วันเวลาปัจจุบัน 19 เม.ย. 2024, 15:09  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 42 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 07:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


idea เขียน:
:b8: ขอบคุณค่ะ พี่ฏีกาน้อย
แต่ไม่แน่ชัดว่าควรทำอย่างไรดี :b9:
:b46: :b46: :b46: :b36: :b46: :b46: :b46:

เมื่อคืนบ่นเยอะไปหน่อย....พูดถึงพุท-โธ
นอนเลยฝันถึงหลวงตามหาบัว :b8:
ไปฟังธรรมที่ศาลาใหญ่กว้าง คนมามากมาย
พอเทศน์จบสุดท้ายท่านบอกให้ทุกคนเตรียมตัวตาย!!!!
ตายในที่นี้....หมายถึงตายจริงๆนะ....ตามคิว :b5: :b5:
ไอ้เราก็คิด ตายก็ตาย ไม่วันนี้วันหนึ่งมันก็ตาย จะกลัวอะไร พิจารณาร่างกายนี้เป็นของเสื่อมสลายเป็นธรรมดา
ไม่มีห่วงอะไร.....ซ้ำยังไปแนะนำคนที่เขาดูไม่อยากตาย
ต่างคนก็แยกย้าย เตรียมตัว.....ไอเดียไม่เตรียมตัวอะไร เพราะว่าใจมันยอม...รอคิวเรียก :b14:
ก็เข้าล้างศาลา และด้านข้างศาลาจะมีร่องพอวางศพได้1ศพ...ศพก็เรียงเป็นแถว แนวดิ่งลง
เราอยู่ข้างบนก็ตักน้ำราดจากด้านบนลงไป...ก็พิจารณาไป
:b40: ตอนนั้นรู้สึกว่าใกล้ถึงคิว ต้องรีบไป
เอาเข้าจริง ใจเสียวแปร๊บขึ้นมา :b34: ...คือสภาวะ มันแวบขึ้นมาชัดเจนมาก
ความรู้สึกที่เคยเจอจากปฏิบัติธรรม ความรู้สึกเหมือนจะตาย แบบที่มันบีบรวมกันตรงใจนี้แล้วเหมือน
ความรู้สึกจะหายไปหมด
มันรู้สึกเหมือนอยากจะถอย :b2: มันคิดขึ้นมาว่ายังมีเรื่องต้องทำ ยังไม่ได้ทำอะไรเลย :b55: :b54: :b55:
ตื่นขึ้นมาจับพุทโธ ทันทีเลยค่ะ :b9: :b9:



ความตาย ไม่มีอยู่จริงหรอก

ที่กลัวตาย เพราะยังมีห่วง

ผู้กระทำความเพียร ต้องเจอสภาวะความตายนี้ เหมือนกันหมด
เพียงแต่จะหลงสภาพธรรมหรือเปล่า

พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงละเอียดยิ่งนัก
เพราะท้ายสุด ทรงกล่าวถึงการทำความเพียรไว้ว่า กระทำเพื่อ อนุปาทาปรินิพพาน (การไม่เกิด)

โสดาบัน สิกาทาคา อนาคามี ล้วนเป็นผู้ที่ยังต้องเกิด
ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตรัสไว้ว่า ขึ้นชื่อว่า การเกิด ล้วนเป็นทุกข์

การเจริญสติปัฏฐาน 4 มีความสำคัญยิ่งนัก

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 09:56 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ม.ค. 2015, 21:55
โพสต์: 1067

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เราฝึกความรู้ทัน เอาแค่สักแต่ว่ารู้ แล้วก็ดับไป..

จะคิดดับดีเพราะเข้าไปดู และขยันระลึกรู้ ดูต่อดู รู้ต่อรู้ แล้วเค้าก็จะดับของเค้าไปเอง ไม่ใช่เราดับ เค้าดับไปตามความเป็นจริง แต่เราได้ตัวรู้เรียกว่าวิปัสนาญาณ...จะคิดดับๆ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 10:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
idea เขียน:
:b8: ขอบคุณค่ะ พี่ฏีกาน้อย
แต่ไม่แน่ชัดว่าควรทำอย่างไรดี :b9:
:b46: :b46: :b46: :b36: :b46: :b46: :b46:

เมื่อคืนบ่นเยอะไปหน่อย....พูดถึงพุท-โธ
นอนเลยฝันถึงหลวงตามหาบัว :b8:
ไปฟังธรรมที่ศาลาใหญ่กว้าง คนมามากมาย
พอเทศน์จบสุดท้ายท่านบอกให้ทุกคนเตรียมตัวตาย!!!!
ตายในที่นี้....หมายถึงตายจริงๆนะ....ตามคิว :b5: :b5:
ไอ้เราก็คิด ตายก็ตาย ไม่วันนี้วันหนึ่งมันก็ตาย จะกลัวอะไร พิจารณาร่างกายนี้เป็นของเสื่อมสลายเป็นธรรมดา
ไม่มีห่วงอะไร.....ซ้ำยังไปแนะนำคนที่เขาดูไม่อยากตาย
ต่างคนก็แยกย้าย เตรียมตัว.....ไอเดียไม่เตรียมตัวอะไร เพราะว่าใจมันยอม...รอคิวเรียก :b14:
ก็เข้าล้างศาลา และด้านข้างศาลาจะมีร่องพอวางศพได้1ศพ...ศพก็เรียงเป็นแถว แนวดิ่งลง
เราอยู่ข้างบนก็ตักน้ำราดจากด้านบนลงไป...ก็พิจารณาไป
:b40: ตอนนั้นรู้สึกว่าใกล้ถึงคิว ต้องรีบไป
เอาเข้าจริง ใจเสียวแปร๊บขึ้นมา :b34: ...คือสภาวะ มันแวบขึ้นมาชัดเจนมาก
ความรู้สึกที่เคยเจอจากปฏิบัติธรรม ความรู้สึกเหมือนจะตาย แบบที่มันบีบรวมกันตรงใจนี้แล้วเหมือน
ความรู้สึกจะหายไปหมด
มันรู้สึกเหมือนอยากจะถอย :b2: มันคิดขึ้นมาว่ายังมีเรื่องต้องทำ ยังไม่ได้ทำอะไรเลย :b55: :b54: :b55:
ตื่นขึ้นมาจับพุทโธ ทันทีเลยค่ะ :b9: :b9:


ความตาย ไม่มีอยู่จริงหรอก

ที่กลัวตาย เพราะยังมีห่วง

ผู้กระทำความเพียร ต้องเจอสภาวะความตายนี้ เหมือนกันหมด
เพียงแต่จะหลงสภาพธรรมหรือเปล่า

พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงละเอียดยิ่งนัก
เพราะท้ายสุด ทรงกล่าวถึงการทำความเพียรไว้ว่า กระทำเพื่อ อนุปาทาปรินิพพาน (การไม่เกิด)

โสดาบัน สิกาทาคา อนาคามี ล้วนเป็นผู้ที่ยังต้องเกิด
ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตรัสไว้ว่า ขึ้นชื่อว่า การเกิด ล้วนเป็นทุกข์

การเจริญสติปัฏฐาน 4 มีความสำคัญยิ่งนัก
ทำไม่ถึงกล่าวตู่พระศาสดาล่ะครับว่า ความตายไม่มีจริง พระองค์กล่าวว่าถ้า3สิ่งนี้เกิด แก่ ตายไม่มีบนโลกพระองค์ก็ไม่จำเป็นต้องอุบัติขึ้นมา

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 11:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
walaiporn เขียน:
idea เขียน:
:b8: ขอบคุณค่ะ พี่ฏีกาน้อย
แต่ไม่แน่ชัดว่าควรทำอย่างไรดี :b9:
:b46: :b46: :b46: :b36: :b46: :b46: :b46:

เมื่อคืนบ่นเยอะไปหน่อย....พูดถึงพุท-โธ
นอนเลยฝันถึงหลวงตามหาบัว
:b8:
ไปฟังธรรมที่ศาลาใหญ่กว้าง คนมามากมาย
พอเทศน์จบสุดท้ายท่านบอกให้ทุกคนเตรียมตัวตาย!!!!
ตายในที่นี้....หมายถึงตายจริงๆนะ....ตามคิว :b5: :b5:
ไอ้เราก็คิด ตายก็ตาย ไม่วันนี้วันหนึ่งมันก็ตาย จะกลัวอะไร พิจารณาร่างกายนี้เป็นของเสื่อมสลายเป็นธรรมดา
ไม่มีห่วงอะไร.....ซ้ำยังไปแนะนำคนที่เขาดูไม่อยากตาย
ต่างคนก็แยกย้าย เตรียมตัว.....ไอเดียไม่เตรียมตัวอะไร เพราะว่าใจมันยอม...รอคิวเรียก :b14:
ก็เข้าล้างศาลา และด้านข้างศาลาจะมีร่องพอวางศพได้1ศพ...ศพก็เรียงเป็นแถว แนวดิ่งลง
เราอยู่ข้างบนก็ตักน้ำราดจากด้านบนลงไป...ก็พิจารณาไป
:b40: ตอนนั้นรู้สึกว่าใกล้ถึงคิว ต้องรีบไป
เอาเข้าจริง ใจเสียวแปร๊บขึ้นมา :b34: ...คือสภาวะ มันแวบขึ้นมาชัดเจนมาก
ความรู้สึกที่เคยเจอจากปฏิบัติธรรม ความรู้สึกเหมือนจะตาย แบบที่มันบีบรวมกันตรงใจนี้แล้วเหมือน
ความรู้สึกจะหายไปหมด
มันรู้สึกเหมือนอยากจะถอย :b2: มันคิดขึ้นมาว่ายังมีเรื่องต้องทำ ยังไม่ได้ทำอะไรเลย :b55: :b54: :b55:
ตื่นขึ้นมาจับพุทโธ ทันทีเลยค่ะ :b9: :b9:


ความตาย ไม่มีอยู่จริงหรอก

ที่กลัวตาย เพราะยังมีห่วง

ผู้กระทำความเพียร ต้องเจอสภาวะความตายนี้ เหมือนกันหมด
เพียงแต่จะหลงสภาพธรรมหรือเปล่า


พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงละเอียดยิ่งนัก
เพราะท้ายสุด ทรงกล่าวถึงการทำความเพียรไว้ว่า กระทำเพื่อ อนุปาทาปรินิพพาน (การไม่เกิด)

โสดาบัน สิกาทาคา อนาคามี ล้วนเป็นผู้ที่ยังต้องเกิด
ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตรัสไว้ว่า ขึ้นชื่อว่า การเกิด ล้วนเป็นทุกข์

การเจริญสติปัฏฐาน 4 มีความสำคัญยิ่งนัก
ทำไม่ถึงกล่าวตู่พระศาสดาล่ะครับว่า ความตายไม่มีจริง พระองค์กล่าวว่าถ้า3สิ่งนี้เกิด แก่ ตายไม่มีบนโลกพระองค์ก็ไม่จำเป็นต้องอุบัติขึ้นมา








แล้วใครตายล่ะ ตาทู่


วชิราสูตรที่ ๑๐
[๕๕๒] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของ
ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ฯ
ครั้งนั้น เวลาเช้า วชิราภิกษุณีนุ่งห่มแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไป
บิณฑบาตยังพระนครสาวัตถี เที่ยวบิณฑบาตไปในพระนครสาวัตถีแล้ว เวลา
ปัจฉาภัต กลับจากบิณฑบาตแล้วเข้าไปยังป่าอันธวันเพื่อพักกลางวัน ครั้นถึงป่า
อันธวันแล้ว จึงนั่งพักกลางวันที่โคนไม้ต้นหนึ่ง ฯ
[๕๕๓] ลำดับนั้น มารผู้มีบาปใคร่จะให้วชิราภิกษุณีบังเกิดความกลัว
ความหวาดเสียว ความขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้เคลื่อนจากสมาธิ จึงเข้า
ไปหาวชิราภิกษุณีถึงที่นั่งพัก ครั้นแล้วได้กล่าวกะวชิราภิกษุณีด้วยคาถาว่า
สัตว์นี้ ใครสร้าง ผู้สร้างสัตว์อยู่ที่ไหน สัตว์บังเกิดใน
ที่ไหน สัตว์ดับไปในที่ไหน ฯ
[๕๕๔] ลำดับนั้น วชิราภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่ใครหนอกล่าวคาถา
จะเป็นมนุษย์หรืออมนุษย์ ฯ
ทันใดนั้น วชิราภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่คือมารผู้มีบาปใคร่จะให้เรา
บังเกิดความกลัว ความหวาดเสียว ความขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้เคลื่อน
จากสมาธิ จึงกล่าวคาถา ฯ
ครั้นวชิราภิกษุณีทราบว่า นี่คือมารผู้มีบาป แล้วจึงได้กล่าวกะมารผู้มีบาป
ด้วยคาถาว่า
ดูกรมาร เพราะเหตุไรหนอ ความเห็นของท่านจึงหวนกลับ
มาว่าสัตว์ ฯ
ในกองสังขารล้วนนี้ ย่อมไม่ได้นามว่าสัตว์ ฯ
เหมือนอย่างว่า เพราะคุมส่วนทั้งหลายเข้า เสียงว่ารถย่อมมี
ฉันใด ฯ
เมื่อขันธ์ทั้งหลายยังมีอยู่ การสมมติว่าสัตว์ย่อมมี ฉันนั้น ฯ
ความจริงทุกข์เท่านั้นย่อมเกิด ทุกข์ย่อมตั้งอยู่และเสื่อมสิ้น
ไป นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ ไม่มี
อะไรดับ ฯ
ลำดับนั้น มารผู้มีบาปเป็นทุกข์ เสียใจว่า วชิราภิกษุณีรู้จักเรา ดังนี้
จึงได้อันตรธานไปในที่นั้นเอง ฯ


http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v ... agebreak=0

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 11:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงละเอียดยิ่งนัก
เพราะท้ายสุด ทรงกล่าวถึงการทำความเพียรไว้ว่า กระทำเพื่อ อนุปาทาปรินิพพาน (การไม่เกิด)

โสดาบัน สิกาทาคา อนาคามี ล้วนเป็นผู้ที่ยังต้องเกิด
ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตรัสไว้ว่า ขึ้นชื่อว่า การเกิด ล้วนเป็นทุกข์



แรกเริ่ม การทำความเพียร จะมีศึกษาพระธรรมคำสอนบ้าง ไม่ได้ศึกษาบ้าง ก้ตาม
เหตุปัจจัยจาก อวิชชา ที่มีอยู่ ย่อมตกอยู่ใต้อำนาจของตัณหา ความอยากมี อยากเป็นอะไรๆ
ตามคำเรียก ที่มีปรากฏอยู่ในพระธรรมคำสอน(เหตุปัจจัยจาก อวิชชาที่มีอยู่)

อาจมีหลงไปบ้าง เพราะตัณหาเป็นเหตุ
เมื่อได้ศึกษาพระธรรมคำสอน ที่มีรายยละเอียดมากขึ้น จึงได้รู้ว่า
สิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงเน้นสอน การปฏิบัติเพื่อ อนุปาทาปรินิพพาน คือ การไม่เกิด

โสดาบัน สกิทาคา อนาคามี ล้วนยังเป็นผู้ที่ยังมีเหตุให้ต้องเกิด
แล้วจะไปเอาทำไมกันกับสิ่งที่คิดว่ามี คิดว่าเป็น
ในเมื่อสิ่งที่คิดว่ามี คิดว่าเป็น ล้วนยังต้องเกิด
ผู้ที่เห็นทุกข์ โทษ ภัย ของการเกิด ย่อมละตัณหา ความอยากมี อยากเป็นลงไปได้



ผู้ที่ยังน้อมเข้าสู่ สิ่งที่คิดว่ามี คิดว่าเป็น ล้วนเกิดจากอวิชชาที่มีอยู่

เมื่อผัสสะเกิด สิ่งที่เกิดขึ้น ทำให้เกิดความรู้สึกนึกคิด
เวทนาเกิด ก็ยังไม่รู้ เพราะถูกโมหะครอบงำ ตัณหาที่เกิดขึ้นจึงมีกำลัง
จึงถูกครอบงำ ให้หลงสร้างเหตุแห่งทุกข์(การเกิด) ให้มีเกิดขึ้นใหม่เนืองๆ ก็ยังไม่รู้

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 12:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
bigtoo เขียน:
walaiporn เขียน:
idea เขียน:
:b8: ขอบคุณค่ะ พี่ฏีกาน้อย
แต่ไม่แน่ชัดว่าควรทำอย่างไรดี :b9:
:b46: :b46: :b46: :b36: :b46: :b46: :b46:

เมื่อคืนบ่นเยอะไปหน่อย....พูดถึงพุท-โธ
นอนเลยฝันถึงหลวงตามหาบัว
:b8:
ไปฟังธรรมที่ศาลาใหญ่กว้าง คนมามากมาย
พอเทศน์จบสุดท้ายท่านบอกให้ทุกคนเตรียมตัวตาย!!!!
ตายในที่นี้....หมายถึงตายจริงๆนะ....ตามคิว :b5: :b5:
ไอ้เราก็คิด ตายก็ตาย ไม่วันนี้วันหนึ่งมันก็ตาย จะกลัวอะไร พิจารณาร่างกายนี้เป็นของเสื่อมสลายเป็นธรรมดา
ไม่มีห่วงอะไร.....ซ้ำยังไปแนะนำคนที่เขาดูไม่อยากตาย
ต่างคนก็แยกย้าย เตรียมตัว.....ไอเดียไม่เตรียมตัวอะไร เพราะว่าใจมันยอม...รอคิวเรียก :b14:
ก็เข้าล้างศาลา และด้านข้างศาลาจะมีร่องพอวางศพได้1ศพ...ศพก็เรียงเป็นแถว แนวดิ่งลง
เราอยู่ข้างบนก็ตักน้ำราดจากด้านบนลงไป...ก็พิจารณาไป
:b40: ตอนนั้นรู้สึกว่าใกล้ถึงคิว ต้องรีบไป
เอาเข้าจริง ใจเสียวแปร๊บขึ้นมา :b34: ...คือสภาวะ มันแวบขึ้นมาชัดเจนมาก
ความรู้สึกที่เคยเจอจากปฏิบัติธรรม ความรู้สึกเหมือนจะตาย แบบที่มันบีบรวมกันตรงใจนี้แล้วเหมือน
ความรู้สึกจะหายไปหมด
มันรู้สึกเหมือนอยากจะถอย :b2: มันคิดขึ้นมาว่ายังมีเรื่องต้องทำ ยังไม่ได้ทำอะไรเลย :b55: :b54: :b55:
ตื่นขึ้นมาจับพุทโธ ทันทีเลยค่ะ :b9: :b9:


ความตาย ไม่มีอยู่จริงหรอก

ที่กลัวตาย เพราะยังมีห่วง

ผู้กระทำความเพียร ต้องเจอสภาวะความตายนี้ เหมือนกันหมด
เพียงแต่จะหลงสภาพธรรมหรือเปล่า


พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงละเอียดยิ่งนัก
เพราะท้ายสุด ทรงกล่าวถึงการทำความเพียรไว้ว่า กระทำเพื่อ อนุปาทาปรินิพพาน (การไม่เกิด)

โสดาบัน สิกาทาคา อนาคามี ล้วนเป็นผู้ที่ยังต้องเกิด
ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตรัสไว้ว่า ขึ้นชื่อว่า การเกิด ล้วนเป็นทุกข์

การเจริญสติปัฏฐาน 4 มีความสำคัญยิ่งนัก
ทำไม่ถึงกล่าวตู่พระศาสดาล่ะครับว่า ความตายไม่มีจริง พระองค์กล่าวว่าถ้า3สิ่งนี้เกิด แก่ ตายไม่มีบนโลกพระองค์ก็ไม่จำเป็นต้องอุบัติขึ้นมา








แล้วใครตายล่ะ ตาทู่


วชิราสูตรที่ ๑๐
[๕๕๒] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของ
ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ฯ
ครั้งนั้น เวลาเช้า วชิราภิกษุณีนุ่งห่มแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไป
บิณฑบาตยังพระนครสาวัตถี เที่ยวบิณฑบาตไปในพระนครสาวัตถีแล้ว เวลา
ปัจฉาภัต กลับจากบิณฑบาตแล้วเข้าไปยังป่าอันธวันเพื่อพักกลางวัน ครั้นถึงป่า
อันธวันแล้ว จึงนั่งพักกลางวันที่โคนไม้ต้นหนึ่ง ฯ
[๕๕๓] ลำดับนั้น มารผู้มีบาปใคร่จะให้วชิราภิกษุณีบังเกิดความกลัว
ความหวาดเสียว ความขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้เคลื่อนจากสมาธิ จึงเข้า
ไปหาวชิราภิกษุณีถึงที่นั่งพัก ครั้นแล้วได้กล่าวกะวชิราภิกษุณีด้วยคาถาว่า
สัตว์นี้ ใครสร้าง ผู้สร้างสัตว์อยู่ที่ไหน สัตว์บังเกิดใน
ที่ไหน สัตว์ดับไปในที่ไหน ฯ
[๕๕๔] ลำดับนั้น วชิราภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่ใครหนอกล่าวคาถา
จะเป็นมนุษย์หรืออมนุษย์ ฯ
ทันใดนั้น วชิราภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่คือมารผู้มีบาปใคร่จะให้เรา
บังเกิดความกลัว ความหวาดเสียว ความขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้เคลื่อน
จากสมาธิ จึงกล่าวคาถา ฯ
ครั้นวชิราภิกษุณีทราบว่า นี่คือมารผู้มีบาป แล้วจึงได้กล่าวกะมารผู้มีบาป
ด้วยคาถาว่า
ดูกรมาร เพราะเหตุไรหนอ ความเห็นของท่านจึงหวนกลับ
มาว่าสัตว์ ฯ
ในกองสังขารล้วนนี้ ย่อมไม่ได้นามว่าสัตว์ ฯ
เหมือนอย่างว่า เพราะคุมส่วนทั้งหลายเข้า เสียงว่ารถย่อมมี
ฉันใด ฯ
เมื่อขันธ์ทั้งหลายยังมีอยู่ การสมมติว่าสัตว์ย่อมมี ฉันนั้น ฯ
ความจริงทุกข์เท่านั้นย่อมเกิด ทุกข์ย่อมตั้งอยู่และเสื่อมสิ้น
ไป นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ ไม่มี
อะไรดับ ฯ
ลำดับนั้น มารผู้มีบาปเป็นทุกข์ เสียใจว่า วชิราภิกษุณีรู้จักเรา ดังนี้
จึงได้อันตรธานไปในที่นั้นเอง ฯ


http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v ... agebreak=0
ใครจะตายหรืออะไรจะตาย มันก็มีอยู่จริงใช่ว่าความตายจะไม่มีจริง

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 12:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว


อนุปาทาปรินิพพาน ไม่มีอยู่จริงในคำสอน
แต่ อนุปาทิเสสนิพพาน มีอยู่จริงในคำสอน

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 13:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ม.ค. 2015, 21:55
โพสต์: 1067

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ อย่างไร เล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือนิวรณ์ ๕ ภิกษุพิจารณา เห็นธรรมในธรรมคือนิวรณ์ ๕ อย่างไรเล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อกามฉันท์ มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า กามฉันท์มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่อ กามฉันท์ไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า กามฉันท์ไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ของเรา อนึ่ง กามฉันท์ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้น ด้วย กามฉันท์ที่เกิดขึ้นแล้วจะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย กามฉันท์ที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง เมื่อพยาบาทมีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า พยาบาทมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่อพยาบาทไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า พยาบาท ไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่ง พยาบาทที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย พยาบาทที่เกิดขึ้นแล้วจะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อม รู้ชัดประการนั้นด้วย พยาบาทที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อม รู้ชัดประการนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง เมื่อถีนมิทธะมีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า ถีนมิทธะมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่อถีนมิทธะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า ถีนมิทธะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่ง ถีนมิทธะที่ยังไม่เกิด จะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ถีนมิทธะที่เกิดขึ้นแล้ว จะ ละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ถีนมิทธะที่ละได้แล้ว จะไม่ เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง เมื่อ อุทธัจจกุกกุจจะมีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า อุทธัจจกุกกุจจะมีอยู่ ณ ภายใน จิตของเรา หรือเมื่ออุทธัจจกุกกุจจะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า อุทธัจจ- *กุกกุจจะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่ง อุทธัจจกุกกุจจะที่ยังไม่เกิดจะเกิด ขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อุทธัจจกุกกุจจะที่เกิดขึ้นแล้ว จะ ละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อุทธัจจกุกกุจจะที่ละได้แล้ว จะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง เมื่อ วิจิกิจฉามีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า วิจิกิจฉามีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่อวิจิกิจฉาไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า วิจิกิจฉาไม่มีอยู่ ณ ภายใน จิตของเรา อนึ่ง วิจิกิจฉาที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้น ด้วย วิจิกิจฉาที่เกิดขึ้นแล้ว จะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย วิจิกิจฉาที่ละได้แล้ว จะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง พิจารณาเห็น ธรรมในธรรมภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณา เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่าง หนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัย ระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือนิวรณ์ ๕ อยู่ ฯ จบนีวรณบรรพ
http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.p ... 257&Z=6764

เราต้องรู้ต้นเหตุจะเกิดก็รู้ว่าจะเกิด จะดับ ก็รู้ว่าจะดับ จะไม่เกิดด้วยอาการใดก็รู้ชัดว่าไม่เกิดด้วยอาการใด จะเกิดด้วยอาการใดก็รู้ชัดว่าเกิดด้วยอาการใด ก็ต้องรู้ทันทุกอย่าง..


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 13:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
อนุปาทาปรินิพพาน ไม่มีอยู่จริงในคำสอน
แต่ อนุปาทิเสสนิพพาน มีอยู่จริงในคำสอน





ปุริสคติสูตร
[๕๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงปุริสคติ ๗ ประการและอนุปาทา
ปรินิพพาน เธอทั้งหลายจงตั้งใจฟัง จงใส่ใจให้ดีเราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูล
รับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปุริสคติ
๗ ประการเป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ คือ ได้ความวาง
เฉยว่า ถ้ากรรมในอดีตไม่ได้มีแล้วไซร้ อัตตภาพในปัจจุบันก็ไม่พึงมีแก่เรา ถ้า
กรรมในปัจจุบันไม่มีไซร้ อัตตภาพในอนาคตก็จักไม่มีแก่เรา เบญจขันธ์ที่กำลัง
เป็นอยู่ ที่เป็นมาแล้ว เราย่อมละได้ เธอย่อมไม่กำหนัดในเบญจขันธ์อันเป็น
อดีต ไม่ข้องในเบญจขันธ์อันเป็นอนาคต ย่อมพิจารณาเห็นบทอันสงบระงับ
อย่างยิ่งซึ่งมีอยู่ ด้วยปัญญาอันชอบ ก็บทนั้นแล ภิกษุนั้นยังทำให้แจ้งไม่ได้โดย
อาการทั้งปวง อนุสัยคือมานะ อนุสัยคือภวราคะ อนุสัยคืออวิชชา เธอก็ยังละ
ไม่ได้โดยอาการทั้งปวง เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป ภิกษุนั้นย่อม
ปรินิพพานในระหว่าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติ
อย่างนี้ คือ ได้ความวางเฉยว่า ถ้ากรรมในอดีตไม่มีแล้วไซร้ ... เบญจขันธ์
ที่กำลังเป็นอยู่ ที่เป็นมาแล้ว เราย่อมละได้ เธอย่อมไม่กำหนัดในเบญจขันธ์
อันเป็นอดีต ... ย่อมพิจารณาเห็นบทอันสงบระงับอย่างยิ่งซึ่งมีอยู่ ด้วยปัญญาอัน
ชอบ ก็บทนั้นแล ภิกษุนั้นยังทำให้แจ้งไม่ได้โดยอาการทั้งปวง อนุสัยคือมานะ ...
อนุสัยคืออวิชชา เธอก็ยังละไม่ได้โดยอาการทั้งปวง เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์
๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพานในระหว่าง เปรียบเหมือนเมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็ก
ที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนออกแล้วดับไป ฉะนั้น ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ ฯลฯ เพราะ
โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพานในระหว่าง เปรียบเหมือนเมื่อ
นายช่างตีแผ่นเหล็กที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนลอยขึ้นไป ตกยังไม่ถึงพื้น
ก็ดับ ฉะนั้น ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ ฯลฯ เพราะ
โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพานในเมื่ออายุเลยกึ่ง เปรียบเหมือน
เมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็กที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนลอยขึ้นไป ตกถึงพื้น
แล้วก็ดับ ฉะนั้น ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ ฯลฯ เพราะ
โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพานโดยไม่ต้องใช้ความเพียรนัก
เปรียบเหมือนเมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็กที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนขึ้นไปแล้ว
ตกลงที่กองหญ้าหรือกองไม้เล็กๆ สะเก็ดนั้นพึงให้ไฟและควันเกิดขึ้นได้ที่หญ้า
หรือกองไม้เล็กๆ นั้น ครั้นให้เกิดไฟและควัน เผากองหญ้าหรือกองไม้เล็กๆ
นั้นให้หมดไป ไม่มีเชื้อแล้วก็ดับ ฉะนั้น ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ ฯลฯ เพราะ
โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพานโดยต้องใช้ความเพียรเรี่ยวแรง
เปรียบเหมือนเมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็กที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนลอยขึ้นไป
แล้วพึงตกลงที่กองหญ้าหรือกองไม้ย่อมๆ สะเก็ดนั้นพึงให้เกิดไฟและควันที่กอง
หญ้าหรือกองไม้ย่อมๆ นั้น ครั้นให้เกิดไฟและควันแล้ว เผากองหญ้าหรือกอง
ไม้ย่อมๆ นั้นให้หมดไป ไม่มีเชื้อแล้วดับ ฉะนั้น ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ ฯลฯ เพราะ
โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอเป็นผู้มีกระแสในเบื้องบนไปสู่อกนิฏฐภพ
เปรียบเหมือนนายช่างตีแผ่นเหล็กที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนลอยขึ้นไป
แล้วพึงตกลงที่กองหญ้าหรือกองไม้ใหญ่ๆ ครั้นให้เกิดไฟและควันแล้ว เผากอง
หญ้าหรือกองไม้ใหญ่ๆ นั้นให้หมดไป แล้วพึงลามไปไหม้ไม้กอและป่าไม้
ครั้นไหม้ไม้กอและป่าไม้แล้ว ลามมาถึงที่สุดหญ้าเขียว ที่สุดภูเขาที่สุดชายน้ำ
หรือภูมิภาคอันน่ารื่นรมย์ หมดเชื้อแล้วก็ดับ ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุริสคติ
๗ ประการนี้แล ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนอนุปาทาปรินิพพานเป็นอย่างไร

ดูกรภิกษุทั้งหลายภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ คือ ย่อมได้ความวางเฉยว่า ถ้ากรรม
ในอดีตไม่ได้มีแล้วไซร้ อัตตภาพในปัจจุบันก็ไม่พึงมีแก่เรา ถ้ากรรมในปัจจุบัน
ย่อมไม่มีไซร้ อัตตภาพในอนาคตก็จักไม่มีแก่เรา เบญจขันธ์ที่กำลังเป็นอยู่
ที่เป็นมาแล้วเราย่อมละได้ เธอย่อมไม่กำหนัดในเบญจขันธ์อันเป็นอดีต ไม่ข้อง
อยู่ในเบญจขันธ์อันเป็นอนาคต ย่อมพิจารณาเห็นบทอันสงบระงับอย่างยิ่งด้วย
ปัญญาอันชอบ ก็บทนั้นแล อันภิกษุนั้นทำให้แจ้งแล้ว โดยอาการทั้งปวง อนุสัย
คือมานะ ... อนุสัยคืออวิชชา เธอยังละ ไม่ได้โดยอาการทั้งปวง เธอย่อมกระทำ
ให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป
ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่

ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า อนุปาทาปรินิพพาน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุริสคติ ๗ ประการนี้ และอนุปาทาปรินิพพาน ฯ





ข้อปฏิบัติเพื่ออนุปาทาปรินิพพาน
[๑๒๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชก พึงถามเธอทั้งหลายอย่างนี้ว่า

ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ท่านทั้งหลาย อยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณโคดม เพื่อประโยชน์อะไร

เธอทั้งหลายถูกถามอย่างนี้แล้ว พึงชี้แจงแก่พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้นอย่างนี้ว่า
ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย เราทั้งหลายอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพื่ออนุปาทาปรินิพพาน.

[๑๒๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ถ้าพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกพึงถามเธอทั้งหลายอย่างนี้ว่า

ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ทางมีอยู่หรือ?
ข้อปฏิบัติเพื่ออนุปาทาปรินิพพานมีอยู่หรือ?

เธอทั้งหลายถูกถามอย่างนี้แล้ว พึงชี้แจงแก่พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้นอย่างนี้ว่า
ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ทางมีอยู่ ข้อปฏิบัติเพื่ออนุปาทาปรินิพพานมีอยู่.

[๑๒๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทางเป็นไฉน?

ข้อปฏิบัติเพื่ออนุปาทาปรินิพพานเป็นไฉน?


อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แล คือ ความเห็นชอบ ฯลฯ ความตั้งใจชอบนี้
เป็นข้อปฏิบัติเพื่ออนุปาทาปรินิพพาน

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายถูกถามอย่างนี้แล้ว

พึงชี้แจงแก่พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้นอย่างนี้.


http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0




คิลานสูตรที่ ๒

[๙๐] ครั้งนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า

ข้าแต่ พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุรูปหนึ่งในวิหารโน้น เป็นผู้ใหม่ ไม่ปรากฏชื่อและโคตร
เป็นผู้อาพาธ ถึงความทุกข์ เป็นไข้หนัก

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอประทาน โอกาส ขอพระผู้มีพระภาค
ทรงอาศัยความอนุเคราะห์ เสด็จไปหาภิกษุนั้นเถิดพระเจ้าข้า ฯ

ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคทรงสดับคำว่าภิกษุใหม่ เป็นไข้ทรงทราบชัด ว่า
เป็นภิกษุไม่ปรากฏชื่อและโคตรจึงเสด็จเข้าไปหาภิกษุนั้น

ภิกษุนั้นได้เห็น พระผู้มีพระภาคเสด็จมาแต่ไกล ครั้นแล้วปูอาสนะไว้ที่เตียง
ครั้งนั้นแล พระผู้มี พระภาคได้ตรัสกะภิกษุนั้นว่า

อย่าเลย ภิกษุเธออย่าปูอาสนะที่เตียงเลย อาสนะที่เขาจัดไว้เหล่านี้มีอยู่ เราจักนั่งบนอาสนะนั้น
พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบน อาสนะซึ่งเขาจัดไว้ ครั้นแล้วได้ตรัสกะภิกษุนั้นว่า

ดูกรภิกษุ เธอพอทนได้หรือ เธอยังอัตภาพให้เป็นไปได้หรือ
ทุกขเวทนาลดน้อยลง ไม่เจริญแก่กล้าหรือ ความทุเลาย่อมปรากฏ
ความกำเริบไม่ปรากฏหรือ ฯ

ภิ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ทนไม่ไหว ยังอัตภาพให้เป็นไปไม่ได้ ฯลฯ
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ไม่ติเตียนตนโดยศีลเลย พระเจ้าข้า ฯ

พ. ดูกรภิกษุ ถ้าเธอไม่ติเตียนตนโดยศีลไซร้ เมื่อเป็นเช่นนั้น
เธอจะมีความรังเกียจ มีความเดือดร้อนเพราะเรื่องอะไรเล่า ฯ

ภิ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ไม่รู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาค
ทรงแสดงเพื่อสีลวิสุทธิเลย พระเจ้าข้า ฯ

พ. ดูกรภิกษุ ถ้าเธอยังไม่รู้ทั่วถึงธรรมที่เราแสดงแล้วเพื่อสีลวิสุทธิไซร้ เมื่อเป็น
เช่นนั้น เธอจะรู้ทั่วถึงธรรมที่เราแสดงแล้วประพฤติเพื่ออะไรเล่า ฯ

ภิ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์รู้ทั่วถึงธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว
เพื่ออนุปาทาปรินิพพาน พระเจ้าข้า ฯ

พ. ดีแล้วๆ ภิกษุ เป็นการถูกต้องดีแล้ว
ที่เธอรู้ทั่วถึงธรรมอันเรา แสดงแล้วเพื่ออนุปาทาปรินิพพาน
เพราะว่าธรรมที่เราแสดงแล้ว ล้วนมีอนุปาทาปรินิพพานเป็นความมุ่งหมาย ฯ


[๙๑] พ. ดูกรภิกษุ เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน จักษุเที่ยง หรือไม่เที่ยง ฯ

ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ฯลฯ
พ. หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มโนวิญญาณ มโนสัมผัส แม้สุขเวทนาทุกขเวทนา หรือ
อทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เที่ยงหรือไม่เที่ยง ฯ
ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ฯ
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า ฯ
ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า ฯ
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือ หนอที่จะตาม
เห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา ฯ
ภิ. ไม่ควรเห็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรภิกษุ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในจักษุ ฯลฯ
แม้ในสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย
เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีวิญญาณ
หยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มีฉะนี้ ฯ

พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้จบลงแล้ว ภิกษุนั้นชื่นชม ยินดีภาษิตของ
พระผู้มีพระภาค ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิต ของภิกษุนั้นหลุดพ้นจาก
อาสวะเพราะไม่ถือมั่น ดังนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๒



https://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%A ... _%E0%B9%92








ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง
บัญญัตินิพพาน อันยวดยิ่งใน ปัจจุบันมีอยู่

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความหลุดพ้นเพราะไม่ถือมั่น
เพราะรู้ความเกิด ความดับ คุณ โทษ และอุบายเครื่องสลัดออกแห่งผัสสายตนะ ๖ ประการ
เลิศกว่าการบัญญัตินิพพาน อันยอดยิ่ง

http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.p ... 448&Z=1589

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 13:27 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 12 มิ.ย. 2014, 20:13
โพสต์: 709

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: ขอบคุณ ทุกท่าน
คุณmuisun...พอเข้าใจแล้วบ้างค่ะ
:b44: :b46: :b44:

อ้างคำพูด:
โสดาบัน สกิทาคา อนาคามี ล้วนยังเป็นผู้ที่ยังมีเหตุให้ต้องเกิด
แล้วจะไปเอาทำไมกันกับสิ่งที่คิดว่ามี คิดว่าเป็น
ในเมื่อสิ่งที่คิดว่ามี คิดว่าเป็น ล้วนยังต้องเกิด 
ผู้ที่เห็นทุกข์ โทษ ภัย ของการเกิด ย่อมละตัณหา ความอยากมี อยากเป็นลงไปได้



ผู้ที่ยังน้อมเข้าสู่ สิ่งที่คิดว่ามี คิดว่าเป็น ล้วนเกิดจากอวิชชาที่มีอยู่


เมื่อผัสสะเกิด สิ่งที่เกิดขึ้น ทำให้เกิดความรู้สึกนึกคิด
เวทนาเกิด ก็ยังไม่รู้ เพราะถูกโมหะครอบงำ ตัณหาที่เกิดขึ้นจึงมีกำลัง
จึงถูกครอบงำ ให้หลงสร้างเหตุแห่งทุกข์(การเกิด) ให้มีเกิดขึ้นใหม่เนืองๆ ก็ยังไม่รู้



จริงค่ะ
แต่หากยังไม่ละการพิจารณา ให้เห็นทุกข์เห็นโทษ มันก็ค่อยๆลดลง
แต่ก็ยังขึ้นๆลงๆอยู่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 13:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


idea เขียน:
:b8: ขอบคุณ ทุกท่าน
คุณmuisun...พอเข้าใจแล้วบ้างค่ะ
:b44: :b46: :b44:

อ้างคำพูด:
โสดาบัน สกิทาคา อนาคามี ล้วนยังเป็นผู้ที่ยังมีเหตุให้ต้องเกิด
แล้วจะไปเอาทำไมกันกับสิ่งที่คิดว่ามี คิดว่าเป็น
ในเมื่อสิ่งที่คิดว่ามี คิดว่าเป็น ล้วนยังต้องเกิด 
ผู้ที่เห็นทุกข์ โทษ ภัย ของการเกิด ย่อมละตัณหา ความอยากมี อยากเป็นลงไปได้



ผู้ที่ยังน้อมเข้าสู่ สิ่งที่คิดว่ามี คิดว่าเป็น ล้วนเกิดจากอวิชชาที่มีอยู่


เมื่อผัสสะเกิด สิ่งที่เกิดขึ้น ทำให้เกิดความรู้สึกนึกคิด
เวทนาเกิด ก็ยังไม่รู้ เพราะถูกโมหะครอบงำ ตัณหาที่เกิดขึ้นจึงมีกำลัง
จึงถูกครอบงำ ให้หลงสร้างเหตุแห่งทุกข์(การเกิด) ให้มีเกิดขึ้นใหม่เนืองๆ ก็ยังไม่รู้



จริงค่ะ
แต่หากยังไม่ละการพิจารณา ให้เห็นทุกข์เห็นโทษ มันก็ค่อยๆลดลง
แต่ก็ยังขึ้นๆลงๆอยู่






มันเป็นเรื่องที่อธิบายได้ยากนะ
เหตุและผลของ การละตัณหา ความอยากมี อยากเป็น ที่ยังมีอยู่


สิ่งที่วลัยพรได้พบเจอมา เกิดจากจิตวิตก วิจารณ์ขึ้นมาเอง
หรือจะเรียกว่า เป็นสภาพธรรมของสัญญา ก็ว่าได้



แรกๆ ก็หลงในเรื่องเกี่ยวกับความมี ความเป็นเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันหรอก
ทีนี้ผลของการทำความเพียรต่อเนื่อง สัญญา คำเรียกต่างๆ มักมีเกิดขึ้นเนืองๆ ก็ใช้หาในกูเกิ้ลนี่แหละ

เช่น คำว่า อนุปาทาปรินิพพาน
ก็สงสัยนะว่า คำเรียกนี้ คืออะไร มีจริงไหม ก็ใช้กูเกิ้ลน่ะแหละ
ก็เจอคำว่า อนุปาทาปรินิพพาน และสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสไว้
ก็ทำให้หลุดจากความหลง การน้อมเข้าสู่ความมี ความเป็น ก็ยังต้องมีเหตุของการเกิด จะเอาไปทำไม

ก่อนจะละตรงนี้ได้ มันจะฝันบ่อย
ฝันเห็นในแต่ละชาติว่า เคยเกิดเป็นอะไรบ้าง เพศไหนบ้าง
เป็นคน เป็นสัตว์ กษัติริย์ก็เคยเป็น เกิดเป็นคนชาติอื่นๆก็มี
เมื่อก่อนจะฝันบ่อยมาก (เดี๋ยวนี้ไม่ค่อยฝัน)

พอเห็นแบบนี้แล้ว โอ มันน่ากลัวนะ จะเกิดเป็นอะไร ยิ่งใหญ่ขนาดไหน ก็ต้องทุกข์
ยิ่งมีอำนาจในมือมาก ยิ่งหลงสร้างเหตุของการเกิดมาก ทำให้เกิดความรู้สึกเข็ดขยาดกับการเกิดซ้ำซาก

มันก็ทำให้ละตัณหา ในความอยากมี อยากเป็นอะไรลงไปได้
กลับตัวใหม่ มาปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่เป็นแก่น
ก็เพียรละในเหตุปัจจัยที่มีอยู่(ผัสสะ)




การปฏิบัติน่ะ ทำมาแล้วหลายชาติ
ไม่ใช่เพิ่งจะมาทำในชาตินี้

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 14:27 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 12 มิ.ย. 2014, 20:13
โพสต์: 709

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
มันเป็นเรื่องที่อธิบายได้ยากนะ 
เหตุและผลของ การละตัณหา ความอยากมี อยากเป็น ที่ยังมีอยู่


สิ่งที่วลัยพรได้พบเจอมา เกิดจากจิตวิตก วิจารณ์ขึ้นมาเอง 
หรือจะเรียกว่า เป็นสภาพธรรมของสัญญา ก็ว่าได้ 



แรกๆ ก็หลงในเรื่องเกี่ยวกับความมี ความเป็นเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันหรอก
ทีนี้ผลของการทำความเพียรต่อเนื่อง สัญญา คำเรียกต่างๆ มักมีเกิดขึ้นเนืองๆ ก็ใช้หาในกูเกิ้ลนี่แหละ

เช่น คำว่า อนุปาทาปรินิพพาน 
ก็สงสัยนะว่า คำเรียกนี้ คืออะไร มีจริงไหม ก็ใช้กูเกิ้ลน่ะแหละ 
ก็เจอคำว่า อนุปาทาปรินิพพาน และสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสไว้ 
ก็ทำให้หลุดจากความหลง การน้อมเข้าสู่ความมี ความเป็น ก็ยังต้องมีเหตุของการเกิด จะเอาไปทำไม 

ก่อนจะละตรงนี้ได้ มันจะฝันบ่อย
ฝันเห็นในแต่ละชาติว่า เคยเกิดเป็นอะไรบ้าง เพศไหนบ้าง 
เป็นคน เป็นสัตว์ กษัติริย์ก็เคยเป็น เกิดเป็นคนชาติอื่นๆก็มี 
เมื่อก่อนจะฝันบ่อยมาก (เดี๋ยวนี้ไม่ค่อยฝัน) 

พอเห็นแบบนี้แล้ว โอ มันน่ากลัวนะ จะเกิดเป็นอะไร ยิ่งใหญ่ขนาดไหน ก็ต้องทุกข์
ยิ่งมีอำนาจในมือมาก ยิ่งหลงสร้างเหตุของการเกิดมาก ทำให้เกิดความรู้สึกเข็ดขยาดกับการเกิดซ้ำซาก

มันก็ทำให้ละตัณหา ในความอยากมี อยากเป็นอะไรลงไปได้
กลับตัวใหม่ มาปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่เป็นแก่น
ก็เพียรละในเหตุปัจจัยที่มีอยู่(ผัสสะ)




การปฏิบัติน่ะ ทำมาแล้วหลายชาติ 
ไม่ใช่เพิ่งจะมาทำในชาตินี้




สาธุค่ะ :b8:
ความเพียรมีผล...ความพยายามมีผลจริงๆ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 14:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


muisun เขียน:
เราฝึกความรู้ทัน เอาแค่สักแต่ว่ารู้ แล้วก็ดับไป..

จะคิดดับดีเพราะเข้าไปดู และขยันระลึกรู้ ดูต่อดู รู้ต่อรู้ แล้วเค้าก็จะดับของเค้าไปเอง ไม่ใช่เราดับ เค้าดับไปตามความเป็นจริง แต่เราได้ตัวรู้เรียกว่าวิปัสนาญาณ...จะคิดดับๆ

พระศาสดากล่าวอย่างนี้นะครับ ให้เราตามเห็นการเกิดดับของรูปนามกิจทำอื่นยิ่งไปกว่านี้ไม่มี เหตุเพราะว่าจะได้ทำลายสัสสตทิฎฐิ(ความเห็นว่าเที่ยง)และอุเฉททิฎฐิ(ความเห็นว่าขาดสูญ)ผู้ที่เห็นการเกิดดับคือสัมมาทิฎฐ( เห็นอนิจจัง) เมื่อเราตามเห็นการเกิดดับเราจะมีความรู้ต่อว่าทุกอย่างไม่มีความคงทนทาวรมีแต่การเปลี่ยนแปลง(เห็นทุกขัง) เมื่อเราตามเห็นการเปลี่ยนแปลงไม่คงทนทาวรเราจะเห็น(อนัตตา)เนตะงมะมะ เนโสหะมัสมิ นะเมโสอัตตา นั้นไม่เป็นเรา เราไม่เป็นนั้นเป็นนี่ นั้นไม่ใช่ตัวตนของเรา จะเห็นได้ว่าเพียงตามเห็นการเกิดดับของรูปนามดั่งคำตถาคตว่ากิจอื่นทำยิ่งไปกว่านี้ไม่มี ท่านก็จะเขาถึงการทำลายอัสสะมิมะนะได้หมด เป็นอรหันต์ได้เลย อานาปานสติสูตรเลยครับ

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


แก้ไขล่าสุดโดย bigtoo เมื่อ 18 มิ.ย. 2015, 17:53, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 15:36 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 12 มิ.ย. 2014, 20:13
โพสต์: 709

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
พระศาสดากล่าวอย่างนี้นะครับ ให้เราตามเห็นการเกิดดับของรูปนามกิจทำอื่นยิ่งไปกว่านี้ไม่มี เหตุเพราะว่าจะได้ทำลายสัสสตทิฎฐิ(ความเห็นว่าเที่ยง)และอุเฉททิฎฐิ(ความเห็นว่าขาดสูญ)ผู้ที่เห็นการเกิดดับคือสัมมาทิฎฐ( เห็นอนิจจัง) เมื่อเราตามเห็นการเกิดดับเราจะมีความรู้ต่อว่าทุกอย่างไม่มีความคงทนทาวรมีแต่การเปลี่ยนแปลง(เห็นทุกขัง) เมื่อเราตามเห็นการเปลี่ยนแปลงไม่คงทนทาวรเราจะเห็น(อนัตตา)เนตะงมะมะ เนโสหะมัสมิ นะเมโสอัตตา นั้นไม่เป็นเรา เราไม่เป็นนั้นเป็นนี่ นั้นไม่ใช่ตัวตนของเรา จะเห็นได้ว่าเพียงตาเห็นการเกิดดับของรูปนามดั่งคำตถาคตว่ากิจอื่นทำยิ่งไปกว่านี้ไม่มี ท่านก็จะเขาถึงการทำลายอัสสะมิมะนะได้หมด เป็นอรหันต์ได้เลย อานาปานสติสูตรเลยครับ


ถ้าพูดง่ายๆ...
เข้าใจว่า คือ การเห็นอาการอย่างหนึ่งอย่างใด
ทันเข้าไปรู้ ตอนมันเกิดขึ้น แล้วดับไป
เช่นรู้ว่าร้อน เดียวก็รู้ว่าเสียงเข้ามาอีก คือไม่ใช่ว่าปล่อยให้อาการนั้นๆ เปลี่ยนไหลไปตามความเคยชิน
แต่มีสติรู้มันเกิดขึ้นมาตั้งอยู่และดับไป วันๆหนึ่งมีหลายอาการ
ตรงนี้เรียกว่าการเกิดดับของรูปนามใช่ใหมคะ
หรือตรงกับคำว่าจิตเกิดดับ ใช่ใหมคะ
:b45: หรือเช่นที่เกิดกับตัวเอง
เวลานั่งสมาธิ ไปสักพัก...เห็นท้องพอง-ยุบๆๆๆๆๆ
บางช่วงเดี๋ยวถี่,,เดี๋ยวห่าง,,เดี๋ยวหาย
แบบนี้เรียกเห็นรูปนามเกิดดับ ถูกรึเปล่า


แก้ไขล่าสุดโดย idea เมื่อ 18 มิ.ย. 2015, 15:41, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2015, 15:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว


ก็ต้องขอขอบใจที่ช่วยยกคำอ้าง "อนุปาทา ปรินิพฺพานํ " ปรินิพพานอันหาปัจจัยมิได้.
หมายถึง กรรมในอดีตไม่มี กรรมในปัจจุบันก็ไม่มี อนาคตก็ไม่มีเช่นนั้นเหมือนกัน
ที่เรียนมาก็ไม่เคยเจอ ฉะนั้นต้องขอขอบใจอีกครั้งที่ได้ให้ความรู้ใหม่ ที่ไม่ทำให้เข้าใจผิด
จนหลงไปภพหน้า

ลองช่วยอธิบายแบบลัดสั้นเข้าใจง่ายๆ อีกครั้งได้ไหมว่า ปรินิพพานอันหาปัจจัยมิได้
เมื่อกรรมในอดีตไม่มีมันก็เท่ากับหมดกรรมแล้ว การเกิดอีกก็น่าสิ้นไปแล้วไม่เกิดอีกแล้ว
ตรงนี้แหละดูมันยังขัดๆกันอยู่กับความเป็นจริง คือ การปรินิพพานแบบนี้ดูจะไม่ได้ประหารกิเลสเลย

โอ๊ย !!! งงงงงงง น่ะนี่ แม้แต่พระพุทธเจ้าก็ถือว่าสูงสุดยังต้องประหารกิเลสและ ขันธ์ ๕ จึงเข้าปริพพาน
ช่วยแสดงแถลงไขหน่อย มันเกินเลยไปหรือเปล่า? หรืออะไรเกิดขึ้นกับในธรรมวินัย นี้

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 42 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 52 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร