
เราก็จะได้พบสมุทัยเหตุทุกข์ตัวจริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังความอยาก

บางคนอาจฉลาดตอบว่า ใจอยาก
ถ้าอย่างนั้นต้องค้นหาด้วยการถามต่ออีกสักนิดว่า "ใจใคร"
ทีนี้ก็คงชนตัวต้นเหตุที่แท้จริงได้ ถ้าตอบถูกต้องตามธรรม

แต่คนส่วนใหญ่มักตอบผิดว่า "ใจเรา"

คำว่าเรานี่แสดงว่ามีต้นเหตุหรือผู้ร้ายมากกว่า 2 คน เพราะ เรา เป็นพหูพจน์
คำตอบที่แท้จริงต้องเป็น "ใจฉัน" แต่มันสุภาพเกินไปไม่สะใจจำไม่แม่น คำตอบสุดท้ายต้องใช้ภาษาพ่อขุนรามคำแหงว่า

"ใจกู"

"กู" นั่นไงเป็นสมุทัย ต้นเหตุแห่งทุกข์ที่แท้จริง

มีกู จึงมีสุข มีทุกข์ ดีใจ เสียใจ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะสงสารไม่รู้จบ

หมดกูก็หมดเหตุ

เห็นและยึดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกูของกู นั่นคือ อวิชชา

เห็นและรู้ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกูของกู นั่นแหละคือวิชชา คือแสงสว่าง คือความรู้ ตื่น เบิกบาน

เพราะฉนั้นงานสำคัญของผู้ปฏิบัติธรรมตามคำสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อให้เข้าถึงความเป็นชาวพุทธโดยสมบูรณ์คือ
งานค้นหากูให้พบเพื่อฆ่าทำลายเสีย เมื่อหมดกู ก็จะได้ถึงสภาวะไร้กูหรือที่เรียกว่า "อนัตตา"แล้วก็จะได้รับ "นิพพาน"อมตะสุขเป็นรางวัล

:b8:
onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 06:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
student เขียน:
มองแบบคุณอโสกะ คือมองแบบอนัตตา

มองแบบคนเรามี cell ต่างๆเล็กๆ แต่ cell เล็กๆยังเป็นของเราอยู่ เพราะอยู่ในร่างกายเรา มันก็คืออัตตา

เหมือนนักวิทยาศาสตร์แยกส่วนเล็กๆจนถึงอะตอม แต่อะตอมยังถือเป็นสถานะอยู่ มันก็คืออัตตา

:b16:
น่าชื่นใจที่คุณ student พยายามมองให้เห็นหรือ รู้ จักอัตตาในแง่วิทยาศาสตร์

แต่ "อัตตา"นั้นเป็นนามธรรม เป็นพลังงานไม่ใช่สสาร มันเป็นความเห็นผิดยึดผิด ที่ถูกปรุงแต่งขึ้นมาเหมือนการวาดภาพในอากาศหรือสร้างจินตนาการ ถ้ายึดแน่นก็จะเห็นเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ถ้าไม่ยึดไว้ก็สลายเป็นอากาศธาตุ เป็นความว่างเปล่า ความว่างเปล่าเป็นของมีอยู่จริงเป็นอนัตตา เพราะไม่มีความเห็นผิดยึดผิดว่าเป็นตัวเป็นตนอยู่ในนั้น

ตัวอย่างที่เห็นง่ายๆใกล้ตัวก็อย่างชื่อ student ซึ่งก็เป็นเพียงชื่อสมมุติชั่วคราวใช้ในลานธรรมจักรแห่งนี้ไม่ใช่ชื่อที่สมมุติว่าจริงตามบัตรประชาชนของคุณ student นี่ก็เป็นความผูกยึดชั่วคราวที่ปรุงแต่งขึ้นมา ส่วนชื่อในบัตรประชาชนก็เป็นความผูกยึดที่ค่อนข้างจะแน่นแฟ้นแน่นหนาเพราะมีการจดทะเบียนรับรอง

ลองให้ใครมาแตะดูถูกดูหมิ่นชื่อ student ดูซิครับ จะได้เห็นหรือรู้ซึ้งถึงความเห็นผิดว่าเป็นอัตตาหรือ กู ในจิตใจของคุณ student ว่ามีมากน้อยเพียงไร ยึดแน่นเพียงไร

ความเห็นผิดยึดผิดว่าเป็นกูเป็นเรานี่แหละครับเป็นสมุทัยตัวจริงที่พระพุทธเจ้าทรงทิ้งไว้ไม่เฉลยตรงๆในอริยสัจ 4 เพื่อให้พวกเราค้นพบด้วยตัวเองมันจึงจะซึ้งและทิ้งความเห็นผิดยึดผิดได้

สมุทัย ในอริยสัจ 4 พระพุทธองค์ทรงตรัสบอกแค่ว่า ตัณหา
ความอยากคือสมุทัย

แต่ถ้าเราจะเพียงค้นคว้าต่อให้ลึกลงไปด้วยคำถามง่ายๆพื้นๆอีกสักนิด

ตัณหา แปลว่าความชอบ ความอยาก ไม่อยาก

เราเพียงถามต่อไปว่า ใครชอบ
ใครอยาก
ใครไม่อยาก
เราก็จะได้พบสมุทัยเหตุทุกข์ตัวจริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังความอยาก

บางคนอาจฉลาดตอบว่า ใจอยาก
ถ้าอย่างนั้นต้องค้นหาด้วยการถามต่ออีกสักนิดว่า "ใจใคร"
ทีนี้ก็คงชนตัวต้นเหตุที่แท้จริงได้ ถ้าตอบถูกต้องตามธรรม

แต่คนส่วนใหญ่มักตอบผิดว่า "ใจเรา"

คำว่าเรานี่แสดงว่ามีต้นเหตุหรือผู้ร้ายมากกว่า 2 คน เพราะ เรา เป็นพหูพจน์
คำตอบที่แท้จริงต้องเป็น "ใจฉัน" แต่มันสุภาพเกินไปไม่สะใจจำไม่แม่น คำตอบสุดท้ายต้องใช้ภาษาพ่อขุนรามคำแหงว่า

"ใจกู"

"กู" นั่นไงเป็นสมุทัย ต้นเหตุแห่งทุกข์ที่แท้จริง

มีกู จึงมีสุข มีทุกข์ ดีใจ เสียใจ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะสงสารไม่รู้จบ

หมดกูก็หมดเหตุ

เห็นและยึดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกูของกู นั่นคือ อวิชชา

เห็นและรู้ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกูของกู นั่นแหละคือวิชชา คือแสงสว่าง คือความรู้ ตื่น เบิกบาน

เพราะฉนั้นงานสำคัญของผู้ปฏิบัติธรรมตามคำสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อให้เข้าถึงความเป็นชาวพุทธโดยสมบูรณ์คือ
งานค้นหากูให้พบเพื่อฆ่าทำลายเสีย เมื่อหมดกู ก็จะได้ถึงสภาวะไร้กูหรือที่เรียกว่า "อนัตตา"แล้วก็จะได้รับ "นิพพาน"อมตะสุขเป็นรางวัล

:b8:
onion

นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 12:15 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 12:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:
แล้วสิ่งที่เจอจะเชื่อได้เหรอว่านั้นคือนิพพาน.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 13:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
student เขียน:
มองแบบคุณอโสกะ คือมองแบบอนัตตา

มองแบบคนเรามี cell ต่างๆเล็กๆ แต่ cell เล็กๆยังเป็นของเราอยู่ เพราะอยู่ในร่างกายเรา มันก็คืออัตตา

เหมือนนักวิทยาศาสตร์แยกส่วนเล็กๆจนถึงอะตอม แต่อะตอมยังถือเป็นสถานะอยู่ มันก็คืออัตตา

:b16:
น่าชื่นใจที่คุณ student พยายามมองให้เห็นหรือ รู้ จักอัตตาในแง่วิทยาศาสตร์

แต่ "อัตตา"นั้นเป็นนามธรรม เป็นพลังงานไม่ใช่สสาร มันเป็นความเห็นผิดยึดผิด ที่ถูกปรุงแต่งขึ้นมาเหมือนการวาดภาพในอากาศหรือสร้างจินตนาการ ถ้ายึดแน่นก็จะเห็นเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ถ้าไม่ยึดไว้ก็สลายเป็นอากาศธาตุ เป็นความว่างเปล่า ความว่างเปล่าเป็นของมีอยู่จริงเป็นอนัตตา เพราะไม่มีความเห็นผิดยึดผิดว่าเป็นตัวเป็นตนอยู่ในนั้น

ตัวอย่างที่เห็นง่ายๆใกล้ตัวก็อย่างชื่อ student ซึ่งก็เป็นเพียงชื่อสมมุติชั่วคราวใช้ในลานธรรมจักรแห่งนี้ไม่ใช่ชื่อที่สมมุติว่าจริงตามบัตรประชาชนของคุณ student นี่ก็เป็นความผูกยึดชั่วคราวที่ปรุงแต่งขึ้นมา ส่วนชื่อในบัตรประชาชนก็เป็นความผูกยึดที่ค่อนข้างจะแน่นแฟ้นแน่นหนาเพราะมีการจดทะเบียนรับรอง

ลองให้ใครมาแตะดูถูกดูหมิ่นชื่อ student ดูซิครับ จะได้เห็นหรือรู้ซึ้งถึงความเห็นผิดว่าเป็นอัตตาหรือ กู ในจิตใจของคุณ student ว่ามีมากน้อยเพียงไร ยึดแน่นเพียงไร

ความเห็นผิดยึดผิดว่าเป็นกูเป็นเรานี่แหละครับเป็นสมุทัยตัวจริงที่พระพุทธเจ้าทรงทิ้งไว้ไม่เฉลยตรงๆในอริยสัจ 4 เพื่อให้พวกเราค้นพบด้วยตัวเองมันจึงจะซึ้งและทิ้งความเห็นผิดยึดผิดได้

สมุทัย ในอริยสัจ 4 พระพุทธองค์ทรงตรัสบอกแค่ว่า ตัณหา
ความอยากคือสมุทัย

แต่ถ้าเราจะเพียงค้นคว้าต่อให้ลึกลงไปด้วยคำถามง่ายๆพื้นๆอีกสักนิด

ตัณหา แปลว่าความชอบ ความอยาก ไม่อยาก

เราเพียงถามต่อไปว่า ใครชอบ
ใครอยาก
ใครไม่อยาก
เราก็จะได้พบสมุทัยเหตุทุกข์ตัวจริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังความอยาก

บางคนอาจฉลาดตอบว่า ใจอยาก
ถ้าอย่างนั้นต้องค้นหาด้วยการถามต่ออีกสักนิดว่า "ใจใคร"
ทีนี้ก็คงชนตัวต้นเหตุที่แท้จริงได้ ถ้าตอบถูกต้องตามธรรม

แต่คนส่วนใหญ่มักตอบผิดว่า "ใจเรา"

คำว่าเรานี่แสดงว่ามีต้นเหตุหรือผู้ร้ายมากกว่า 2 คน เพราะ เรา เป็นพหูพจน์
คำตอบที่แท้จริงต้องเป็น "ใจฉัน" แต่มันสุภาพเกินไปไม่สะใจจำไม่แม่น คำตอบสุดท้ายต้องใช้ภาษาพ่อขุนรามคำแหงว่า

"ใจกู"

"กู" นั่นไงเป็นสมุทัย ต้นเหตุแห่งทุกข์ที่แท้จริง

มีกู จึงมีสุข มีทุกข์ ดีใจ เสียใจ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะสงสารไม่รู้จบ

หมดกูก็หมดเหตุ

เห็นและยึดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกูของกู นั่นคือ อวิชชา

เห็นและรู้ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกูของกู นั่นแหละคือวิชชา คือแสงสว่าง คือความรู้ ตื่น เบิกบาน

เพราะฉนั้นงานสำคัญของผู้ปฏิบัติธรรมตามคำสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อให้เข้าถึงความเป็นชาวพุทธโดยสมบูรณ์คือ
งานค้นหากูให้พบเพื่อฆ่าทำลายเสีย เมื่อหมดกู ก็จะได้ถึงสภาวะไร้กูหรือที่เรียกว่า "อนัตตา"แล้วก็จะได้รับ "นิพพาน"อมตะสุขเป็นรางวัล

:b8:
onion


อนุโมทนาครับ

ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตาอยู่แล้ว
เพียงแต่เราไปยึดถือเอาความสมมุติเป็นอัตตา
เวลามองที่ตนเอง ผมจึงมองด้วยความเห็นว่า เป็นเพียงธาตุ4ประชุมกัน
แม้จิตที่ไปรู้ก็รู้ธาตุ4อยู่ดี และรู้ทีละธาตุด้วย ไม่ได้รู้พร้อมกันทีเดียว แต่เพราะความเป็นก้อน จึงปิดบังอนัตตา แต่เวลาย่อยความเป็นธาตุ ก็ต้องย่อยตามปัญญาความรู้ คือ ย่อยออกมาเป็นธาตุ4 ดินน้ำลมไฟ ไม่ได้ย่อยลงมาเป็นอะตอม หรือ cell เพราะcell เล็กๆ ก็มีธาตุ4ประชุมอยู่ดี คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ
ผมไม่เคยย่อยตัวเองเป็น cell อยู่แล้ว เวลาผมดูตัวเองด้วยจิต จึงจะเห็นธาตุทั้ง4 จึงจะเป็นอนัตตา เพราะเวลาหนาว ร่างกายก็หนาวตามสภาพอากาศ เวลาตากแดดร้อน ร่างกายก็ร้อนตามสภาพอากาศ แม้ปสาทรูป5ก็เป็นอนัตตา
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็อย่าสับสนตัวเองกับ อนิจจัง เวลาศึกษา ต้องศึกษาตลอดสาย อนัตตา อนิจจัง ทุกข์
อุณหภูมิหรือธาตุไฟก็ไม่เที่ยง เวลาร้อน ก็รู้ว่าร้อน แต่ร้อนก็ไม่เที่ยง แต่เป็นอนัตตา คือ จำแนกธรรมออกตามพระไตรลักษณ์
ไหนๆ ก็ต่อพระไตรลักษณ์ ย้อนพิจารณา พระนิพพาน
ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา คือ พระนิพพานคืออนัตตา เพราะไม่ห้ามผู้ที่ดับกิเลส แต่ พระนิพพานนั้นเที่ยง คือเราไม่เคยได้ยินคำว่า นิพพานัง อนิจจัง หรือ พระนิพพานเป็นอนิจจัง แต่จะได้ยินคำว่า ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา พิจารณาอีกทีนะครับ จำแนก ระหว่างอนัตตา กับ อนิจจัง ความเห็นผมยังคงเข้าใจเป็น ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา แม้พระนิพพานก็เป็นอนัตตา แต่พระนิพพานเที่ยง คือ ไม่ใช่อนิจจังเพราะความหลุดพ้นจากโซ่คล้องยึด

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 14:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
asoka เขียน:
student เขียน:
มองแบบคุณอโสกะ คือมองแบบอนัตตา

มองแบบคนเรามี cell ต่างๆเล็กๆ แต่ cell เล็กๆยังเป็นของเราอยู่ เพราะอยู่ในร่างกายเรา มันก็คืออัตตา

เหมือนนักวิทยาศาสตร์แยกส่วนเล็กๆจนถึงอะตอม แต่อะตอมยังถือเป็นสถานะอยู่ มันก็คืออัตตา

:b16:
น่าชื่นใจที่คุณ student พยายามมองให้เห็นหรือ รู้ จักอัตตาในแง่วิทยาศาสตร์

แต่ "อัตตา"นั้นเป็นนามธรรม เป็นพลังงานไม่ใช่สสาร มันเป็นความเห็นผิดยึดผิด ที่ถูกปรุงแต่งขึ้นมาเหมือนการวาดภาพในอากาศหรือสร้างจินตนาการ ถ้ายึดแน่นก็จะเห็นเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ถ้าไม่ยึดไว้ก็สลายเป็นอากาศธาตุ เป็นความว่างเปล่า ความว่างเปล่าเป็นของมีอยู่จริงเป็นอนัตตา เพราะไม่มีความเห็นผิดยึดผิดว่าเป็นตัวเป็นตนอยู่ในนั้น

ตัวอย่างที่เห็นง่ายๆใกล้ตัวก็อย่างชื่อ student ซึ่งก็เป็นเพียงชื่อสมมุติชั่วคราวใช้ในลานธรรมจักรแห่งนี้ไม่ใช่ชื่อที่สมมุติว่าจริงตามบัตรประชาชนของคุณ student นี่ก็เป็นความผูกยึดชั่วคราวที่ปรุงแต่งขึ้นมา ส่วนชื่อในบัตรประชาชนก็เป็นความผูกยึดที่ค่อนข้างจะแน่นแฟ้นแน่นหนาเพราะมีการจดทะเบียนรับรอง

ลองให้ใครมาแตะดูถูกดูหมิ่นชื่อ student ดูซิครับ จะได้เห็นหรือรู้ซึ้งถึงความเห็นผิดว่าเป็นอัตตาหรือ กู ในจิตใจของคุณ student ว่ามีมากน้อยเพียงไร ยึดแน่นเพียงไร

ความเห็นผิดยึดผิดว่าเป็นกูเป็นเรานี่แหละครับเป็นสมุทัยตัวจริงที่พระพุทธเจ้าทรงทิ้งไว้ไม่เฉลยตรงๆในอริยสัจ 4 เพื่อให้พวกเราค้นพบด้วยตัวเองมันจึงจะซึ้งและทิ้งความเห็นผิดยึดผิดได้

สมุทัย ในอริยสัจ 4 พระพุทธองค์ทรงตรัสบอกแค่ว่า ตัณหา
ความอยากคือสมุทัย

แต่ถ้าเราจะเพียงค้นคว้าต่อให้ลึกลงไปด้วยคำถามง่ายๆพื้นๆอีกสักนิด

ตัณหา แปลว่าความชอบ ความอยาก ไม่อยาก

เราเพียงถามต่อไปว่า ใครชอบ
ใครอยาก
ใครไม่อยาก
เราก็จะได้พบสมุทัยเหตุทุกข์ตัวจริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังความอยาก

บางคนอาจฉลาดตอบว่า ใจอยาก
ถ้าอย่างนั้นต้องค้นหาด้วยการถามต่ออีกสักนิดว่า "ใจใคร"
ทีนี้ก็คงชนตัวต้นเหตุที่แท้จริงได้ ถ้าตอบถูกต้องตามธรรม

แต่คนส่วนใหญ่มักตอบผิดว่า "ใจเรา"

คำว่าเรานี่แสดงว่ามีต้นเหตุหรือผู้ร้ายมากกว่า 2 คน เพราะ เรา เป็นพหูพจน์
คำตอบที่แท้จริงต้องเป็น "ใจฉัน" แต่มันสุภาพเกินไปไม่สะใจจำไม่แม่น คำตอบสุดท้ายต้องใช้ภาษาพ่อขุนรามคำแหงว่า

"ใจกู"

"กู" นั่นไงเป็นสมุทัย ต้นเหตุแห่งทุกข์ที่แท้จริง

มีกู จึงมีสุข มีทุกข์ ดีใจ เสียใจ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะสงสารไม่รู้จบ

หมดกูก็หมดเหตุ

เห็นและยึดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกูของกู นั่นคือ อวิชชา

เห็นและรู้ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกูของกู นั่นแหละคือวิชชา คือแสงสว่าง คือความรู้ ตื่น เบิกบาน

เพราะฉนั้นงานสำคัญของผู้ปฏิบัติธรรมตามคำสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อให้เข้าถึงความเป็นชาวพุทธโดยสมบูรณ์คือ
งานค้นหากูให้พบเพื่อฆ่าทำลายเสีย เมื่อหมดกู ก็จะได้ถึงสภาวะไร้กูหรือที่เรียกว่า "อนัตตา"แล้วก็จะได้รับ "นิพพาน"อมตะสุขเป็นรางวัล

:b8:
onion


อนุโมทนาครับ

ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตาอยู่แล้ว
เพียงแต่เราไปยึดถือเอาความสมมุติเป็นอัตตา
เวลามองที่ตนเอง ผมจึงมองด้วยความเห็นว่า เป็นเพียงธาตุ4ประชุมกัน
แม้จิตที่ไปรู้ก็รู้ธาตุ4อยู่ดี และรู้ทีละธาตุด้วย ไม่ได้รู้พร้อมกันทีเดียว แต่เพราะความเป็นก้อน จึงปิดบังอนัตตา แต่เวลาย่อยความเป็นธาตุ ก็ต้องย่อยตามปัญญาความรู้ คือ ย่อยออกมาเป็นธาตุ4 ดินน้ำลมไฟ ไม่ได้ย่อยลงมาเป็นอะตอม หรือ cell เพราะcell เล็กๆ ก็มีธาตุ4ประชุมอยู่ดี คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ
ผมไม่เคยย่อยตัวเองเป็น cell อยู่แล้ว เวลาผมดูตัวเองด้วยจิต จึงจะเห็นธาตุทั้ง4 จึงจะเป็นอนัตตา เพราะเวลาหนาว ร่างกายก็หนาวตามสภาพอากาศ เวลาตากแดดร้อน ร่างกายก็ร้อนตามสภาพอากาศ แม้ปสาทรูป5ก็เป็นอนัตตา
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็อย่าสับสนตัวเองกับ อนิจจัง เวลาศึกษา ต้องศึกษาตลอดสาย อนัตตา อนิจจัง ทุกข์
อุณหภูมิหรือธาตุไฟก็ไม่เที่ยง เวลาร้อน ก็รู้ว่าร้อน แต่ร้อนก็ไม่เที่ยง แต่เป็นอนัตตา คือ จำแนกธรรมออกตามพระไตรลักษณ์
ไหนๆ ก็ต่อพระไตรลักษณ์ ย้อนพิจารณา พระนิพพาน
ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา คือ พระนิพพานคืออนัตตา เพราะไม่ห้ามผู้ที่ดับกิเลส แต่ พระนิพพานนั้นเที่ยง คือเราไม่เคยได้ยินคำว่า นิพพานัง อนิจจัง หรือ พระนิพพานเป็นอนิจจัง แต่จะได้ยินคำว่า ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา พิจารณาอีกทีนะครับ จำแนก ระหว่างอนัตตา กับ อนิจจัง ความเห็นผมยังคงเข้าใจเป็น ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา แม้พระนิพพานก็เป็นอนัตตา แต่พระนิพพานเที่ยง คือ ไม่ใช่อนิจจังเพราะความหลุดพ้นจากโซ่คล้องยึด
ถ้าอย่างนั้นคุณก็ขัดแย้งกันเองแล้วครับ. คุณบอกว่าอนัตตาคือธาตุ4นี่ถูกต้อง. บอกนิพพานคืออนัตตาอีก. อันนี้ผิดเพราะนิพพานไม่ใช่ธาตุ4. นิพพานไม่มีอะไรเลยเป็นสูญญตาครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 16:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ก.ย. 2010, 09:07
โพสต์: 761

แนวปฏิบัติ: อานาปาฯ
งานอดิเรก: ศึกษาพุทธธรรม
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม
ชื่อเล่น: ปลีกวิเวก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อัตตานุทิฏฐิสูตร

๒๕๖] ครั้งนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
ฯลฯ ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุคคลรู้อยู่อย่างไร เห็น
อยู่อย่างไร จึงจะละอัตตานุทิฐิได้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุ บุคคล
รู้เห็นจักษุแล โดยความเป็นอนัตตา จึงจะละอัตตานุทิฐิได้ รู้เห็นรูปโดยความเป็น
อนัตตา จึงจะละอัตตานุทิฐิได้ รู้เห็นจักษุวิญญาณโดยความเป็นอนัตตา จึงจะละ
อัตตานุทิฐิได้ รู้เห็นจักษุสัมผัสโดยความเป็นอนัตตา จึงจะละอัตตานุทิฐิได้
รู้เห็นแม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัส
เป็นปัจจัย โดยความเป็นอนัตตา จึงจะละอัตตานุทิฐิได้ บุคคลรู้เห็นหู... รู้เห็น
จมูก... รู้เห็นลิ้น... รู้เห็นกาย... รู้เห็นใจโดยความเป็นอนัตตา จึงจะละอัตตานุทิฐิ
ได้ รู้เห็นธรรมารมณ์โดยความเป็นอนัตตา จึงจะละอัตตานุทิฐิได้ รู้เห็นมโน-
*วิญญาณโดยความเป็นอนัตตา จึงจะละอัตตานุทิฐิได้ รู้เห็นมโนสัมผัสโดยความ
เป็นอนัตตา จึงจะละอัตตานุทิฐิได้ รู้เห็นแม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรือ
อทุกขมสุขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย โดยความเป็นอนัตตา จึง
จะละอัตตานุทิฐิได้ ดูกรภิกษุ เมื่อบุคคลรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้แล จึงจะ
ละอัตตานุทิฐิได้ ฯ

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... 875&Z=3899

.....................................................
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏฺโฐ เทวมานุสเส
ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้คู่ความดี คือผู้ที่ประเสริฐสุดในหมู่มนุษย์และเทวดา
วรรคทอง วรรคธรรม โดยท่าน ว.วชิรเมธี


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 17:36 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:
แล้วสิ่งที่เจอจะเชื่อได้เหรอว่านั้นคือนิพพาน.

:b39:
นิพพาน
นิพพาน เป็นสภาวะของจิตที่ปราศจากกิเลส อันเป็นเครื่องมือร้อยรัดจิตใจให้ห่วง กังวล วุ่นวาย สับสน รุ่มร้อน เมื่อจิตใจปราศจากกิเลสเสียแล้วก็ไม่วุ่นวาย สับสน หรือรุ่มร้อนใดๆอีก จิตก็สงบ ร่มเย็น และเป็นสุข ซึ่งเป็น ความสุขอันสูงสุด เป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม ตามหลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา ความสุขแบบนิพพานนั้นไม่ใช่ความสุขปกติธรรมดาทั่วไปอันเกิดจากการ ได้รับอารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าพอใจ โดยผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ ที่เรียกว่า สุขเวทนา แต่จะเป็นความสุขที่อยู่นอกเหนือการรับรู้ทางประสาท สัมผัสเหล่านั้น เป็นสภาวะแห่งความสุข ที่ผู้บรรลุแล้วเท่านั้น จึงจะประจักษ์ได้ด้วยตนเอง

ลักษณะของนิพพาน
นิพพานมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. อัจจุตะ สภาวะที่ไม่ตาย คือนิพพานเป็นสภาวะมี่ไม่มีการเกิดและไม่มีการตาย เป็นสภาวะธรรมที่ ไม่ตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งการเวลา หรือที่เรียกว่า กาลวิมุตติ
2. อัจจันตะ สภาวะที่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีการแปรผันเป็นอื่น คือ ผู้บรรลุนิพพานแล้ว จะกลับเสื่อม จากนิพพานเป็นไม่มี
3. อสังขตะ สภาวะที่ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย4 คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร นิพพานไม่ใช่จิต เจตสิก หรือรูปที่เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง เป็นสภาวะที่พ้นจากขันธ์ 5 คือ ขันธวิมุตติ
4. อนุตระ สภาวะที่ประเสริฐสูงสุด ไม่มีสิ่งใดยิ่งกว่า เป็นโลกุตรธรรม
สถานะของนิพพาน

แม้ชาวพุทธทั่วไปจะมีความเชื่อว่า นิพพานมีอยู่จริง สามารถบรรลุได้จริง แต่ก็มักจะคำถามเสมอ ว่า "นิพพานอยู่ไหน" นั่นเพราะการสอนธรรมะแบบ บุคลาธิษฐาน ทำให้คิดกันว่า นิพพานเป็นอีกโลกหนึ่ง ที่มิใช่โลก มนุษย์ และอยู่สูงกว่าโลกและสวรรค์ เช่นการสอนเรื่องวิบากแห่งกุศลกรรม การได้มาซึ่งมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบัติ การสอนว่ามนุษย์เป็นโลกๆหนึ่ง สวรรค์เป็นโลกแห่งความสุขอยู่เหนือโลกมนุษย์ และมีถึง 6 ชั้น การสอนเช่นนี้ทำให้เชื่อกันว่า นิพพานอยู่เหนือโลกมนุษย์และสวรรค์ขึ้นไปอีก จนนิพพานกลายเป็นสิ่งที่ไม่อาจจะ บรรลุได้ ไปถึงได้ในชาตินี้ เมื่อทำบุญก็ปรารถนานิพพานเพราะเชื่อว่าเป็นดินแดนบรมสุข อธิษฐานเพียงขอให้นิพพาน ในกาลเบื้องหน้า
นิพพานจึงเป็นสิ่งไกลเกินฝัน คำสอนเรื่องนิพพานกลายเป็นเป็นสิ่งสูงส่ง เข้าใจยาก บุคคลทั่วไปไม่ คู่ควร เรื่องของนิพพานแทบจะหมดความหมาย และสิ้นหวัง กลายเป็นเรื่องเลื่อนลอยเพ้อฝัน เพราะคำสอนผิดๆ นั่นเอง
ที่ทำให้เกิดความเข้าใจเช่นนั้นในประดาชาวพุทธทั้งหลาย
คำสอนเรื่องนิพพานไม่ใช่คำสอนที่สูงส่งกว่าที่คนธรรมดาจะเข้าใจ นิพพานไม่ใช่สภาวะที่คนทั่วไป ไม่อาจจะเข้าถึง นิพานมิใช่เมืองแก้ว มิใช่มหานฤพาน แต่อย่างใดเลย นิพพานเป็นคำสอนสำหรับคนธรรมดาสามัญ ทั่วๆไป เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงสอนไว้เพื่อเป็นการแก้ไขปํญหาของมนุษย์ และสังคม ดังที่พระองค์ได้ ตรัสถึงเรื่อง ปรมัตถธรรม4 จิต เจตสิก รูป นิพพาน ทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งสิ้น กล่าวคือ จิตและ เจตสิกเป็นนามธรรม รูปเป็นรูปธรรม ส่วนนิพพานนั้นเป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม
ในสังคมเราทุกวันนี้ หากมนุษย์ส่วนใหญ่สามารถละกิเลสได้แม้เพียงแค่บางส่วน สังคมก็จะน่าอยู่ ขึ้นอีกไม่น้อยเลย ถ้าหากมนุษย์สามารถเอาชนะกิเลสของตนเองได้หมด ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส สังคมก็จะยิ่งน่าอยู่ ถึงขนานที่เรียกได้ว่าเป็น สังคมอริยะเลยทีเดียว คือเป็นสังคมอุดมคติของพุทธศาสนาแท้ๆ ดังคำสอนของพระพุทธองค์ ที่ว่า
" นิพพานอันผู้บรรลุเห็นได้เอง ไม่ขึ้นแก่กาล เรียกมาให้ดูได้ ควรน้อมเข้ามาไว้ในตน อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน "
" นิพพาน คือความสิ้นราคะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ "
" นิพพาน คือความสิ้นตัณหา "
" ยังอิงอยู่จึงมีการสั่นไหว เมื่อไม่อิงแล้วก็ไม่มีการสั่นไหว เมื่อไม่มีการสั่นไหวก็นิ่งสนิท เมื่อนิ่งสนิท ก็ไม่มีการโอนเอน เมื่อไม่มีการโอนเอนก็ไม่มีการมาการไป เมื่อไม่มีการมาการไปก็ไม่มีการจุติและอุบัติ เมื่อไม่มี การจุติและอุบัติก็ไม่มีภพนี้ ภพหน้า ไม่มีในระหว่างทั้งสองภพ นั่นแหละคือที่สุดแห่งทุกข์ "
ประเภทของนิพพาน

ประเภทของนิพพานมีการแสดงไว้หลายนัยด้วยกัน คือ
นัยที่1
นิพพานโดยสภาวะลักษณะ
คือ สันติลักษณะ มีความสงบกิเลสและขันธ์5 เป็นหลัก ซึ่งพระอรหันต์ทั้งหลายเมื่อเข้าสู่นิพพานแล้ว ย่อมพบกับสันติสุขด้วนกันทั้งสิ้น คือ ความสิ้นไปแห่งตัณหา พ้นจากความเกิดและความตาย
นัยที่2
นิพพานโดยปริยาย
คือการดับกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ได้เป็นครั้งเป็นคราว หรือดับได้เพียงบางส่วน
นิพพานโดยนิปปริยาย
คือการดับกิเลสได้ โดยประการทั้งปวงอย่างเด็ดขาด
นัยที่3
สอุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่ และได้ทำลายกิเลสหมดสิ้นไปแล้ว ความทุกข์อันเกิดจาก อำนาจแห่งกิเลสนั้น จึงไม่เกิดกับท่าน เว้นเสียแต่ว่า ความทุกข์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของชีวิต คือทุกข์เพราะการ บริหารขันธ์5 เข่นปวดปัสสาวะ ปวดอุจาระ หรือทุกข์เพราะร้อนหนาว และเจ็บป่วยโดยทั่วไป ตลอดจนชราภาพ
อนุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของผู้ที่ไม่มีขันธ์หรือ อุปาทิ เหลืออยู่ คือนิพพานของพระอรหันต์ที่สิ้นชีวิตไปแล้ว
นัยที่4
อนิมิตตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีนิมิตเครื่องหมาย ไม่มีรูปร่าง ไม่มีสัญฐานและสีสรรวรรณะใดๆ ซึ่งหมายถึง ผู้เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนิจลักษณะ คือ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นของไม่เที่ยงแท้
อปณิหิตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีอารมณ์ อันเป็นที่น่าปรารถนา และไม่มีตัณหาอันเป็นตัวให้เกิด ความต้องการในอารมณ์นั้น หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง ทุกข์ลักษณะ คือ พิจารณาเห็นว่าสังขาร เป็นสิ่งที่ทนได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสื่อมไป
สุญญตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นสูญสิ้นจากกิเลสและขันธ์5 ไม่มีอะไรเหลืออยู่ให้เห็นเป็นสิ่งผูกมัดกังวล หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนัตตลักษณะ คือพิจารณาเห็นว่าสังขารเป็นสิ่งไม่มีตัวตน ไม่มีส่วนใดที่ เป็นเรา หรือเป็นของเรา เพราะไม่อยู่ในอำนาจที่จะบังคับบัญชาได้

ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน

ภาวะทางปัญญา ผู้บรรลุนิพพาน มองเห็นทั้งหลายตามที่มันเป็น เห็นตามความจริง ตั้งแต่การ รับรู้อารมณ์ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง และมีสติ ไม่หวั่นไหว หรือถูกชักจูงไปตามความชอบใจไม่ชอบใจ สามารถตามดูรู้ เห็นอารมณ์นั้นๆ ไปตามสภาวะของมันตั้งแต่ตันจนตลอดสาย ไม่ถูกความติดพัน ความข้องขัดขุ่นมัว หรือความกระทบ กระแทกอันเนื่องมาจากอารมณ์นั้นๆ มาฉุดรั้งหรือสะดดุเอาไว้ให้เขวไปเสียก่อน
ที่ลึกลงไปอีกคือ ปัญญาที่รู้เท่าทันสังขาร รู้สามัญลักษณะที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้เท่าทัน สมมุติบัญญัติ ไม่ถูกหลอกลวงให้หลงไปตามรูปลักษณะภายนอก ของสิ่งทั้งหลาย และยอมรับความจริงทุกด้าน มิใช่ติด อยู่เพี่ยงแง่ใดแง่หนึ่ง
ภาวะทางจิต ผู้บรรลุนิพพาน จะมีความเป็นอิสระหรือที่เรียกว่า หลุดพ้น อันมีผลสืบเนื่องมา จากปัญญา คือเห็นตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสังขารแล้ว จิตจึงหลุดพ้นจากอำนาจการครอบงำของกิเลส
เมื่อไม่ถูกกิเลสครอบงำ ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ที่เย้ายวน ยั่วยุ อารมณ์ไม่เป็นที่ตั้งของราคะ โลภะ โมสะ โมหะ นอกจากไม่มีเหตุที่จะทำให้ความชั่วหรือเสียหายในทางที่ร้ายแรงแล้ว ยังมีหลักประกันความสุจริต ในการงานด้วย เป็นผู้ที่มีสติควบคุมตัวเองได้ เป็นผู้ที่ฝึกฝนมาดีแล้ว ผู้ชนะตนเองได้ ถือว่าเป็นที่สุดแห่งชัยชนะทั้งปวง
ภาวะทางความประพฤติและการดำเนินชีวิต ผู้บรรลุนิพพานนั้นจะมีพฤติกรรมหรือดำเนิน ชีวิตในลักษณะที่จะไม่ถูกชักจูงได้โดยอวิชชา ตัณหา และอุปาทาน คือไม่ทำการด้วยความยึดมั่นในความดีความชั่ว ที่เกี่ยวกับตัวเองและของตัวเอง หรือผลประโยชน์ของตัวเอง ไม่มีความปรารถนา เพื่อตัวตนแฝงอยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูป หยาบหรือละเอียด คือทำไปตามวัตถุประสงค์ของกิจการนั้นๆ ตามเหตุผลของเรื่องนั้นๆ ตามที่มันควรจะเป็นของมัน ล้วนๆ เป็นการกระทำถึงขั้นที่ลอยพ้นเหนือกรรมดีขึ้นไปอีก ส่วนกรรมชั่วนั้นเป็นอันไม่ต้องกล่าวถึง เพราะหมดสิ้น โลภะ โทสะ โมหะ ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ทำความชั่วเสียแล้ว.
(คัดมาจากอาจารย์กูเกิ้ล)
:b11:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 17:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:
แล้วสิ่งที่เจอจะเชื่อได้เหรอว่านั้นคือนิพพาน.

:b39:
นิพพาน
นิพพาน เป็นสภาวะของจิตที่ปราศจากกิเลส อันเป็นเครื่องมือร้อยรัดจิตใจให้ห่วง กังวล วุ่นวาย สับสน รุ่มร้อน เมื่อจิตใจปราศจากกิเลสเสียแล้วก็ไม่วุ่นวาย สับสน หรือรุ่มร้อนใดๆอีก จิตก็สงบ ร่มเย็น และเป็นสุข ซึ่งเป็น ความสุขอันสูงสุด เป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม ตามหลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา ความสุขแบบนิพพานนั้นไม่ใช่ความสุขปกติธรรมดาทั่วไปอันเกิดจากการ ได้รับอารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าพอใจ โดยผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ ที่เรียกว่า สุขเวทนา แต่จะเป็นความสุขที่อยู่นอกเหนือการรับรู้ทางประสาท สัมผัสเหล่านั้น เป็นสภาวะแห่งความสุข ที่ผู้บรรลุแล้วเท่านั้น จึงจะประจักษ์ได้ด้วยตนเอง

ลักษณะของนิพพาน
นิพพานมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. อัจจุตะ สภาวะที่ไม่ตาย คือนิพพานเป็นสภาวะมี่ไม่มีการเกิดและไม่มีการตาย เป็นสภาวะธรรมที่ ไม่ตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งการเวลา หรือที่เรียกว่า กาลวิมุตติ
2. อัจจันตะ สภาวะที่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีการแปรผันเป็นอื่น คือ ผู้บรรลุนิพพานแล้ว จะกลับเสื่อม จากนิพพานเป็นไม่มี
3. อสังขตะ สภาวะที่ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย4 คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร นิพพานไม่ใช่จิต เจตสิก หรือรูปที่เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง เป็นสภาวะที่พ้นจากขันธ์ 5 คือ ขันธวิมุตติ
4. อนุตระ สภาวะที่ประเสริฐสูงสุด ไม่มีสิ่งใดยิ่งกว่า เป็นโลกุตรธรรม
สถานะของนิพพาน

แม้ชาวพุทธทั่วไปจะมีความเชื่อว่า นิพพานมีอยู่จริง สามารถบรรลุได้จริง แต่ก็มักจะคำถามเสมอ ว่า "นิพพานอยู่ไหน" นั่นเพราะการสอนธรรมะแบบ บุคลาธิษฐาน ทำให้คิดกันว่า นิพพานเป็นอีกโลกหนึ่ง ที่มิใช่โลก มนุษย์ และอยู่สูงกว่าโลกและสวรรค์ เช่นการสอนเรื่องวิบากแห่งกุศลกรรม การได้มาซึ่งมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบัติ การสอนว่ามนุษย์เป็นโลกๆหนึ่ง สวรรค์เป็นโลกแห่งความสุขอยู่เหนือโลกมนุษย์ และมีถึง 6 ชั้น การสอนเช่นนี้ทำให้เชื่อกันว่า นิพพานอยู่เหนือโลกมนุษย์และสวรรค์ขึ้นไปอีก จนนิพพานกลายเป็นสิ่งที่ไม่อาจจะ บรรลุได้ ไปถึงได้ในชาตินี้ เมื่อทำบุญก็ปรารถนานิพพานเพราะเชื่อว่าเป็นดินแดนบรมสุข อธิษฐานเพียงขอให้นิพพาน ในกาลเบื้องหน้า
นิพพานจึงเป็นสิ่งไกลเกินฝัน คำสอนเรื่องนิพพานกลายเป็นเป็นสิ่งสูงส่ง เข้าใจยาก บุคคลทั่วไปไม่ คู่ควร เรื่องของนิพพานแทบจะหมดความหมาย และสิ้นหวัง กลายเป็นเรื่องเลื่อนลอยเพ้อฝัน เพราะคำสอนผิดๆ นั่นเอง
ที่ทำให้เกิดความเข้าใจเช่นนั้นในประดาชาวพุทธทั้งหลาย
คำสอนเรื่องนิพพานไม่ใช่คำสอนที่สูงส่งกว่าที่คนธรรมดาจะเข้าใจ นิพพานไม่ใช่สภาวะที่คนทั่วไป ไม่อาจจะเข้าถึง นิพานมิใช่เมืองแก้ว มิใช่มหานฤพาน แต่อย่างใดเลย นิพพานเป็นคำสอนสำหรับคนธรรมดาสามัญ ทั่วๆไป เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงสอนไว้เพื่อเป็นการแก้ไขปํญหาของมนุษย์ และสังคม ดังที่พระองค์ได้ ตรัสถึงเรื่อง ปรมัตถธรรม4 จิต เจตสิก รูป นิพพาน ทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งสิ้น กล่าวคือ จิตและ เจตสิกเป็นนามธรรม รูปเป็นรูปธรรม ส่วนนิพพานนั้นเป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม
ในสังคมเราทุกวันนี้ หากมนุษย์ส่วนใหญ่สามารถละกิเลสได้แม้เพียงแค่บางส่วน สังคมก็จะน่าอยู่ ขึ้นอีกไม่น้อยเลย ถ้าหากมนุษย์สามารถเอาชนะกิเลสของตนเองได้หมด ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส สังคมก็จะยิ่งน่าอยู่ ถึงขนานที่เรียกได้ว่าเป็น สังคมอริยะเลยทีเดียว คือเป็นสังคมอุดมคติของพุทธศาสนาแท้ๆ ดังคำสอนของพระพุทธองค์ ที่ว่า
" นิพพานอันผู้บรรลุเห็นได้เอง ไม่ขึ้นแก่กาล เรียกมาให้ดูได้ ควรน้อมเข้ามาไว้ในตน อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน "
" นิพพาน คือความสิ้นราคะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ "
" นิพพาน คือความสิ้นตัณหา "
" ยังอิงอยู่จึงมีการสั่นไหว เมื่อไม่อิงแล้วก็ไม่มีการสั่นไหว เมื่อไม่มีการสั่นไหวก็นิ่งสนิท เมื่อนิ่งสนิท ก็ไม่มีการโอนเอน เมื่อไม่มีการโอนเอนก็ไม่มีการมาการไป เมื่อไม่มีการมาการไปก็ไม่มีการจุติและอุบัติ เมื่อไม่มี การจุติและอุบัติก็ไม่มีภพนี้ ภพหน้า ไม่มีในระหว่างทั้งสองภพ นั่นแหละคือที่สุดแห่งทุกข์ "
ประเภทของนิพพาน

ประเภทของนิพพานมีการแสดงไว้หลายนัยด้วยกัน คือ
นัยที่1
นิพพานโดยสภาวะลักษณะ
คือ สันติลักษณะ มีความสงบกิเลสและขันธ์5 เป็นหลัก ซึ่งพระอรหันต์ทั้งหลายเมื่อเข้าสู่นิพพานแล้ว ย่อมพบกับสันติสุขด้วนกันทั้งสิ้น คือ ความสิ้นไปแห่งตัณหา พ้นจากความเกิดและความตาย
นัยที่2
นิพพานโดยปริยาย
คือการดับกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ได้เป็นครั้งเป็นคราว หรือดับได้เพียงบางส่วน
นิพพานโดยนิปปริยาย
คือการดับกิเลสได้ โดยประการทั้งปวงอย่างเด็ดขาด
นัยที่3
สอุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่ และได้ทำลายกิเลสหมดสิ้นไปแล้ว ความทุกข์อันเกิดจาก อำนาจแห่งกิเลสนั้น จึงไม่เกิดกับท่าน เว้นเสียแต่ว่า ความทุกข์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของชีวิต คือทุกข์เพราะการ บริหารขันธ์5 เข่นปวดปัสสาวะ ปวดอุจาระ หรือทุกข์เพราะร้อนหนาว และเจ็บป่วยโดยทั่วไป ตลอดจนชราภาพ
อนุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของผู้ที่ไม่มีขันธ์หรือ อุปาทิ เหลืออยู่ คือนิพพานของพระอรหันต์ที่สิ้นชีวิตไปแล้ว
นัยที่4
อนิมิตตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีนิมิตเครื่องหมาย ไม่มีรูปร่าง ไม่มีสัญฐานและสีสรรวรรณะใดๆ ซึ่งหมายถึง ผู้เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนิจลักษณะ คือ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นของไม่เที่ยงแท้
อปณิหิตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีอารมณ์ อันเป็นที่น่าปรารถนา และไม่มีตัณหาอันเป็นตัวให้เกิด ความต้องการในอารมณ์นั้น หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง ทุกข์ลักษณะ คือ พิจารณาเห็นว่าสังขาร เป็นสิ่งที่ทนได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสื่อมไป
สุญญตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นสูญสิ้นจากกิเลสและขันธ์5 ไม่มีอะไรเหลืออยู่ให้เห็นเป็นสิ่งผูกมัดกังวล หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนัตตลักษณะ คือพิจารณาเห็นว่าสังขารเป็นสิ่งไม่มีตัวตน ไม่มีส่วนใดที่ เป็นเรา หรือเป็นของเรา เพราะไม่อยู่ในอำนาจที่จะบังคับบัญชาได้

ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน

ภาวะทางปัญญา ผู้บรรลุนิพพาน มองเห็นทั้งหลายตามที่มันเป็น เห็นตามความจริง ตั้งแต่การ รับรู้อารมณ์ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง และมีสติ ไม่หวั่นไหว หรือถูกชักจูงไปตามความชอบใจไม่ชอบใจ สามารถตามดูรู้ เห็นอารมณ์นั้นๆ ไปตามสภาวะของมันตั้งแต่ตันจนตลอดสาย ไม่ถูกความติดพัน ความข้องขัดขุ่นมัว หรือความกระทบ กระแทกอันเนื่องมาจากอารมณ์นั้นๆ มาฉุดรั้งหรือสะดดุเอาไว้ให้เขวไปเสียก่อน
ที่ลึกลงไปอีกคือ ปัญญาที่รู้เท่าทันสังขาร รู้สามัญลักษณะที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้เท่าทัน สมมุติบัญญัติ ไม่ถูกหลอกลวงให้หลงไปตามรูปลักษณะภายนอก ของสิ่งทั้งหลาย และยอมรับความจริงทุกด้าน มิใช่ติด อยู่เพี่ยงแง่ใดแง่หนึ่ง
ภาวะทางจิต ผู้บรรลุนิพพาน จะมีความเป็นอิสระหรือที่เรียกว่า หลุดพ้น อันมีผลสืบเนื่องมา จากปัญญา คือเห็นตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสังขารแล้ว จิตจึงหลุดพ้นจากอำนาจการครอบงำของกิเลส
เมื่อไม่ถูกกิเลสครอบงำ ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ที่เย้ายวน ยั่วยุ อารมณ์ไม่เป็นที่ตั้งของราคะ โลภะ โมสะ โมหะ นอกจากไม่มีเหตุที่จะทำให้ความชั่วหรือเสียหายในทางที่ร้ายแรงแล้ว ยังมีหลักประกันความสุจริต ในการงานด้วย เป็นผู้ที่มีสติควบคุมตัวเองได้ เป็นผู้ที่ฝึกฝนมาดีแล้ว ผู้ชนะตนเองได้ ถือว่าเป็นที่สุดแห่งชัยชนะทั้งปวง
ภาวะทางความประพฤติและการดำเนินชีวิต ผู้บรรลุนิพพานนั้นจะมีพฤติกรรมหรือดำเนิน ชีวิตในลักษณะที่จะไม่ถูกชักจูงได้โดยอวิชชา ตัณหา และอุปาทาน คือไม่ทำการด้วยความยึดมั่นในความดีความชั่ว ที่เกี่ยวกับตัวเองและของตัวเอง หรือผลประโยชน์ของตัวเอง ไม่มีความปรารถนา เพื่อตัวตนแฝงอยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูป หยาบหรือละเอียด คือทำไปตามวัตถุประสงค์ของกิจการนั้นๆ ตามเหตุผลของเรื่องนั้นๆ ตามที่มันควรจะเป็นของมัน ล้วนๆ เป็นการกระทำถึงขั้นที่ลอยพ้นเหนือกรรมดีขึ้นไปอีก ส่วนกรรมชั่วนั้นเป็นอันไม่ต้องกล่าวถึง เพราะหมดสิ้น โลภะ โทสะ โมหะ ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ทำความชั่วเสียแล้ว.
(คัดมาจากอาจารย์กูเกิ้ล)
:b11:

คุณอโศกะ. ท่านคิดว่าท่านบรรลุนิพพานแล้วหรือยังครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 19:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:
แล้วสิ่งที่เจอจะเชื่อได้เหรอว่านั้นคือนิพพาน.

:b39:
นิพพาน
นิพพาน เป็นสภาวะของจิตที่ปราศจากกิเลส อันเป็นเครื่องมือร้อยรัดจิตใจให้ห่วง กังวล วุ่นวาย สับสน รุ่มร้อน เมื่อจิตใจปราศจากกิเลสเสียแล้วก็ไม่วุ่นวาย สับสน หรือรุ่มร้อนใดๆอีก จิตก็สงบ ร่มเย็น และเป็นสุข ซึ่งเป็น ความสุขอันสูงสุด เป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม ตามหลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา ความสุขแบบนิพพานนั้นไม่ใช่ความสุขปกติธรรมดาทั่วไปอันเกิดจากการ ได้รับอารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าพอใจ โดยผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ ที่เรียกว่า สุขเวทนา แต่จะเป็นความสุขที่อยู่นอกเหนือการรับรู้ทางประสาท สัมผัสเหล่านั้น เป็นสภาวะแห่งความสุข ที่ผู้บรรลุแล้วเท่านั้น จึงจะประจักษ์ได้ด้วยตนเอง

ลักษณะของนิพพาน
นิพพานมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. อัจจุตะ สภาวะที่ไม่ตาย คือนิพพานเป็นสภาวะมี่ไม่มีการเกิดและไม่มีการตาย เป็นสภาวะธรรมที่ ไม่ตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งการเวลา หรือที่เรียกว่า กาลวิมุตติ
2. อัจจันตะ สภาวะที่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีการแปรผันเป็นอื่น คือ ผู้บรรลุนิพพานแล้ว จะกลับเสื่อม จากนิพพานเป็นไม่มี
3. อสังขตะ สภาวะที่ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย4 คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร นิพพานไม่ใช่จิต เจตสิก หรือรูปที่เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง เป็นสภาวะที่พ้นจากขันธ์ 5 คือ ขันธวิมุตติ
4. อนุตระ สภาวะที่ประเสริฐสูงสุด ไม่มีสิ่งใดยิ่งกว่า เป็นโลกุตรธรรม
สถานะของนิพพาน

แม้ชาวพุทธทั่วไปจะมีความเชื่อว่า นิพพานมีอยู่จริง สามารถบรรลุได้จริง แต่ก็มักจะคำถามเสมอ ว่า "นิพพานอยู่ไหน" นั่นเพราะการสอนธรรมะแบบ บุคลาธิษฐาน ทำให้คิดกันว่า นิพพานเป็นอีกโลกหนึ่ง ที่มิใช่โลก มนุษย์ และอยู่สูงกว่าโลกและสวรรค์ เช่นการสอนเรื่องวิบากแห่งกุศลกรรม การได้มาซึ่งมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบัติ การสอนว่ามนุษย์เป็นโลกๆหนึ่ง สวรรค์เป็นโลกแห่งความสุขอยู่เหนือโลกมนุษย์ และมีถึง 6 ชั้น การสอนเช่นนี้ทำให้เชื่อกันว่า นิพพานอยู่เหนือโลกมนุษย์และสวรรค์ขึ้นไปอีก จนนิพพานกลายเป็นสิ่งที่ไม่อาจจะ บรรลุได้ ไปถึงได้ในชาตินี้ เมื่อทำบุญก็ปรารถนานิพพานเพราะเชื่อว่าเป็นดินแดนบรมสุข อธิษฐานเพียงขอให้นิพพาน ในกาลเบื้องหน้า
นิพพานจึงเป็นสิ่งไกลเกินฝัน คำสอนเรื่องนิพพานกลายเป็นเป็นสิ่งสูงส่ง เข้าใจยาก บุคคลทั่วไปไม่ คู่ควร เรื่องของนิพพานแทบจะหมดความหมาย และสิ้นหวัง กลายเป็นเรื่องเลื่อนลอยเพ้อฝัน เพราะคำสอนผิดๆ นั่นเอง
ที่ทำให้เกิดความเข้าใจเช่นนั้นในประดาชาวพุทธทั้งหลาย
คำสอนเรื่องนิพพานไม่ใช่คำสอนที่สูงส่งกว่าที่คนธรรมดาจะเข้าใจ นิพพานไม่ใช่สภาวะที่คนทั่วไป ไม่อาจจะเข้าถึง นิพานมิใช่เมืองแก้ว มิใช่มหานฤพาน แต่อย่างใดเลย นิพพานเป็นคำสอนสำหรับคนธรรมดาสามัญ ทั่วๆไป เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงสอนไว้เพื่อเป็นการแก้ไขปํญหาของมนุษย์ และสังคม ดังที่พระองค์ได้ ตรัสถึงเรื่อง ปรมัตถธรรม4 จิต เจตสิก รูป นิพพาน ทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งสิ้น กล่าวคือ จิตและ เจตสิกเป็นนามธรรม รูปเป็นรูปธรรม ส่วนนิพพานนั้นเป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม
ในสังคมเราทุกวันนี้ หากมนุษย์ส่วนใหญ่สามารถละกิเลสได้แม้เพียงแค่บางส่วน สังคมก็จะน่าอยู่ ขึ้นอีกไม่น้อยเลย ถ้าหากมนุษย์สามารถเอาชนะกิเลสของตนเองได้หมด ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส สังคมก็จะยิ่งน่าอยู่ ถึงขนานที่เรียกได้ว่าเป็น สังคมอริยะเลยทีเดียว คือเป็นสังคมอุดมคติของพุทธศาสนาแท้ๆ ดังคำสอนของพระพุทธองค์ ที่ว่า
" นิพพานอันผู้บรรลุเห็นได้เอง ไม่ขึ้นแก่กาล เรียกมาให้ดูได้ ควรน้อมเข้ามาไว้ในตน อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน "
" นิพพาน คือความสิ้นราคะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ "
" นิพพาน คือความสิ้นตัณหา "
" ยังอิงอยู่จึงมีการสั่นไหว เมื่อไม่อิงแล้วก็ไม่มีการสั่นไหว เมื่อไม่มีการสั่นไหวก็นิ่งสนิท เมื่อนิ่งสนิท ก็ไม่มีการโอนเอน เมื่อไม่มีการโอนเอนก็ไม่มีการมาการไป เมื่อไม่มีการมาการไปก็ไม่มีการจุติและอุบัติ เมื่อไม่มี การจุติและอุบัติก็ไม่มีภพนี้ ภพหน้า ไม่มีในระหว่างทั้งสองภพ นั่นแหละคือที่สุดแห่งทุกข์ "
ประเภทของนิพพาน

ประเภทของนิพพานมีการแสดงไว้หลายนัยด้วยกัน คือ
นัยที่1
นิพพานโดยสภาวะลักษณะ
คือ สันติลักษณะ มีความสงบกิเลสและขันธ์5 เป็นหลัก ซึ่งพระอรหันต์ทั้งหลายเมื่อเข้าสู่นิพพานแล้ว ย่อมพบกับสันติสุขด้วนกันทั้งสิ้น คือ ความสิ้นไปแห่งตัณหา พ้นจากความเกิดและความตาย
นัยที่2
นิพพานโดยปริยาย
คือการดับกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ได้เป็นครั้งเป็นคราว หรือดับได้เพียงบางส่วน
นิพพานโดยนิปปริยาย
คือการดับกิเลสได้ โดยประการทั้งปวงอย่างเด็ดขาด
นัยที่3
สอุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่ และได้ทำลายกิเลสหมดสิ้นไปแล้ว ความทุกข์อันเกิดจาก อำนาจแห่งกิเลสนั้น จึงไม่เกิดกับท่าน เว้นเสียแต่ว่า ความทุกข์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของชีวิต คือทุกข์เพราะการ บริหารขันธ์5 เข่นปวดปัสสาวะ ปวดอุจาระ หรือทุกข์เพราะร้อนหนาว และเจ็บป่วยโดยทั่วไป ตลอดจนชราภาพ
อนุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของผู้ที่ไม่มีขันธ์หรือ อุปาทิ เหลืออยู่ คือนิพพานของพระอรหันต์ที่สิ้นชีวิตไปแล้ว
นัยที่4
อนิมิตตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีนิมิตเครื่องหมาย ไม่มีรูปร่าง ไม่มีสัญฐานและสีสรรวรรณะใดๆ ซึ่งหมายถึง ผู้เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนิจลักษณะ คือ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นของไม่เที่ยงแท้
อปณิหิตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีอารมณ์ อันเป็นที่น่าปรารถนา และไม่มีตัณหาอันเป็นตัวให้เกิด ความต้องการในอารมณ์นั้น หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง ทุกข์ลักษณะ คือ พิจารณาเห็นว่าสังขาร เป็นสิ่งที่ทนได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสื่อมไป
สุญญตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นสูญสิ้นจากกิเลสและขันธ์5 ไม่มีอะไรเหลืออยู่ให้เห็นเป็นสิ่งผูกมัดกังวล หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนัตตลักษณะ คือพิจารณาเห็นว่าสังขารเป็นสิ่งไม่มีตัวตน ไม่มีส่วนใดที่ เป็นเรา หรือเป็นของเรา เพราะไม่อยู่ในอำนาจที่จะบังคับบัญชาได้

ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน

ภาวะทางปัญญา ผู้บรรลุนิพพาน มองเห็นทั้งหลายตามที่มันเป็น เห็นตามความจริง ตั้งแต่การ รับรู้อารมณ์ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง และมีสติ ไม่หวั่นไหว หรือถูกชักจูงไปตามความชอบใจไม่ชอบใจ สามารถตามดูรู้ เห็นอารมณ์นั้นๆ ไปตามสภาวะของมันตั้งแต่ตันจนตลอดสาย ไม่ถูกความติดพัน ความข้องขัดขุ่นมัว หรือความกระทบ กระแทกอันเนื่องมาจากอารมณ์นั้นๆ มาฉุดรั้งหรือสะดดุเอาไว้ให้เขวไปเสียก่อน
ที่ลึกลงไปอีกคือ ปัญญาที่รู้เท่าทันสังขาร รู้สามัญลักษณะที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้เท่าทัน สมมุติบัญญัติ ไม่ถูกหลอกลวงให้หลงไปตามรูปลักษณะภายนอก ของสิ่งทั้งหลาย และยอมรับความจริงทุกด้าน มิใช่ติด อยู่เพี่ยงแง่ใดแง่หนึ่ง
ภาวะทางจิต ผู้บรรลุนิพพาน จะมีความเป็นอิสระหรือที่เรียกว่า หลุดพ้น อันมีผลสืบเนื่องมา จากปัญญา คือเห็นตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสังขารแล้ว จิตจึงหลุดพ้นจากอำนาจการครอบงำของกิเลส
เมื่อไม่ถูกกิเลสครอบงำ ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ที่เย้ายวน ยั่วยุ อารมณ์ไม่เป็นที่ตั้งของราคะ โลภะ โมสะ โมหะ นอกจากไม่มีเหตุที่จะทำให้ความชั่วหรือเสียหายในทางที่ร้ายแรงแล้ว ยังมีหลักประกันความสุจริต ในการงานด้วย เป็นผู้ที่มีสติควบคุมตัวเองได้ เป็นผู้ที่ฝึกฝนมาดีแล้ว ผู้ชนะตนเองได้ ถือว่าเป็นที่สุดแห่งชัยชนะทั้งปวง
ภาวะทางความประพฤติและการดำเนินชีวิต ผู้บรรลุนิพพานนั้นจะมีพฤติกรรมหรือดำเนิน ชีวิตในลักษณะที่จะไม่ถูกชักจูงได้โดยอวิชชา ตัณหา และอุปาทาน คือไม่ทำการด้วยความยึดมั่นในความดีความชั่ว ที่เกี่ยวกับตัวเองและของตัวเอง หรือผลประโยชน์ของตัวเอง ไม่มีความปรารถนา เพื่อตัวตนแฝงอยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูป หยาบหรือละเอียด คือทำไปตามวัตถุประสงค์ของกิจการนั้นๆ ตามเหตุผลของเรื่องนั้นๆ ตามที่มันควรจะเป็นของมัน ล้วนๆ เป็นการกระทำถึงขั้นที่ลอยพ้นเหนือกรรมดีขึ้นไปอีก ส่วนกรรมชั่วนั้นเป็นอันไม่ต้องกล่าวถึง เพราะหมดสิ้น โลภะ โทสะ โมหะ ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ทำความชั่วเสียแล้ว.
(คัดมาจากอาจารย์กูเกิ้ล)
:b11:

คุณอโศกะ. ท่านคิดว่าท่านบรรลุนิพพานแล้วหรือยังครับ

s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 20:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:
แล้วสิ่งที่เจอจะเชื่อได้เหรอว่านั้นคือนิพพาน.

:b39:
นิพพาน
นิพพาน เป็นสภาวะของจิตที่ปราศจากกิเลส อันเป็นเครื่องมือร้อยรัดจิตใจให้ห่วง กังวล วุ่นวาย สับสน รุ่มร้อน เมื่อจิตใจปราศจากกิเลสเสียแล้วก็ไม่วุ่นวาย สับสน หรือรุ่มร้อนใดๆอีก จิตก็สงบ ร่มเย็น และเป็นสุข ซึ่งเป็น ความสุขอันสูงสุด เป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม ตามหลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา ความสุขแบบนิพพานนั้นไม่ใช่ความสุขปกติธรรมดาทั่วไปอันเกิดจากการ ได้รับอารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าพอใจ โดยผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ ที่เรียกว่า สุขเวทนา แต่จะเป็นความสุขที่อยู่นอกเหนือการรับรู้ทางประสาท สัมผัสเหล่านั้น เป็นสภาวะแห่งความสุข ที่ผู้บรรลุแล้วเท่านั้น จึงจะประจักษ์ได้ด้วยตนเอง

ลักษณะของนิพพาน
นิพพานมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. อัจจุตะ สภาวะที่ไม่ตาย คือนิพพานเป็นสภาวะมี่ไม่มีการเกิดและไม่มีการตาย เป็นสภาวะธรรมที่ ไม่ตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งการเวลา หรือที่เรียกว่า กาลวิมุตติ
2. อัจจันตะ สภาวะที่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีการแปรผันเป็นอื่น คือ ผู้บรรลุนิพพานแล้ว จะกลับเสื่อม จากนิพพานเป็นไม่มี
3. อสังขตะ สภาวะที่ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย4 คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร นิพพานไม่ใช่จิต เจตสิก หรือรูปที่เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง เป็นสภาวะที่พ้นจากขันธ์ 5 คือ ขันธวิมุตติ
4. อนุตระ สภาวะที่ประเสริฐสูงสุด ไม่มีสิ่งใดยิ่งกว่า เป็นโลกุตรธรรม
สถานะของนิพพาน

แม้ชาวพุทธทั่วไปจะมีความเชื่อว่า นิพพานมีอยู่จริง สามารถบรรลุได้จริง แต่ก็มักจะคำถามเสมอ ว่า "นิพพานอยู่ไหน" นั่นเพราะการสอนธรรมะแบบ บุคลาธิษฐาน ทำให้คิดกันว่า นิพพานเป็นอีกโลกหนึ่ง ที่มิใช่โลก มนุษย์ และอยู่สูงกว่าโลกและสวรรค์ เช่นการสอนเรื่องวิบากแห่งกุศลกรรม การได้มาซึ่งมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบัติ การสอนว่ามนุษย์เป็นโลกๆหนึ่ง สวรรค์เป็นโลกแห่งความสุขอยู่เหนือโลกมนุษย์ และมีถึง 6 ชั้น การสอนเช่นนี้ทำให้เชื่อกันว่า นิพพานอยู่เหนือโลกมนุษย์และสวรรค์ขึ้นไปอีก จนนิพพานกลายเป็นสิ่งที่ไม่อาจจะ บรรลุได้ ไปถึงได้ในชาตินี้ เมื่อทำบุญก็ปรารถนานิพพานเพราะเชื่อว่าเป็นดินแดนบรมสุข อธิษฐานเพียงขอให้นิพพาน ในกาลเบื้องหน้า
นิพพานจึงเป็นสิ่งไกลเกินฝัน คำสอนเรื่องนิพพานกลายเป็นเป็นสิ่งสูงส่ง เข้าใจยาก บุคคลทั่วไปไม่ คู่ควร เรื่องของนิพพานแทบจะหมดความหมาย และสิ้นหวัง กลายเป็นเรื่องเลื่อนลอยเพ้อฝัน เพราะคำสอนผิดๆ นั่นเอง
ที่ทำให้เกิดความเข้าใจเช่นนั้นในประดาชาวพุทธทั้งหลาย
คำสอนเรื่องนิพพานไม่ใช่คำสอนที่สูงส่งกว่าที่คนธรรมดาจะเข้าใจ นิพพานไม่ใช่สภาวะที่คนทั่วไป ไม่อาจจะเข้าถึง นิพานมิใช่เมืองแก้ว มิใช่มหานฤพาน แต่อย่างใดเลย นิพพานเป็นคำสอนสำหรับคนธรรมดาสามัญ ทั่วๆไป เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงสอนไว้เพื่อเป็นการแก้ไขปํญหาของมนุษย์ และสังคม ดังที่พระองค์ได้ ตรัสถึงเรื่อง ปรมัตถธรรม4 จิต เจตสิก รูป นิพพาน ทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งสิ้น กล่าวคือ จิตและ เจตสิกเป็นนามธรรม รูปเป็นรูปธรรม ส่วนนิพพานนั้นเป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม
ในสังคมเราทุกวันนี้ หากมนุษย์ส่วนใหญ่สามารถละกิเลสได้แม้เพียงแค่บางส่วน สังคมก็จะน่าอยู่ ขึ้นอีกไม่น้อยเลย ถ้าหากมนุษย์สามารถเอาชนะกิเลสของตนเองได้หมด ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส สังคมก็จะยิ่งน่าอยู่ ถึงขนานที่เรียกได้ว่าเป็น สังคมอริยะเลยทีเดียว คือเป็นสังคมอุดมคติของพุทธศาสนาแท้ๆ ดังคำสอนของพระพุทธองค์ ที่ว่า
" นิพพานอันผู้บรรลุเห็นได้เอง ไม่ขึ้นแก่กาล เรียกมาให้ดูได้ ควรน้อมเข้ามาไว้ในตน อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน "
" นิพพาน คือความสิ้นราคะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ "
" นิพพาน คือความสิ้นตัณหา "
" ยังอิงอยู่จึงมีการสั่นไหว เมื่อไม่อิงแล้วก็ไม่มีการสั่นไหว เมื่อไม่มีการสั่นไหวก็นิ่งสนิท เมื่อนิ่งสนิท ก็ไม่มีการโอนเอน เมื่อไม่มีการโอนเอนก็ไม่มีการมาการไป เมื่อไม่มีการมาการไปก็ไม่มีการจุติและอุบัติ เมื่อไม่มี การจุติและอุบัติก็ไม่มีภพนี้ ภพหน้า ไม่มีในระหว่างทั้งสองภพ นั่นแหละคือที่สุดแห่งทุกข์ "
ประเภทของนิพพาน

ประเภทของนิพพานมีการแสดงไว้หลายนัยด้วยกัน คือ
นัยที่1
นิพพานโดยสภาวะลักษณะ
คือ สันติลักษณะ มีความสงบกิเลสและขันธ์5 เป็นหลัก ซึ่งพระอรหันต์ทั้งหลายเมื่อเข้าสู่นิพพานแล้ว ย่อมพบกับสันติสุขด้วนกันทั้งสิ้น คือ ความสิ้นไปแห่งตัณหา พ้นจากความเกิดและความตาย
นัยที่2
นิพพานโดยปริยาย
คือการดับกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ได้เป็นครั้งเป็นคราว หรือดับได้เพียงบางส่วน
นิพพานโดยนิปปริยาย
คือการดับกิเลสได้ โดยประการทั้งปวงอย่างเด็ดขาด
นัยที่3
สอุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่ และได้ทำลายกิเลสหมดสิ้นไปแล้ว ความทุกข์อันเกิดจาก อำนาจแห่งกิเลสนั้น จึงไม่เกิดกับท่าน เว้นเสียแต่ว่า ความทุกข์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของชีวิต คือทุกข์เพราะการ บริหารขันธ์5 เข่นปวดปัสสาวะ ปวดอุจาระ หรือทุกข์เพราะร้อนหนาว และเจ็บป่วยโดยทั่วไป ตลอดจนชราภาพ
อนุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของผู้ที่ไม่มีขันธ์หรือ อุปาทิ เหลืออยู่ คือนิพพานของพระอรหันต์ที่สิ้นชีวิตไปแล้ว
นัยที่4
อนิมิตตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีนิมิตเครื่องหมาย ไม่มีรูปร่าง ไม่มีสัญฐานและสีสรรวรรณะใดๆ ซึ่งหมายถึง ผู้เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนิจลักษณะ คือ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นของไม่เที่ยงแท้
อปณิหิตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีอารมณ์ อันเป็นที่น่าปรารถนา และไม่มีตัณหาอันเป็นตัวให้เกิด ความต้องการในอารมณ์นั้น หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง ทุกข์ลักษณะ คือ พิจารณาเห็นว่าสังขาร เป็นสิ่งที่ทนได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสื่อมไป
สุญญตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นสูญสิ้นจากกิเลสและขันธ์5 ไม่มีอะไรเหลืออยู่ให้เห็นเป็นสิ่งผูกมัดกังวล หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนัตตลักษณะ คือพิจารณาเห็นว่าสังขารเป็นสิ่งไม่มีตัวตน ไม่มีส่วนใดที่ เป็นเรา หรือเป็นของเรา เพราะไม่อยู่ในอำนาจที่จะบังคับบัญชาได้

ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน

ภาวะทางปัญญา ผู้บรรลุนิพพาน มองเห็นทั้งหลายตามที่มันเป็น เห็นตามความจริง ตั้งแต่การ รับรู้อารมณ์ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง และมีสติ ไม่หวั่นไหว หรือถูกชักจูงไปตามความชอบใจไม่ชอบใจ สามารถตามดูรู้ เห็นอารมณ์นั้นๆ ไปตามสภาวะของมันตั้งแต่ตันจนตลอดสาย ไม่ถูกความติดพัน ความข้องขัดขุ่นมัว หรือความกระทบ กระแทกอันเนื่องมาจากอารมณ์นั้นๆ มาฉุดรั้งหรือสะดดุเอาไว้ให้เขวไปเสียก่อน
ที่ลึกลงไปอีกคือ ปัญญาที่รู้เท่าทันสังขาร รู้สามัญลักษณะที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้เท่าทัน สมมุติบัญญัติ ไม่ถูกหลอกลวงให้หลงไปตามรูปลักษณะภายนอก ของสิ่งทั้งหลาย และยอมรับความจริงทุกด้าน มิใช่ติด อยู่เพี่ยงแง่ใดแง่หนึ่ง
ภาวะทางจิต ผู้บรรลุนิพพาน จะมีความเป็นอิสระหรือที่เรียกว่า หลุดพ้น อันมีผลสืบเนื่องมา จากปัญญา คือเห็นตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสังขารแล้ว จิตจึงหลุดพ้นจากอำนาจการครอบงำของกิเลส
เมื่อไม่ถูกกิเลสครอบงำ ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ที่เย้ายวน ยั่วยุ อารมณ์ไม่เป็นที่ตั้งของราคะ โลภะ โมสะ โมหะ นอกจากไม่มีเหตุที่จะทำให้ความชั่วหรือเสียหายในทางที่ร้ายแรงแล้ว ยังมีหลักประกันความสุจริต ในการงานด้วย เป็นผู้ที่มีสติควบคุมตัวเองได้ เป็นผู้ที่ฝึกฝนมาดีแล้ว ผู้ชนะตนเองได้ ถือว่าเป็นที่สุดแห่งชัยชนะทั้งปวง
ภาวะทางความประพฤติและการดำเนินชีวิต ผู้บรรลุนิพพานนั้นจะมีพฤติกรรมหรือดำเนิน ชีวิตในลักษณะที่จะไม่ถูกชักจูงได้โดยอวิชชา ตัณหา และอุปาทาน คือไม่ทำการด้วยความยึดมั่นในความดีความชั่ว ที่เกี่ยวกับตัวเองและของตัวเอง หรือผลประโยชน์ของตัวเอง ไม่มีความปรารถนา เพื่อตัวตนแฝงอยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูป หยาบหรือละเอียด คือทำไปตามวัตถุประสงค์ของกิจการนั้นๆ ตามเหตุผลของเรื่องนั้นๆ ตามที่มันควรจะเป็นของมัน ล้วนๆ เป็นการกระทำถึงขั้นที่ลอยพ้นเหนือกรรมดีขึ้นไปอีก ส่วนกรรมชั่วนั้นเป็นอันไม่ต้องกล่าวถึง เพราะหมดสิ้น โลภะ โทสะ โมหะ ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ทำความชั่วเสียแล้ว.
(คัดมาจากอาจารย์กูเกิ้ล)
:b11:

คุณอโศกะ. ท่านคิดว่าท่านบรรลุนิพพานแล้วหรือยังครับ

s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:
ต้องอาจหาญร่าเริงซิครับ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 117 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 63 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร