วันเวลาปัจจุบัน 23 เม.ย. 2024, 23:51  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 18 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2014, 05:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เราถกเถียงกันเรื่อง รูปนาม นามรูป กายใจ เรื่องจิต เจตสิก อนัตตา โสดาบัน สติ ปัญญา ไม่อินังขังขอบ...ตะบอย ตะอะไรต่ออะไร (ของอโศก) มามากแล้ว เรามาถกเรื่องศีลกันบ้าง คือ ไปเห็นเขาตั้งแลกเปลี่ยนทัศนะกันที่บอร์ดหนึ่ง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2014, 05:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คำถามเค้าสั้นๆ "คำว่า "ศีล" ในมุมมองของคุณคือยังไง ครับ" :b1:


มุมมองของอโศก ยังไง ครับ เรื่องนี้ :b14: เลิกอยากเป็นโสดาบันสักกระทู้นะขอรับ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2014, 11:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
คำถามเค้าสั้นๆ "คำว่า "ศีล" ในมุมมองของคุณคือยังไง ครับ" :b1:


มุมมองของอโศก ยังไง ครับ เรื่องนี้ :b14: เลิกอยากเป็นโสดาบันสักกระทู้นะขอรับ :b32:

:b43:
ศีล....ศีลา.....ศิลา.......ปกติ......มั่นคงดุจภูผา ศิลา หิน

ลองนั่งนิ่งๆ เฉยๆ สังเกตดูในกายในใจให้ดี ตอนที่ยังไม่มีกิจกรรมใดๆเกิดขึ้นทั้งในกายในใจ เราจะได้พบกับสภาวะที่เรียกว่า "ปกติ".....ตรงจุดนี้แหละที่เรียกอีกอย่างหนึ่งก็ได้ ว่า "ศีล"

เมื่อมีกิจกรรมใดเกิดขึ้นกับ ใจ วาจา กาย แล้วจิตใจไม่กระเพื่อม สั่นไหว ไม่เสียศูนย์ คงความเป็นปกติได้ดีและรวดเร็ว แสดงว่ากิจกรรมนั้นไม่ทำให้ผิดศีล หรือไม่ทำให้ผิดปกติ อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบุญเป็นกุศลทั้งหลาย

แต่เมือ่ใดมีกิจกรรมทางกาย วาจา ใจ เกิดขึ้นแล้ว ทำให้จิตใจกระเพื่อม หวั่นไหว เสียศูนย์ เสียความปกติไป แสดงว่ากิจกรรมนั้นทำให้ผิดศีล สูญเสียความมั่นคง อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบาป อกุศล ล่วงศีลทั้งหลาย
smiley
หยาบออกมาอีกนิดหนึ่งเป็นบัญญัติ

ศีลแปลว่า ข้อห้าม ไม่ให้ทำ

ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ

:b40:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2014, 14:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คำถามเค้าสั้นๆ "คำว่า "ศีล" ในมุมมองของคุณคือยังไง ครับ" :b1:


มุมมองของอโศก ยังไง ครับ เรื่องนี้ :b14: เลิกอยากเป็นโสดาบันสักกระทู้นะขอรับ :b32:

:b43:
ศีล....ศีลา.....ศิลา.......ปกติ......มั่นคงดุจภูผา ศิลา หิน

ลองนั่งนิ่งๆ เฉยๆ สังเกตดูในกายในใจให้ดี ตอนที่ยังไม่มีกิจกรรมใดๆเกิดขึ้นทั้งในกายในใจ เราจะได้พบกับสภาวะที่เรียกว่า "ปกติ".....ตรงจุดนี้แหละที่เรียกอีกอย่างหนึ่งก็ได้ ว่า "ศีล"

เมื่อมีกิจกรรมใดเกิดขึ้นกับ ใจ วาจา กาย แล้วจิตใจไม่กระเพื่อม สั่นไหว ไม่เสียศูนย์ คงความเป็นปกติได้ดีและรวดเร็ว แสดงว่ากิจกรรมนั้นไม่ทำให้ผิดศีล หรือไม่ทำให้ผิดปกติ อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบุญเป็นกุศลทั้งหลาย

แต่เมือ่ใดมีกิจกรรมทางกาย วาจา ใจ เกิดขึ้นแล้ว ทำให้จิตใจกระเพื่อม หวั่นไหว เสียศูนย์ เสียความปกติไป แสดงว่ากิจกรรมนั้นทำให้ผิดศีล สูญเสียความมั่นคง อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบาป อกุศล ล่วงศีลทั้งหลาย
smiley
หยาบออกมาอีกนิดหนึ่งเป็นบัญญัติ

ศีลแปลว่า ข้อห้าม ไม่ให้ทำ

ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ

:b40:


อ้างคำพูด:
ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ


ทั้งหมดทั้งมวลที่ว่ามานั่นว่า ตำราหรือว่าตามอารมณ์ฉันขอรับ :b1:


ทำงานทำการเลี้ยงชีวิตนี่เป็นศีลไหมขอรับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2014, 18:48 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คำถามเค้าสั้นๆ "คำว่า "ศีล" ในมุมมองของคุณคือยังไง ครับ" :b1:


มุมมองของอโศก ยังไง ครับ เรื่องนี้ :b14: เลิกอยากเป็นโสดาบันสักกระทู้นะขอรับ :b32:

:b43:
ศีล....ศีลา.....ศิลา.......ปกติ......มั่นคงดุจภูผา ศิลา หิน

ลองนั่งนิ่งๆ เฉยๆ สังเกตดูในกายในใจให้ดี ตอนที่ยังไม่มีกิจกรรมใดๆเกิดขึ้นทั้งในกายในใจ เราจะได้พบกับสภาวะที่เรียกว่า "ปกติ".....ตรงจุดนี้แหละที่เรียกอีกอย่างหนึ่งก็ได้ ว่า "ศีล"

เมื่อมีกิจกรรมใดเกิดขึ้นกับ ใจ วาจา กาย แล้วจิตใจไม่กระเพื่อม สั่นไหว ไม่เสียศูนย์ คงความเป็นปกติได้ดีและรวดเร็ว แสดงว่ากิจกรรมนั้นไม่ทำให้ผิดศีล หรือไม่ทำให้ผิดปกติ อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบุญเป็นกุศลทั้งหลาย

แต่เมือ่ใดมีกิจกรรมทางกาย วาจา ใจ เกิดขึ้นแล้ว ทำให้จิตใจกระเพื่อม หวั่นไหว เสียศูนย์ เสียความปกติไป แสดงว่ากิจกรรมนั้นทำให้ผิดศีล สูญเสียความมั่นคง อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบาป อกุศล ล่วงศีลทั้งหลาย
smiley
หยาบออกมาอีกนิดหนึ่งเป็นบัญญัติ

ศีลแปลว่า ข้อห้าม ไม่ให้ทำ

ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ

:b40:


อ้างคำพูด:
ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ


ทั้งหมดทั้งมวลที่ว่ามานั่นว่า ตำราหรือว่าตามอารมณ์ฉันขอรับ :b1:


ทำงานทำการเลี้ยงชีวิตนี่เป็นศีลไหมขอรับ

:b44:
ทั้งหมดทีว่ามานั้นว่าตามสัมผัสของใจที่มีต่อสภาวธรรมที่ปรากฏขึ้นกับจิต มีบัญญัติจากตำรามาใช้วยเพื่อสื่อกันให้รูเรื่อง

การทำงานทำการเลี้ยงชีวิต เป็นความดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตรอด (Survival for Fitted)ไม่ใช่ศีล แต่พึงควรมีศีลมากำกับ เพื่อให้ได้อยู่เป็นสุขไม่ทุกข์ไม่เดือดร้อนจากการทำมาหากินนั้น ครับผม


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2014, 19:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คำถามเค้าสั้นๆ "คำว่า "ศีล" ในมุมมองของคุณคือยังไง ครับ" :b1:


มุมมองของอโศก ยังไง ครับ เรื่องนี้ :b14: เลิกอยากเป็นโสดาบันสักกระทู้นะขอรับ :b32:

:b43:
ศีล....ศีลา.....ศิลา.......ปกติ......มั่นคงดุจภูผา ศิลา หิน

ลองนั่งนิ่งๆ เฉยๆ สังเกตดูในกายในใจให้ดี ตอนที่ยังไม่มีกิจกรรมใดๆเกิดขึ้นทั้งในกายในใจ เราจะได้พบกับสภาวะที่เรียกว่า "ปกติ".....ตรงจุดนี้แหละที่เรียกอีกอย่างหนึ่งก็ได้ ว่า "ศีล"

เมื่อมีกิจกรรมใดเกิดขึ้นกับ ใจ วาจา กาย แล้วจิตใจไม่กระเพื่อม สั่นไหว ไม่เสียศูนย์ คงความเป็นปกติได้ดีและรวดเร็ว แสดงว่ากิจกรรมนั้นไม่ทำให้ผิดศีล หรือไม่ทำให้ผิดปกติ อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบุญเป็นกุศลทั้งหลาย

แต่เมือ่ใดมีกิจกรรมทางกาย วาจา ใจ เกิดขึ้นแล้ว ทำให้จิตใจกระเพื่อม หวั่นไหว เสียศูนย์ เสียความปกติไป แสดงว่ากิจกรรมนั้นทำให้ผิดศีล สูญเสียความมั่นคง อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบาป อกุศล ล่วงศีลทั้งหลาย
smiley
หยาบออกมาอีกนิดหนึ่งเป็นบัญญัติ

ศีลแปลว่า ข้อห้าม ไม่ให้ทำ

ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ

:b40:


อ้างคำพูด:
ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ


ทั้งหมดทั้งมวลที่ว่ามานั่นว่า ตำราหรือว่าตามอารมณ์ฉันขอรับ :b1:


ทำงานทำการเลี้ยงชีวิตนี่เป็นศีลไหมขอรับ

:b44:
ทั้งหมดทีว่ามานั้นว่าตามสัมผัสของใจที่มีต่อสภาวธรรมที่ปรากฏขึ้นกับจิต มีบัญญัติจากตำรามาใช้วยเพื่อสื่อกันให้รูเรื่อง

การทำงานทำการเลี้ยงชีวิต เป็นความดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตรอด (Survival for Fitted)ไม่ใช่ศีล แต่พึงควรมีศีลมากำกับ เพื่อให้ได้อยู่เป็นสุขไม่ทุกข์ไม่เดือดร้อนจากการทำมาหากินนั้น ครับผม



อ้างคำพูด:
ทั้งหมดทีว่ามานั้นว่าตามสัมผัสของใจที่มีต่อสภาวธรรมที่ปรากฏขึ้นกับจิต มีบัญญัติจากตำรามาใช้วยเพื่อสื่อกันให้รูเรื่อง



ตำราไหนยกมาเทียบให้ดูหน่อยสิครับ :b1:


อ้างคำพูด:
การทำงานทำการเลี้ยงชีวิต เป็นความดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตรอด (Survival for Fitted) ไม่ใช่ศีล



สัมมาอาชีวะ ไม่ใช่ศีลหรือขอรับ


ปาณาติปาตา เวรมณี สิกขาปทัง สมาทิยามิ ฯลฯ ไม่ใช่ศีลหรือขอรับ :b1:


ชาวพุทธส่วนมากคิดๆคล้ายๆอโศกนี่่ คือ มองพุทธธรรมออกไปนอกโลก พ้นจากคนไม่เกี่ยวกับคน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 เม.ย. 2014, 21:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คำถามเค้าสั้นๆ "คำว่า "ศีล" ในมุมมองของคุณคือยังไง ครับ" :b1:


มุมมองของอโศก ยังไง ครับ เรื่องนี้ :b14: เลิกอยากเป็นโสดาบันสักกระทู้นะขอรับ :b32:

:b43:
ศีล....ศีลา.....ศิลา.......ปกติ......มั่นคงดุจภูผา ศิลา หิน

ลองนั่งนิ่งๆ เฉยๆ สังเกตดูในกายในใจให้ดี ตอนที่ยังไม่มีกิจกรรมใดๆเกิดขึ้นทั้งในกายในใจ เราจะได้พบกับสภาวะที่เรียกว่า "ปกติ".....ตรงจุดนี้แหละที่เรียกอีกอย่างหนึ่งก็ได้ ว่า "ศีล"

เมื่อมีกิจกรรมใดเกิดขึ้นกับ ใจ วาจา กาย แล้วจิตใจไม่กระเพื่อม สั่นไหว ไม่เสียศูนย์ คงความเป็นปกติได้ดีและรวดเร็ว แสดงว่ากิจกรรมนั้นไม่ทำให้ผิดศีล หรือไม่ทำให้ผิดปกติ อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบุญเป็นกุศลทั้งหลาย

แต่เมือ่ใดมีกิจกรรมทางกาย วาจา ใจ เกิดขึ้นแล้ว ทำให้จิตใจกระเพื่อม หวั่นไหว เสียศูนย์ เสียความปกติไป แสดงว่ากิจกรรมนั้นทำให้ผิดศีล สูญเสียความมั่นคง อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบาป อกุศล ล่วงศีลทั้งหลาย
smiley
หยาบออกมาอีกนิดหนึ่งเป็นบัญญัติ

ศีลแปลว่า ข้อห้าม ไม่ให้ทำ

ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ

:b40:


อ้างคำพูด:
ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ


ทั้งหมดทั้งมวลที่ว่ามานั่นว่า ตำราหรือว่าตามอารมณ์ฉันขอรับ :b1:


ทำงานทำการเลี้ยงชีวิตนี่เป็นศีลไหมขอรับ

:b44:
ทั้งหมดทีว่ามานั้นว่าตามสัมผัสของใจที่มีต่อสภาวธรรมที่ปรากฏขึ้นกับจิต มีบัญญัติจากตำรามาใช้วยเพื่อสื่อกันให้รูเรื่อง

การทำงานทำการเลี้ยงชีวิต เป็นความดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตรอด (Survival for Fitted)ไม่ใช่ศีล แต่พึงควรมีศีลมากำกับ เพื่อให้ได้อยู่เป็นสุขไม่ทุกข์ไม่เดือดร้อนจากการทำมาหากินนั้น ครับผม



อ้างคำพูด:
ทั้งหมดทีว่ามานั้นว่าตามสัมผัสของใจที่มีต่อสภาวธรรมที่ปรากฏขึ้นกับจิต มีบัญญัติจากตำรามาใช้วยเพื่อสื่อกันให้รูเรื่อง



ตำราไหนยกมาเทียบให้ดูหน่อยสิครับ :b1:


อ้างคำพูด:
การทำงานทำการเลี้ยงชีวิต เป็นความดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตรอด (Survival for Fitted) ไม่ใช่ศีล



สัมมาอาชีวะ ไม่ใช่ศีลหรือขอรับ


ปาณาติปาตา เวรมณี สิกขาปทัง สมาทิยามิ ฯลฯ ไม่ใช่ศีลหรือขอรับ :b1:


ชาวพุทธส่วนมากคิดๆคล้ายๆอโศกนี่่ คือ มองพุทธธรรมออกไปนอกโลก พ้นจากคนไม่เกี่ยวกับคน


:b12:
คำถามของกรัชกาย

1.ตำราไหน ยกมาเทียบให้ดูหน่อยซิครับ

ตอบ..ตำราเล่มที่กว้างศอก ยาววา หนาคืบ นี่ยังไงละครับ เป็นต้นฉบับของพระไตรปิฎกทั้ง 84,000 พระธรรมขันธ์เลยเชียวนะ สำคัญว่ากรัชกายอ่านเป็นหนือเปล่า เรียนตำรานอกมาเยอะๆอย่างนี้นะ

2.สัมมาอาชีวะ ไม่ใช่ศีล หรือครับ

ตอบ..ดูให้ดีๆ ...อาชีวะ.....ไม่ใช่ศีล
สัมมา ....คือตัวศีล

ปาณาติปาตา..........เป็นบัญญัติศีลข้อที่ 1

คนที่ละเว้นจากการฆ่าและเบียดเบียนเพราะเชื่อถือยอมรับปฏิบัติตามบัญญัติศีลข้อที่1 เป็นผู้รับผลของศีล
:b11:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 เม.ย. 2014, 22:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คำถามเค้าสั้นๆ "คำว่า "ศีล" ในมุมมองของคุณคือยังไง ครับ" :b1:


มุมมองของอโศก ยังไง ครับ เรื่องนี้ :b14: เลิกอยากเป็นโสดาบันสักกระทู้นะขอรับ :b32:

:b43:
ศีล....ศีลา.....ศิลา.......ปกติ......มั่นคงดุจภูผา ศิลา หิน

ลองนั่งนิ่งๆ เฉยๆ สังเกตดูในกายในใจให้ดี ตอนที่ยังไม่มีกิจกรรมใดๆเกิดขึ้นทั้งในกายในใจ เราจะได้พบกับสภาวะที่เรียกว่า "ปกติ".....ตรงจุดนี้แหละที่เรียกอีกอย่างหนึ่งก็ได้ ว่า "ศีล"

เมื่อมีกิจกรรมใดเกิดขึ้นกับ ใจ วาจา กาย แล้วจิตใจไม่กระเพื่อม สั่นไหว ไม่เสียศูนย์ คงความเป็นปกติได้ดีและรวดเร็ว แสดงว่ากิจกรรมนั้นไม่ทำให้ผิดศีล หรือไม่ทำให้ผิดปกติ อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบุญเป็นกุศลทั้งหลาย

แต่เมือ่ใดมีกิจกรรมทางกาย วาจา ใจ เกิดขึ้นแล้ว ทำให้จิตใจกระเพื่อม หวั่นไหว เสียศูนย์ เสียความปกติไป แสดงว่ากิจกรรมนั้นทำให้ผิดศีล สูญเสียความมั่นคง อันได้แก่กิจกรรมที่เป็นบาป อกุศล ล่วงศีลทั้งหลาย
smiley
หยาบออกมาอีกนิดหนึ่งเป็นบัญญัติ

ศีลแปลว่า ข้อห้าม ไม่ให้ทำ

ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ

:b40:


อ้างคำพูด:
ธรรม แปลว่า ข้อแนะนำให้ประพฤติปฏิบัติ


ทั้งหมดทั้งมวลที่ว่ามานั่นว่า ตำราหรือว่าตามอารมณ์ฉันขอรับ :b1:


ทำงานทำการเลี้ยงชีวิตนี่เป็นศีลไหมขอรับ

:b44:
ทั้งหมดทีว่ามานั้นว่าตามสัมผัสของใจที่มีต่อสภาวธรรมที่ปรากฏขึ้นกับจิต มีบัญญัติจากตำรามาใช้วยเพื่อสื่อกันให้รูเรื่อง

การทำงานทำการเลี้ยงชีวิต เป็นความดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตรอด (Survival for Fitted)ไม่ใช่ศีล แต่พึงควรมีศีลมากำกับ เพื่อให้ได้อยู่เป็นสุขไม่ทุกข์ไม่เดือดร้อนจากการทำมาหากินนั้น ครับผม



อ้างคำพูด:
ทั้งหมดทีว่ามานั้นว่าตามสัมผัสของใจที่มีต่อสภาวธรรมที่ปรากฏขึ้นกับจิต มีบัญญัติจากตำรามาใช้วยเพื่อสื่อกันให้รูเรื่อง



ตำราไหนยกมาเทียบให้ดูหน่อยสิครับ :b1:


อ้างคำพูด:
การทำงานทำการเลี้ยงชีวิต เป็นความดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตรอด (Survival for Fitted) ไม่ใช่ศีล



สัมมาอาชีวะ ไม่ใช่ศีลหรือขอรับ


ปาณาติปาตา เวรมณี สิกขาปทัง สมาทิยามิ ฯลฯ ไม่ใช่ศีลหรือขอรับ :b1:


ชาวพุทธส่วนมากคิดๆคล้ายๆอโศกนี่่ คือ มองพุทธธรรมออกไปนอกโลก พ้นจากคนไม่เกี่ยวกับคน


:b12:
คำถามของกรัชกาย

1.ตำราไหน ยกมาเทียบให้ดูหน่อยซิครับ

ตอบ..ตำราเล่มที่กว้างศอก ยาววา หนาคืบ นี่ยังไงละครับ เป็นต้นฉบับของพระไตรปิฎกทั้ง 84,000 พระธรรมขันธ์เลยเชียวนะ สำคัญว่ากรัชกายอ่านเป็นหนือเปล่า เรียนตำรานอกมาเยอะๆอย่างนี้นะ

2.สัมมาอาชีวะ ไม่ใช่ศีล หรือครับ

ตอบ..ดูให้ดีๆ ...อาชีวะ.....ไม่ใช่ศีล
สัมมา ....คือตัวศีล

ปาณาติปาตา..........เป็นบัญญัติศีลข้อที่ 1

คนที่ละเว้นจากการฆ่าและเบียดเบียนเพราะเชื่อถือยอมรับปฏิบัติตามบัญญัติศีลข้อที่1 เป็นผู้รับผลของศีล
:b11:



อ้างคำพูด:
สัมมา ....คือตัวศีล



สัมมา เป็นศีล มั่วแระอโศก สัมมาแปลว่า ชอบ แค่นี้เอง มิจฉา ก็แปลว่า ผิด

สัมมาอาชีโว เลี้ยงชีพชอบ จัดอยู่ในองค์มรรค หมวดศีล มิจฉาอาชีโว เลี้ยงชีพผิด เลี้ยงชีพไม่ชอบ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2014, 16:17 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


s004
เขาบอกว่า "สัมมา คือตัวศีล" ไม่ได้บอกว่า สัมมา แปลว่า ชอบ

แปลก็ยังแปลผิดไม่ครบถ้วนกระบวนความอีก

ต้องแปลว่า ชอบ ถูกต้อง ดีงาม

ไปแปลว่าชอบคำเดียวเดี๋ยวก็โดนโห่หรอก ใครไม่รู้ไปพูดว่า

พี่สัมมาน้องนะ แปลว่า พี่ชอบน้องละซิ

คือตัวศีล คำนี้ มีความหมายลึกซึ้ง คนปัญญาทึ้ง คิดไม่ออกหรอก

คนปัญญาดีย่อมจะมีคำถามต่อไปด้วยความสุภาพเนียบร้อยว่า

"สัมมา เป็นตัวศีลได้อย่างไรขอรับ อาจารย์"

อย่างนี่อาจารย์จึงจะค่อยมีกำลังใจอธิบายให้ฟังยาวๆ (พิมพ์บนแทบเลทนี่มันบากและช้านะไม่มีกำลังใจไม่อยากพิมพ์หรอก)

ถ้าแปลคำว่าสัมมาครบถ้วนมันก็ง่ายสิ

ถูกต้อง ดีงาม......อาชีพที่ถูกต้องดีงามควรเป็นอย่างไรล่ะ

อาชีพที่ไม่ผิดและไม่สนับสนุนให้ทำผิดศีล 5 นั้นแหละคือ อาชีพที่ถูกต้อง ชอบ ดีงาม นีแปลอย่างหยาบ

ถ้าแปลอย่างละเอียดให้สัมพันธ์กับการเจริญมรรค 8 ต้องแปลลึกกว่านี้ กรัชกายจะมีปัญญารู้ถึงหรือเปล่า นัยยะที่ลึกกว่ายี้นี้
s004


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2014, 16:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
s004
เขาบอกว่า "สัมมา คือตัวศีล" ไม่ได้บอกว่า สัมมา แปลว่า ชอบ

แปลก็ยังแปลผิดไม่ครบถ้วนกระบวนความอีก

ต้องแปลว่า ชอบ ถูกต้อง ดีงาม

ไปแปลว่าชอบคำเดียวเดี๋ยวก็โดนโห่หรอก ใครไม่รู้ไปพูดว่า

พี่สัมมาน้องนะ แปลว่า พี่ชอบน้องละซิ

คือตัวศีล คำนี้ มีความหมายลึกซึ้ง คนปัญญาทึ้ง คิดไม่ออกหรอก

คนปัญญาดีย่อมจะมีคำถามต่อไปด้วยความสุภาพเนียบร้อยว่า

"สัมมา เป็นตัวศีลได้อย่างไรขอรับ อาจารย์"

อย่างนี่อาจารย์จึงจะค่อยมีกำลังใจอธิบายให้ฟังยาวๆ (พิมพ์บนแทบเลทนี่มันบากและช้านะไม่มีกำลังใจไม่อยากพิมพ์หรอก)

ถ้าแปลคำว่าสัมมาครบถ้วนมันก็ง่ายสิ

ถูกต้อง ดีงาม......อาชีพที่ถูกต้องดีงามควรเป็นอย่างไรล่ะ

อาชีพที่ไม่ผิดและไม่สนับสนุนให้ทำผิดศีล 5 นั้นแหละคือ อาชีพที่ถูกต้อง ชอบ ดีงาม นีแปลอย่างหยาบ

ถ้าแปลอย่างละเอียดให้สัมพันธ์กับการเจริญมรรค 8 ต้องแปลลึกกว่านี้ กรัชกายจะมีปัญญารู้ถึงหรือเปล่า นัยยะที่ลึกกว่ายี้นี้



ฮ้าๆๆ.. ยังมีลึกกว่านี้อีกหรอขอรับ อะไรน้ออยากรู้ ไหนลองว่าไปสิขอรับ คิกๆๆ ใครน้อช่างแปลได้ล้้ำลึกจนกรัชกายไม่รู้ อยากรู้ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2014, 17:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
s004
เขาบอกว่า "สัมมา คือตัวศีล" ไม่ได้บอกว่า สัมมา แปลว่า ชอบ

แปลก็ยังแปลผิดไม่ครบถ้วนกระบวนความอีก

ต้องแปลว่า ชอบ ถูกต้อง ดีงาม

ไปแปลว่าชอบคำเดียวเดี๋ยวก็โดนโห่หรอก ใครไม่รู้ไปพูดว่า

พี่สัมมาน้องนะ แปลว่า พี่ชอบน้องละซิ

คือตัวศีล คำนี้ มีความหมายลึกซึ้ง คนปัญญาทึ้ง คิดไม่ออกหรอก

คนปัญญาดีย่อมจะมีคำถามต่อไปด้วยความสุภาพเนียบร้อยว่า

"สัมมา เป็นตัวศีลได้อย่างไรขอรับ อาจารย์"

อย่างนี่อาจารย์จึงจะค่อยมีกำลังใจอธิบายให้ฟังยาวๆ (พิมพ์บนแทบเลทนี่มันบากและช้านะไม่มีกำลังใจไม่อยากพิมพ์หรอก)








อาการเหมือน อภิสิทธิ ที่อยากเป็นนายก จนตัวสั่น

โสกะก็เช่นกัน แถมมีการให้ติดสินบนอีก :b32:

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 เม.ย. 2014, 11:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:

อาการเหมือน อภิสิทธิ ที่อยากเป็นนายก จนตัวสั่น

โสกะก็เช่นกัน แถมมีการให้ติดสินบนอีก


ระยะนี้อโศกเป็นตำบลกระสุนตก จนเกิดอาการเมาหมัดโซซัดโซเซ เปิดตำราเปิดใจไม่ทันแล้ว คิกๆๆ สาวปากน้ำเพลาๆมือบ้างก็ได้ เพียงเท่านี้ท่านอโศกก็หายเพิ่มวันขึ้นเรื่อยๆแล้วเนี่ย คือ จากวันเป็นสองวัน จากสองเป็นสาม ฯลฯ เดี๋ยวเป็นปีเป็นชาติ :b32:

อย่างว่าของปลอมก็เงี้ยะแหละ ไม่ลอกไม่ดำ :b9: :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2014, 11:56 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
asoka เขียน:
s004
เขาบอกว่า "สัมมา คือตัวศีล" ไม่ได้บอกว่า สัมมา แปลว่า ชอบ

แปลก็ยังแปลผิดไม่ครบถ้วนกระบวนความอีก

ต้องแปลว่า ชอบ ถูกต้อง ดีงาม

ไปแปลว่าชอบคำเดียวเดี๋ยวก็โดนโห่หรอก ใครไม่รู้ไปพูดว่า

พี่สัมมาน้องนะ แปลว่า พี่ชอบน้องละซิ

คือตัวศีล คำนี้ มีความหมายลึกซึ้ง คนปัญญาทึ้ง คิดไม่ออกหรอก

คนปัญญาดีย่อมจะมีคำถามต่อไปด้วยความสุภาพเนียบร้อยว่า

"สัมมา เป็นตัวศีลได้อย่างไรขอรับ อาจารย์"

อย่างนี่อาจารย์จึงจะค่อยมีกำลังใจอธิบายให้ฟังยาวๆ (พิมพ์บนแทบเลทนี่มันบากและช้านะไม่มีกำลังใจไม่อยากพิมพ์หรอก)








อาการเหมือน อภิสิทธิ ที่อยากเป็นนายก จนตัวสั่น

โสกะก็เช่นกัน แถมมีการให้ติดสินบนอีก :b32:

:b13:
แค่ยกตัวอย่างการถามด้วยความเคารพ ก็สามารถกระตุกต่อม.....ของน้องวลัยพรได้เหมือนกันแฮะ
:b3:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2014, 12:10 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
s004
เขาบอกว่า "สัมมา คือตัวศีล" ไม่ได้บอกว่า สัมมา แปลว่า ชอบ

แปลก็ยังแปลผิดไม่ครบถ้วนกระบวนความอีก

ต้องแปลว่า ชอบ ถูกต้อง ดีงาม

ไปแปลว่าชอบคำเดียวเดี๋ยวก็โดนโห่หรอก ใครไม่รู้ไปพูดว่า

พี่สัมมาน้องนะ แปลว่า พี่ชอบน้องละซิ

คือตัวศีล คำนี้ มีความหมายลึกซึ้ง คนปัญญาทึ้ง คิดไม่ออกหรอก

คนปัญญาดีย่อมจะมีคำถามต่อไปด้วยความสุภาพเนียบร้อยว่า

"สัมมา เป็นตัวศีลได้อย่างไรขอรับ อาจารย์"

อย่างนี่อาจารย์จึงจะค่อยมีกำลังใจอธิบายให้ฟังยาวๆ (พิมพ์บนแทบเลทนี่มันบากและช้านะไม่มีกำลังใจไม่อยากพิมพ์หรอก)

ถ้าแปลคำว่าสัมมาครบถ้วนมันก็ง่ายสิ

ถูกต้อง ดีงาม......อาชีพที่ถูกต้องดีงามควรเป็นอย่างไรล่ะ

อาชีพที่ไม่ผิดและไม่สนับสนุนให้ทำผิดศีล 5 นั้นแหละคือ อาชีพที่ถูกต้อง ชอบ ดีงาม นีแปลอย่างหยาบ

ถ้าแปลอย่างละเอียดให้สัมพันธ์กับการเจริญมรรค 8 ต้องแปลลึกกว่านี้ กรัชกายจะมีปัญญารู้ถึงหรือเปล่า นัยยะที่ลึกกว่ายี้นี้



ฮ้าๆๆ.. ยังมีลึกกว่านี้อีกหรอขอรับ อะไรน้ออยากรู้ ไหนลองว่าไปสิขอรับ คิกๆๆ ใครน้อช่างแปลได้ล้้ำลึกจนกรัชกายไม่รู้ อยากรู้ :b1:

:b8:
"สัมมาวิหาเรยุง อสุญโยโลโก อรหันเตหิ" "ตราบใดที่ยังมีผู้เจริญสัมมา (ทั้ง 8 ข้อ) ตราบนั้นโลกนี้จักไม่ว่างจากพระอรหันต์"

มรรคทั้ง 8 ข้อ แบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ ปัญญา....ศีล.....สมาธิ

ปัญญา ศีล สมาธิ ธรรมดาๆ ชี้ไปได้หลายวัตถุประสงค์

ปัญญา ศีล สมาธิ ที่เป็นสัมมา จะชี้ไปที่เดียวคือ นิพพาน ถ้าชี้ไปที่เป้าประสงค์อื่น ถือเป็น มิจฉา ทั้งสิ้น


ตั้วอย่างเช่นศีลมรรคข้อที่ 2 สัมมาอาชีวะ การประกอบอาชีพชอบ คือการทำมาหากินเพื่อให้ได้ปัจจัย 4 มาเลี้ยงชีวิตจนมีเวลาเหลือพอที่จะได้เจริญวิปัสสนาภาวนา หรือมรรคมีองค์ 8

สมาธิมรรคข้อที่ 2 สัมมาสติ....คือความระลึกรู้อยู่กับปัจจุบันอารมณ์ ระลึกได้ว่าจะต้องเจริญมรรค 8 ไม่ลืมวิธีเจริญมรรค 8 เพื่อให้ถึง มรรค ผล นิพพาน ที่สงบเย็น
:b11:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 พ.ค. 2014, 21:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คำสอน และหลักปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสังคม และสะท้อนถึงเจตนารมณ์ของพระพุทธศาสนา ในด้านความสัมพันธ์ทางสังคมได้มากที่สุด ก็คือ คำสอนและหลักปฏิบัติในขั้นศีล เพราะศีลเป็นระบบการควบคุมชีวิตด้านนอก เกี่ยวด้วยการแสดงออกทางกายวาจา เป็นระเบียบว่าด้วยความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน การดำเนินกิจการต่างๆ ของหมู่ชน การจัดสภาพความเป็นอยู่ และส่ิงแวดล้อม ให้เรียบร้อยและเกื้อกูลแก่การดำรงอยู่ด้วยดีของหมู่ชนนั้น และแก่ความผาสุกแห่งสมาชิกทั้งปวงของหมู่ชน อันจะเอื้ออำนวยให้ทุกคนสามารถบำเพ็ญกิจกรณีย์ที่ดีงามยิ่งๆขึ้นไป เพื่อบรรลุจุดหมายอยู่สุดของชีวิตตามความตกลงนับถือของพวกตน หรือเพื่อเข้าถึงประโยชน์ และความดีงามสูงสุด ตามอุดมการณ์ของหมู่ชนนั้น ตลอดจนเกื้อกูลแก่การที่หมู่ชนนั้นจะเผยแพร่อุดมการณ์ กิจการ และประโยชน์สุข ความดีงามของตนให้แผ่ขยายกว้างขวางออกไป


ศีลพื้นฐาน หรือขั้นศีลที่สุด ก็คือ การไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ว่าด้วยกาย หรือวาจา และการไม่ทำลายสติสัมปชัญญะที่เป็นตัวคุ้มศีลของตน ศีลขั้นต้นสุดนี้ นิยมเรียกว่า ศีล ๕

เรื่องศีลกับสังคม หรือคำสอนในพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับสังคมนั้น เป็นเรื่องใหญ่ มีขอบเขตกว้าง

สามคำสำคัญในชุดของศีล: ศีล วินัย สิกขาบท


ในเบื้องต้น จะต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับถ้อยคำเล็กน้อย คือ คำว่า ศีล นี้ เราพูดอย่า่งชาวบ้านว่าเป็นคำพระคำหนึ่ง และคำพระแทบทุกคำก็มาาจากภาษาบาลี

บรรดาคำเหล่านี้ แต่เิดิม ในภาษาบาลีเอง หลายคำมีความหมายแยกไปได้หลายนัย ซับซ้อนอยู่แล้ว พอนำมาใช้ในภาษาไทย พูดต่อๆกันไป ความหมายที่เข้าใจก็ผิดเพี้ยนคลาดเคลื่อนไปต่างๆ บางคำถึงกับมีความหมายกลายเป็นตรงข้ามจากเดิมก็มี จึงต้องคอยซักซ้อมทบทวนกันไว้ให้ดี


ศีล ที่แปลง่ายๆว่า ความประพฤติที่ดีนี้ มีคำในชุดเดียวกันที่สำคัญ ซึ่งควรเข้าใจให้ชัด และแยกกันให้ถูก รวม ๓ คำ คือ ศีล วินัย และสิกขาบท ทั้ง ๓ คำนี้ ในภาษาบาลีเดิม มีความหมายแยกต่างหากกันชัดเจน แต่บางครั้ง มีการใช้แบบหลวมๆ หรือแบบภาษาชาวบ้าน โดยในบางโอกาสก็ใช้แทนกันบ้าง แต่ถ้าพูดกันเป็นงานเป็นการ อย่างที่เรียกว่าเป็นวิชาการ ก็ใช้ในความหมายที่เคร่งครัด แยกกันออกไป ไม่ให้สับสนปนเป ส่วนในภาษาไทย คำพระจากภาษาบาลีเหล่านี้ ได้ใช้ปนเปและผิดเพี้ยนไปไม่น้อยแล้ว คงแก้ไม่ไหว ผู้ที่่ศึกษาควรรู้ตระหนักไว้ และใช้อย่่่่่่่างรู้เท่าทัน โดยมีความเข้าใจในความหมายที่แท้ชัดแจ้งอยู่ภายในของตน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 18 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 60 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร