วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 21:41  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=25



กลับไปยังกระทู้  [ 5 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2014, 10:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 8
สมาชิก ระดับ 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 มิ.ย. 2014, 09:57
โพสต์: 667

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




img03.jpg
img03.jpg [ 56.06 KiB | เปิดดู 3730 ครั้ง ]
คำนำ
เรื่อง "ธรรมาธรรมะสงคราม" นี้ ฃ้าพเจ้า
ได้แต่งขึ้นแต่เมื่อเดือนมกราคม, พ.ศ. ๒๔๖๑, เมื่อ
ได้ฟังพระธรรมเทศนามงคลวิเศษ,
ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณะ
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงแสดง
ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาปีนั้น.
ฃ้าพเจ้ารู้สึกว่าสมเด็จพระมหาสมณะทรงเลือก
อุทาหรณเหมาะสมหนักหนา
เพื่อแสดงหลักแห่งธรรมว่าธรรมะ
กับอธรรมให้ผลไม่เหมือนกัน อีก
ทั้งเมื่อพิจารณาดูเรื่องที่ทรงยกมาแสดงนั้น
ช่างคล้ายจริงๆ กับกิจการที่เป็นไปแล้ว
ในงานมหาสงครามในยุโรป อันพึ่งจะยุติลง
ในศกนั้นด้วยความปราชัยแห่งฝ่าย
ผู้ที่ละเมิดธรรมะ.
ครั้นเมื่อแต่งบทพากย์ขึ้นเสร็จแล้ว ฃ้าพเจ้า
ได้อ่านให้มิตรสหายบางคนฟัง, ก็ต่างคนต่างชม
กันว่าดี, และวิงวอนให้จัดพิมพ์ขึ้นเปนเล่ม.
เมื่อฃ้าพเจ้าได้ยอมตามคำขอของมิตรสหายแล้ว
จึงนึกขึ้นว่าถ้าได้มีภาพประกอบบทพากย์ด้วย
จะชูค่าแห่งหนังสือขึ้น. ข้าพเจ้าจึงทูลขอ
ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัตติวงศ์
ทรงคิดประดิษฐ์ภาพขึ้นประกอบเรื่อง,
เพราะเห็นว่าจะหาช่างใดในกรุงสยามที่เฃ้าใจ
ความมุ่งหมายและความตั้งใจของฃ้าพเจ้าไม่ได้ดี
เท่าเปนแน่แท้.
และสมเด็จจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัตติวงศ์ท
รงเฃ้าพระทัยความประสงค์ของฃ้าพเจ้าดีปานใด
ภาพทั้งหลายในสมุดนี้ย่อมเปนพยานปรากฏ
อยู่เองแล้ว.
ในชั้นเดิมฃ้าพเจ้าคิดไว้ว่า
จะจัดการพิมพ์หนังสือนี้ขึ้นจำหน่ายเฉยๆ, แต่ก็หา
ได้จัดการให้ดำเนินไปตามความคิดนั้นไม่, เพราะ
ได้มีเหตุขัดข้องต่างๆ ซึ่งฃ้าพเจ้าไม่จำจะ
ต้องนำมากล่าวในที่นี้. ครั้นมาถึง พ.ศ. ๒๔๖๓ นี้,
ฃ้าพเจ้ามารำพึงว่า ฃ้าพเจ้าจะมีอายุครบ ๔๐
ปีบริบูรณณวันที่ ๑ มกราคม,
เห็นว่าเปนการสมควรที่
จะมีของแจกเปนพิเศษสักหน่อย, ฃ้าพเจ้าจึ่ง
ได้จัดการให้พิมพ์หนังสือนี้ขึ้น.
ฃ้าพเจ้าหวังใจว่า ท่านที่จะได้พบได้อ่านหนังสือนี้จะมี
ความพอใจ, เพราะจะได้อ่านทราบความคิด
ความเห็นและภูมิธรรมของคนโบราณว่ามี
อยู่สูงเหมือนกัน. และจะ
ได้มีโอกาสดูภาพอันวิจิตร์งดงาม
เปนตัวอย่างอันดีแห่งภาพที่ผู้เขียนได้เขียนขึ้นโดยใช้
ความพิจารณาอย่างดี,
ควรถือเปนแผนแห่งศิลปะของไทยเราได้โดยไม่
ต้องน้อยหน้าชาติอื่นๆ นอก
จากนี้ฃ้าพเจ้าหวังใจว่าหลักธรรมะอันประกอบเ
รื่อง "ธรรมาธรรมะสงคราม" นี้
จะพอเปนเครื่องเตือนใจผู้ใฝ่ดีให้รำพึง
ถึงพุทธภาษิตว่า:-
"น หิ ธมฺโม อธมฺโม จ อุโภ สมวิภาคิโน
อธมฺโม นิรยํ เหติ ธมฺโม ปาเปติ
สุคตึ"
"ธรรมกับอธรรมให้ผลหาเสมอกันไม่;
อธรรมย่อมจักนำชนไปสู่นรก,
แต่ธรรมย่อมจักนำชนให้ฃ้ามพ้นบาปไปสู่สุคติ." -
ด้วยอำนาจสัจจะวาจาภาษิตนี้ ขอ
ความสุขสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคลอิฐวิบุลผลจงบังเ
กิดมีแด่ท่านผู้ที่อ่านเรื่องนี้จงทุกเมื่อเทอญ ฯ
ราม ร.
วังพญาไท, วันที่ ๑ มกราคม, พ.ศ. ๒๔๖๓.
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2014, 10:37 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 8
สมาชิก ระดับ 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 มิ.ย. 2014, 09:57
โพสต์: 667

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คำพากย์
ธรรมะเทวบุตร ผู้พิสุทธิโ
สภา
สถิตอยู่ ณ กามา- พจรภพ
แผ่นดินส
รวง
ครองทิพยพิมาน บริวาร
อมรปว

ปองธรรมะบ่ล่วง ลุอำนา
จอกุศล
เมตตาการุญรัก- ษะพิทักษ์
ภูวดล
ปรานีนิกรชน ดุจดังปิโ
ยรส
ครั้นถึง ณ วันเพ็ญ ที่
เป็นวันอุโ
บสถ
เธอมุ่งจะทรงรถ ประพา
ศโลกเ
ช่นเคยม

เข้าที่สนานทรง เสาวคนธ
ธารา
แล้วลูบพระกายา ด้วยวิเล
ปนารม
ทรงเครื่องก็ล้วนขาว สวิภูษณา
สม
สำแดงสุโรดม สุจริต

ไตรทว
าร
ทรงเพรชราภรณ์ พระก
รกุมพ
ระขร
รค์กาญ
จน์
ออกจากพิมานสถาน ธ เสด็จ

เกยพลั
นฯ
(บาทสกุณี แล้ว กลม)
ขึ้นทรงรถทองผ่องพร
รณ
งามงอน
อ่อนฉัน
เฉกนาคราชกำแหง
งามกงวงจักรรักต์แดง งามกำส่
ำแสง
งามดุมประดับเพรชพราย
เลิศล้วนมวลมาศฉลุ
ลาย
เทพป
ระนมเ
รียงร
าย
รับที่บัลลังก์เทวินทร์
กินนรฟ้อนรำร่ายบิน กระห
นกนาคิ

ทุกเกล็ดก็เก็จสุรกานต์
งามเทวธวัชชัชวาลย์ โบก
ในคัคน
านต์
แอร่มอร่ามงามตา
พรั่งพร้อมทวยเทวเสนา ห้อมแห่
แหนหน้

และหลังสะพรั่งพร้อมมว

จามรีเฉิดฉายปลายทว

หอกดา
บปลา
บยวน
ยั่วตาพินิจพิศวง
แลดูรายริ้วทิวธง ฉัตรเบ
ญจรง
ค์
ปี่กลองสนั่นเวหน
อีกมีทวยเทพนฤมล ฟ้อนฟ่อ
งล่อง
หน
เพื่อโปรยบุปผามาลี
ครั้นได้ฤกษ์งามยามดี เคลื่อ
นขบวน
โยธี
ไปโดยวิถีนภาจรฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2014, 10:50 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 8
สมาชิก ระดับ 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 มิ.ย. 2014, 09:57
โพสต์: 667

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


(กลองโยน แล้ว เชิด)
ครั้นถึงชมพูดูสลอน สล้า
งนิก

ประชามาชมบารมี
หยุดรถอยู่หว่างเมฆี แล
ยังปัถ
พี
พระองค์ก็ยิ้มพริ้มพราย
กษัตริย์พราหมณ์แพทย์ศู
ทรทั้งหลาย
ต่างมา
เรียง
ราย
ระยอบบังคมเทวัญ
ต่างคนปลื้มเปรมเกษมสั
นต์
ต่างค
อยเงี่ย
กร
รณ
เพื่อฟังพระเทวบัญชา
จึ่งธรรมเทพนาถา ตรัส
เผยพ
จนา
เพื่อแนะทำนองคลองธรรมฯ
ดูก่อนนิกรชน อกุศล
บทกร
รม
ทั้งสิบประการจำ และล
ะเว้นอย่า
เห็นดี
การฆ่าประดาสัตว์ ฤ ประโย
ชน์บ่พึงมี
อันว่าดวงชีวี ย่อม
เป็นสิ่งที่
ควรถน
อม
ถือเอาซึ่งทรัพย์สิน อันเจ้าข
องมิยินย
อม
เขานั้นเสียดายย่อม จิตตะขึ้ง
เป็นหนัก
หนา
การล่วงประเวณี ณ บุตรี
และภ
รรยา
ของชายผู้อื่นลา- มกกิจบ่บั
งควร
กล่าวปด
และลดเลี้ยว
พจนามิ
รู้สงวน
ย่อมจะเป็นสิ่งควร นรชัง
เป็นพ้นไ

ส่อเสียด
เพราะเกลียดชัง
บ่มิ
ยังประ
โยชน์ใด
เสื่อมยศและลดไม- ตริระ
หว่างคณ
าสลาย
พูดหยาบกระทบคน ก็ต้องทน
ซึ่งหยาบ
คาย
เจรจากับเขาร้าย ฤ ว่าเขา
จะตอบดี
พูดจาที่เพ้อเจ้อ ว
จะสาร
ะบ่มี
ทำตนให้เป็นที่ นรชน
เขานินท

มุ่งใจและไฝ่ทรัพ- ยะ
ด้วยโล
ภเจตนา
ทำให้ผู้อื่นพา กันตำหนิ
มิรู้หาย
อีกความพยาบาท มนะมุ่งจ
ำนงร้า

ก่อเวรบ่รู้วาย ฤจะพ้น
ซึ่งเวรา
เชื่อผิดและเห็นผิด สิจะนิจ
จะเสื่อม
พา
เศร้าหมองมิผ่องผา สุกะรื่นฤ
ดีสบาย
ละสิ่งอกุศล สิกมล
จะพึงหม
าย
เหมาะยิ่งทั้งหญิงชาย สุจริต

ไตรทว
าร
จงมุ่งบำเพ็ญมา- ตุปิตุปัฏ
ฐานกา

บำรุงบิดามาร- ดร
ให้เสวย
สุข
ใครทำฉะนี้ไซร้ ก็จะ
ได้นิรา
ศทุกข์
เนานานสราญสุข และจะ
ได้คระ
ไลสว
รรค์
ยศใหญ่จักมาถึง กิตติพึงจั
กตามทัน
เป็นนิจจะนิรัน- ดรย่อม
จะหร
รษาฯ
ครั้นเสด็จประทานเทศ
นา
ฝูงชนต่
างสา-
ธุเทิดประนตประนมกร
ธรรมเทพจึงอวยพร ให้ปวงถ
าวร
ในอายุวรรณสุขพล
แล้วสั่งขบวนเดินหน ประทั
กษิณวน
ชมพูทวีปมหาสถานฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2014, 11:03 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 8
สมาชิก ระดับ 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 มิ.ย. 2014, 09:57
โพสต์: 667

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


(เชิดฉิ่ง)
ปางนั้นอธรรมะ เทวบุต

ผู้ใจพา

เนาในพิมานสถาน ณ
กามาพจ
รสวร
รค์
ครองพวกบริวาร ล้วนแต่
พาลป
ระดุจ
กัน
โทโสและโมหันธ์ บ่มิพึงบำเ
พ็ญบุญ
เห็นใครน้ำใจซื่อ สุจริตะ
การุญ
เธอก็มักจะหันหุน เพราะพิ
โรธ
และริ
ษยา
ถึงวันที่จันทร์เพ็ญ ธก็มัก
จะไคล
คลา
ขับรถะยานมา ณ
ชมพูทวีป
พลัน
แต่งองค์ก็ทรงล้วน พัสตระ
ดำทุกสิ่ง
อัน
อาภรณ์ก็เลือกสรร- พะสัมฤทธิ์
และพ
ลอยดำ
หัสถ์สดำพระกำขวาน อันมหิทธิ
กำยำ
จรจากวิมานอัม- พรตร
งมาทรง
รถ
(คุกพาทย์ แล้ว กราว)
รถทรงกงกำทั้งหมด ตลอด
งอนร

ล้วนแล้วด้วยไม้ดำดง
บัลลังก์มียักษ์ยรรยง ยืนรับ
รองท
รง
สลับกระหนกมังกร
ลายสิงห์เสือสีห์มีสลอน หมาไน
ยืนหอน
อีกทั้งจระเข้เหรา
งอนรถมีธวัชตวัดร่า สีดำขำ
น่า
สยดสยองพองขน
แลดูหมู่กองพยุหพล สลับสั
บสน
ล้วนฤทธิ์คำแหงแรงขัน
กองหน้าอารักขะไพรสั
ณฑ์
ปีกซ้าย
กุมภัณ
ฑ์
คนธรรพ์เป็นกองปีกขวา
กองหลังนาคะนาคา สี่เหล่า
เสนา
ศาสตราอาวุธวาวแสง
พวกพลทุกตนคำแหง หาญเหิ
มฤทธิ์แ
รง
พร้อมเพื่อผจญสงคราม
พาหนคำรนคำราม เสือสิงห์
วิ่งหลา

แลล้วนจะน่าสยดสยอน
ให้เคลื่อนขบวนพลจร ไป
ในอัมพ

ฟากฟ้าคะนองก้องมาฯ
(เชิด)
ครั้น
ถึงชมพูแดนประชา
ให้หยุดโ
ยธา
ลอยอยู่ที่ในอัมพร
เหลือบแลเห็นชนนิกร ท่าทางส
ยดสยอ

อธรรมก็ยิ่งเหิมหาญ
ทะนงจงจิตคิดพาล ด้วยอหัง
การ
ก็ยิ่งกระหยิ่มยินดี
เห็นว่าเขาเกรงฤทธี จึ่งเปล่
งพจี
สนั่น ณ กลางเวหน
ดูราประชาราษฎร์ นรชาติ
นิกรช

จงนึกถึงฐานตน ว่าตกต่ำ
อยู่ปาน
ใด
ไม่สู้อมรแมน ฤ
ว่าแม้นปี
ศาจได้
ฝูงสัตว์ ณ กลางไพร ก็
ยังเก่งก
ว่าฝูงคน
ทั้งนี้เพราะขี้ขลาด บ่มิอาจ
จะ
ช่วยตน
ต่างมัวแต่กลัวชน จะตำหนิ
และนิน
ทา
ผู้ใฝ่ซึ่งอำนาจ ก็
ต้องอาจ
และหา
ญกล้า
ใครขวาง ณ มรรคา ก็
ต้องปอง
ประหา
รพลั

อยากมี ณ ทรัพย์สิ่ง จะมานิ่ง
อยู่เฉยฉ
ะนั้น
เมื่อใดจะได้ทัน มนะมุ่ง
และป
ราถนา
กำลังอยู่กับใคร สิก็
ใช้กำลั
งคร่า
ใครอ่อนก็ปรา- ชิตะแน่มิ
สงสัย
สตรีผู้มีโฉม ศุภลัก
ษณาไซ
ร้
ควรถือว่ามีไว้ เป็นสมบั
ติ ณ
กลางเ
มือง
ใครเขลาควรเอาเป
รียบ
และมุส
าประดิ
ษฐ์เรื่อ

ลวงล่อบ่ต้องเปลือง ธนะหาก
ำไรงา

เมื่อเห็นซึ่งโอกาส ผู้ฉลา
ดพยาย
าม
ส่อเสียดและใส่ความ และป
ระโยช
น์ ณ ตน
ถึง
ใครท้วงและทักว่า ก็จงด่า
ให้เสียง
อึง
เขานั้นสิแน่จึ่ง จะขยาด
และก
ลัวเร

พูดเล่นไม่เป็นสา- ระสำห
รับ
จะแก้เห
งา
กระทบกระเทียบเขา ก็สนุกส
นานดี
ใครจนจะทนยาก และล
ำบาก
อยู่ใยมี
คิดปองซึ่งของดี ณ ผู้
อื่นอันเก็
บงำ
ใครทำให้ขัดใจ สิก็ควร
จะจดจำ
ไว้หาโอกาสทำ ทุษะบ้าง
เพื่อสาใ

คำสอนของอาจารย์ ก็บุรา
ณะเกิน
สมัย
จะนั่งไยดีไย จงประ
พฤติตาม
จิตดู
บิดรและมารดา ก็ชราห
นักหนา
อยู่
เลี้ยงไว้ทำไมดู นับ
จะเปลื
องมิคว
รการ
เขาให้กำเนิดเรา ก็มิ
ใช่เช่น
ให้ทาน
กฎธรรมดาท่าน ว่า
เป็นของ
ไม่อัศจ
รรย์
มามัวแต่กลัวบาป ก็จะ
อยู่ทำไม
กัน
อยากสุขสนุกนัน- ทิก็
ต้องดำ
ริแสวง
ใครมีกำลังอ่อน ก็
ต้องแพ้
ผู้มีแรง
ใครเดชะสำแดง ก็
จะสมอา
รมณ์ป
อง
พูดเสร็จ
แล้วเล็งแลมอง
เห็นคนส
ยดสยอ

อธรรมก็ยิ่งยินดี
ตบหัตถ์ตรัสสั่งเสนี ให้เริ่ม
จรลี
ออกเดินขบวนพลกาย
ขบวนก็พลันผันผาย เป็นแถว
เรียง
ราย
เวียนซ้ายชมพูพนาลัย ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2014, 11:22 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 8
สมาชิก ระดับ 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 มิ.ย. 2014, 09:57
โพสต์: 667

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


(เชิด)
ขบวนสองเทพคลาไคล เวียนขว
าซ้ายไป
ประสบกันกลางเวหา
ต่างกองต่างหยุดรอรา อยู่กล
างมร
รคา
เพื่อคอยอีกฝ่ายหลีกทาง
ต่างกองต่างยืนอยู่พลาง ต่างไม่
ให้ทาง
แก่กันเพื่อเดินกองไป
ธรรมะเทวบุตร์เปน
ใหญ่
จึ่งกล่า
วคำไป
ด้วยถ้อยสุนทรอ่อนหวาน
ดูราอธรรมมหาศาล เราขอ
ให้ท่าน
หลีกทางให้เราเดินไป
อธรรมตอบว่าฉันใด เรา
จะหลีก
ให้
เราก็ไม่หย่อนศักดิ์ศรี
ธรรมะจึ่งว่าเรานี้ สิทธิย่อ
มมี
ที่ควรจะได้ทางจร
เพราะเราชวนชนนิกร ให้จิตสุน
ทร
บำเพ็ญกุศลจรรยา
เราทำให้ชนนานา ได้มียศ
ฐา-
นะเลิศประเสริฐทุกสถาน
สมณะอีกพราหมณาจา
รย์
สรรเ
สริญทุ
กวาร
เพราะเรานี้เที่ยงธรรมา
อีกทั้งมนุษย์เทวา น้อมจิต
บูชา
ทุกเมื่อเพราะรักความดี
อธรรมตอบว่าข้านี้ รี้พล
มากมี
ไม่ต้องประหวั่นพรั่นใจ
ไม่เคยยอมให้แก่ใคร วันนี้เหตุ
ไฉน
จักยอมให้ทางท่านจร
ธรรมะว่าเราเกิดก่อน ในโลก
อัมพร
อธรรมเธอเกิดตามมา
ตัวเราเก่ากว่าแก่กว่า ยิ่ง
ใหญ่ยศ
ฐา
ผู้น้อยควรให้ทางจร
อธรรมว่าคำอ้อนวอน หรือพ
จนากร
อ้างเหตุสมควรใดๆ
ไม่ทำให้เรานี้ไซร้ ยอมห
ลีกทาง
ให้
เพื่อธรรมะเทพจรลี
มาเถิดรบกันวันนี้ ใครชน
ะควรมี
สิทธิได้เดินทางไป
ธรรมะว่าเออตามใจ อันเรา
นี้ไซร้
ประกอบด้วยสรรพคุณา
มีทั้งกำลังวังชา เกียรติ
ยศหา
ผู้ใดเสมอไป่มี
ทั่วทิศบันลือฤทธี อธรร
มเธอนี้
จักเอาชำนะอย่างไร
อธรรมยิ้มเย้ยเฉลยไ

ว่าธร
รมดาไ
ซร้
เขาย่อมเอาเหล็กตีทอง
เอาทองตีเหล็กเป็นของ ไม่
สามาร
ถลอง
เพราะเหตุว่าผิดธรรมดา
แม้นเราฆ่าท่านมรณา เหล็กก็
จักน่า
นิยมประดุจทองคำ
ว่าแล้วต้อนพลกำยำ ตรู
เข้ากร
ะทำ
ประยุทธ ณ กลางอัมพร
(เชิด)
ฝ่ายทัพอธรรมราญร
อน
ห้าวหา
ญชาญ
สมร
ฝ่ายธรรมะอิดหนาระอาใจ
ธรรมะสลดหฤทัย คิดว่าต
นไซร้
จะไม่ชนะดั่งถวิล
จะต้องทนดูคำหมิ่น และ
ต้องยอ
มยิน
ให้ทางแก่ฝ่ายอธรรม
แต่ว่าเดชะกุศลกรรม มา
ช่วยฝ่า
ยธร
รม
แลเห็นถนัดอัศจรรย์
อธรรมหน้ามืด
โดยพลัน
มิอาจนั่ง
มั่น
อยู่บนบัลลังก์รถมณี
พลัดตกหกเศียรทันที ถึงพื้นปั
ถพี
และดินก็สูบซ้ำลง ฯ
(รัว)
ธรรมะมีขันตีทรง กำลังจึ่
งยง
แย่งยุทธะชิตชัยชาญ
ลงมา
จากกลางคัคนานต์
ฟาดฟัน
ประหา

อธรรมะผู้ปราชัย
แล้วสั่งเสนีย์ผู้ใหญ่ ฝังอธร
รมไว้
ในพื้นผ่นดินบันดล
กลับขึ้นรถทรงโสภณ แล้วต
รัสแด่ช

ผู้พร้อมมาชมบารมี
ดูราประชาราษฏร์ ท่านอาจเ
ห็นคติดี
แห่งการสงครามนี้ อย่าระ
แวง
และสง
สัย
ธรรมะและอธรร- มะ
ทั้งสองสิ่
งนี้ไซร้
อันผลจะพึงให้ บ่มิมีเสม
อกัน
อธรรมย่อมนำสู่ นิรยาบ
าย
เป็นแม่น
มั่น
ธรรมะจักนำพลัน ให้
ถึงสุคติน

เสพธรรมะส่งให้ ถึงเจริ
ญทุกทิวา
แม้เสพอธรรมพา ให้พินาศ
และฉิบ
หาย
ในกาลอนาคต ก็จักมี
ผู้มุ่งหมา

ข่มธรรมะทำลาย และป
ระทุษฐ์
มนุษย์โ
ลก
เชื่อถือกำลังแสน- ยะจะขึ้น
เป็นหัวโจ

หวังครองประดาโลก และ
เป็นใหญ่
ในแดนดิ

สัญญามีตรามั่น ก็
จะเรียก
กระดา
ษชิ้น
ละทิ้งธรรมะสิ้น เพราะอ้
างคำว่าจ
ำเป็น
หญิงชายและทารก ก็จะตกที่
ลำเค็ญ
ถูกราญประหารเห็น บ่มิมีอะไ
รขวาง
ฝ่ายพวกอธรรมเหิม ก็จะเริ่ม
จะริทา

ทำการประหารอย่าง ที่มนุษย์
มิเคยใช้
ฝ่ายพวกที่รักธรรม ถึง
จะคิดร
ะอาใจ
ก็คงมิยอมให้ พวกอธ
รรม
ได้สมหวั

จะชวนกันรวบรวม พลกาจ
กำลังข
ลัง
รวมทรัพย์สะพรึบพรั่ง เป็นสัมพั
นธไมต
รี
ช่วยกันประจัญต่อ พวกอธ
รรมเ
สนี
เข้มแข็งคำแหงมี สุจริตธ
รรมะ
สนอง
ลงท้ายฝ่ายธรรมะ จะชนะดั
งใจปอง
อธรรมะคงต้อง ปราชัย
เป็นแน่น
อน
อันว่ามนุษย์โลก ยังโชคดี
ไม่ย่อหย่
อน
อธรรมะราญรอน ก็ชำนะแ
ต่ชั่วพัก
ภายหลังข้างฝ่ายธรร

จะชำนะ
ประสิท
ธิ์ศักดิ์
เพราะธรรมะย่อมรักษ์ ผู้ประพฤ
ติ ณ
คลองธ
รรม
อันคำเราทำนาย ชน
ทั้งหลา
ยจงจดจ

จงมุ่งถนอมธรรม เถิดจะ
ได้เจริ
ญสุข
ถึงแม้อธรรมข่ม ขี่อารม
ณ์
ให้มีทุกข์
ลงท้ายเมื่อหมดยุค ก็จะ
ได้เกษม
ศานต์
ถือธรรมะผ่องใส จึ่งจะได้
เป็นสุขส
ราญ
ถือธรรมะเที่ยงนาน ก็จะ
ได้ไปสู่ส
วรรค์ ฯ
ฝ่ายฝูงสิริเทพกัญญา ก็โปรย
บุปผา
มาเกลื่อน ณ พื้น ปัถพี
แล้วธรรมะเทพฤทธี ตรัสสั่งเ
สนีย์
ให้เคลื่อนขบวนโยธา
ลอยล่องฟ่องในเวลา ดำเนินเวี
ยนขวา
ไปรอบทวีปชมพู ฯ
(เชิด)
ราม ร.
พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์, สนามจันทร์, วันที่
๑๓ กุมภาพันธ์, พ.ศ. ๒๔๖๑


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 5 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร