วันเวลาปัจจุบัน 16 เม.ย. 2024, 22:40  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 121 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 18:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


หญิงไทย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:



พระเทวทัตเคยทูลขอให้พระฉันมังสวิรัติเท่านั้นพระองค์ไม่อนุญาติ


นี่ก็ยึดมั่นครงเด่เชีย :b32: ไม่ดูตาม้าตาเรือ นี่แหละเขาเรียกศรัทธาบังตาปัญญา

ก็เพราะพระพุทธเจ้า ต้องการให้กินอาหารหลากหลายไง :b1: เพราะพระภิกษุต้องอาศัยชาวบ้าน ชาวบ้านเขาใส่อะไรก็กิน ไม่เห็นมีอะไรต้องคิดมาก :b1:
ที่พระเทวทัตทูลขอ
พระเทวทัตรู้อยู่แล้วว่าพระองค์ไม่ทรงอนุญาติเพียงแตพระเทวทัตต้องการให้พวกลูกศิษย์ตนเองนั้นดูว่าตนเองเคร่งครับ กรัชกายบอกว่าให้กินหลากหลายแล้วทำไมปฎิเสธเนื้อละหรือกรัชกายอยากเคร่งกว่าคนอื่น

amazing อย่าใส่ร้ายพระเทวทัต รู้ได้ไงว่าพระเทวทัตคิดอะไร
รู้ได้ไงว่าพระเทวทัตรู้ว่าพระพุทธเจ้าคิดอะไร amazing เป็นเจ้า
หนูพลังมหัศจรรย์เหรอ จึงรู้ว่าพระพุทธเจ้าคิดอะไร พระเทวทัต
คิดอะไร จะเก่งกว่าพระสัพพัญญูเกินไปแล้วล่ะมั้ง
ผมจะบอกเรื่องนี้ให้นะพระเทวทัตอยากปกครองสงฆ์เลยหาอุบายที่จะไปขอในสิ่งที่ยากเพราะรู้ว่าพระองค์จะไม่อนุญาติ เช่นขอพระต้องอยู่โคนไม้ตลอดชีวิต ฉันมังสวิรัสอย่างเดียว ถือผ้าบังสกุลอย่างเดียวพระองค์ไม่อนุญาติพระเทวทัตได้โอกาสบอกว่าพระองค์ไม่เคร่งตัวพระเทวทัตเคร่งกว่าเพื่อจะให้ผู้คนนับถือในตัวเองเรื่อของเรื่อง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 18:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
หญิงไทย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:



พระเทวทัตเคยทูลขอให้พระฉันมังสวิรัติเท่านั้นพระองค์ไม่อนุญาติ


นี่ก็ยึดมั่นครงเด่เชีย :b32: ไม่ดูตาม้าตาเรือ นี่แหละเขาเรียกศรัทธาบังตาปัญญา

ก็เพราะพระพุทธเจ้า ต้องการให้กินอาหารหลากหลายไง :b1: เพราะพระภิกษุต้องอาศัยชาวบ้าน ชาวบ้านเขาใส่อะไรก็กิน ไม่เห็นมีอะไรต้องคิดมาก :b1:
ที่พระเทวทัตทูลขอ
พระเทวทัตรู้อยู่แล้วว่าพระองค์ไม่ทรงอนุญาติเพียงแตพระเทวทัตต้องการให้พวกลูกศิษย์ตนเองนั้นดูว่าตนเองเคร่งครับ กรัชกายบอกว่าให้กินหลากหลายแล้วทำไมปฎิเสธเนื้อละหรือกรัชกายอยากเคร่งกว่าคนอื่น

amazing อย่าใส่ร้ายพระเทวทัต รู้ได้ไงว่าพระเทวทัตคิดอะไร
รู้ได้ไงว่าพระเทวทัตรู้ว่าพระพุทธเจ้าคิดอะไร amazing เป็นเจ้า
หนูพลังมหัศจรรย์เหรอ จึงรู้ว่าพระพุทธเจ้าคิดอะไร พระเทวทัต
คิดอะไร จะเก่งกว่าพระสัพพัญญูเกินไปแล้วล่ะมั้ง
ผมจะบอกเรื่องนี้ให้นะพระเทวทัตอยากปกครองสงฆ์เลยหาอุบายที่จะไปขอในสิ่งที่ยากเพราะรู้ว่าพระองค์จะไม่อนุญาติ เช่นขอพระต้องอยู่โคนไม้ตลอดชีวิต ฉันมังสวิรัสอย่างเดียว ถือผ้าบังสกุลอย่างเดียวพระองค์ไม่อนุญาติพระเทวทัตได้โอกาสบอกว่าพระองค์ไม่เคร่งตัวพระเทวทัตเคร่งกว่าเพื่อจะให้ผู้คนนับถือในตัวเองเรื่อของเรื่อง


บางครั้งนึกๆอยากเผาตำราทิ้ง :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 07 ต.ค. 2013, 18:29, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 18:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 18:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


หญิงไทย เขียน:
เอ้า amazing อย่าลืมมาตอบคำถามนะ เดี๋ยวว่างๆจะมาเอาคำตอบอีก2 - 3 วัน
อย่าลืมไปเตรียมตัวมาดีๆนะ วันนี้ขอไปพักก่อน หือ อะไรนะ อ๋อ ยังไม่เมื่อย แต่มีธุระ
ต้องสะสาง เดี๋ยวเจอกันใหม่นะ

เอาอย่างนี้ขี้เกียจถกเถียงมากผมถามแล้วคุณหาคำตอบเอง
คุณเชื่อพระปัญญาคุณพระพุทธเจ้ามั้ย?..........
ทำไม่คุณเชื่อว่ากิเจได้บุญในเมื่อพระพุทธเจ้าไม่ได้กล่าวไว้เลย?..........


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 18:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู
ท่ากรัชกายผู้รอบรู้บุญมีสามมาเพิ่มอีกเจ็ดเป็นเพราะอะไรครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 18:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 ส.ค. 2010, 18:54
โพสต์: 615

สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฏก อรรถกถา
ชื่อเล่น: พุทธฏีกา
อายุ: 0
ที่อยู่: ดอยสัพพัญญู

 ข้อมูลส่วนตัว www


กฎกติกา มารยาท ในการแสดงความคิดเห็น
viewtopic.php?f=11&t=39777

.....................................................
39777.กฎกติกา มารยาท และบทลงโทษ ในการใช้บอร์ด

42529.สีลัพพตปรามาส - สีลัพพตุปาทาน (สมเด็จพระญาณสังวรฯ)
44772.e-Book สัมมาทิฏฐิ ตามพระเถราธิบายของท่านพระสารีบุตรเถระ
พระไตรปิฎกมาแล้ว อรรถกถาอยู่ตรงไหน ตอนที่ 1 (ลานธรรมเสวนา)
พระไตรปิฎกมาแล้ว อรรถกถาอยู่ตรงไหน ตอนที่ 2 (ลานธรรมเสวนา)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 18:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู
ท่ากรัชกายผู้รอบรู้บุญมีสามมาเพิ่มอีกเจ็ดเป็นเพราะอะไรครับ



ปัดโธ่ :b1: ก็เพื่อให้มีช่องทางทำมากขึ้นสิขอรับ สังเกตการขยายของพระพุทธเจ้าดิ เดิมเ๋ป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่อนเพื่อให้ชาวพุทธซึ่งเป็นชาวบ้านซึ่งอยู่ห่า่งรัตนไตรมีช่องทำมากขึ้น ก็เพิ่ม ทานเข้ามา เ็ป็น ทาน ศีล ภาวนา (ภาวนาท่านเน้นเมตตาภาวนา) มาอีกยุคสมัยหนึ่ง ก็เพิ่มอีกเจ็ดข้อ ดังที่เห็น จำง่ายๆว่า ทาน ศีล ภาวนา วาจาอ่อนน้อม ถ่อมตนรับใช้ เฉลี่ยให้ความดี มีใจอนุโมทนา ใฝ่่หาฟังธรรม นำไปปฏิบัติไม่เว้น ทำความเห็นให้ตรง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 18:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู
ท่ากรัชกายผู้รอบรู้บุญมีสามมาเพิ่มอีกเจ็ดเป็นเพราะอะไรครับ



ปัดโธ่ :b1: ก็เพื่อให้มีช่องทางทำมากขึ้นสิขอรับ สังเกตการขยายของพระพุทธเจ้าดิ เดิมเ๋ป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่อนเพื่อให้ชาวพุทธซึ่งเป็นชาวบ้านซึ่งอยู่ห่า่งรัตนไตรมีช่องทำมากขึ้น ก็เพิ่ม ทานเข้ามา เ็ป็น ทาน ศีล ภาวนา (ภาวนาท่านเน้นเมตตาภาวนา) มาอีกยุคสมัยหนึ่ง ก็เพิ่มอีกเจ็ดข้อ ดังที่เห็น จำง่ายๆว่า ทาน ศีล ภาวนา วาจาอ่อนน้อม ถ่อมตนรับใช้ เฉลี่ยให้ความดี มีใจอนุโมทนา ใฝ่่หาฟังธรรม นำไปปฏิบัติไม่เว้น ทำความเห็นให้ตรง

ใครเป็นคนเพิ่มครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 19:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู
ท่ากรัชกายผู้รอบรู้บุญมีสามมาเพิ่มอีกเจ็ดเป็นเพราะอะไรครับ



ปัดโธ่ :b1: ก็เพื่อให้มีช่องทางทำมากขึ้นสิขอรับ สังเกตการขยายของพระพุทธเจ้าดิ เดิมเ๋ป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่อนเพื่อให้ชาวพุทธซึ่งเป็นชาวบ้านซึ่งอยู่ห่า่งรัตนไตรมีช่องทำมากขึ้น ก็เพิ่ม ทานเข้ามา เ็ป็น ทาน ศีล ภาวนา (ภาวนาท่านเน้นเมตตาภาวนา) มาอีกยุคสมัยหนึ่ง ก็เพิ่มอีกเจ็ดข้อ ดังที่เห็น จำง่ายๆว่า ทาน ศีล ภาวนา วาจาอ่อนน้อม ถ่อมตนรับใช้ เฉลี่ยให้ความดี มีใจอนุโมทนา ใฝ่่หาฟังธรรม นำไปปฏิบัติไม่เว้น ทำความเห็นให้ตรง


ใครเป็นคนเพิ่มครับ


ก็บอกอยู่ไม่อ่านหรือ พระอรรถกาจารย์ไง คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 19:10 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู
ท่ากรัชกายผู้รอบรู้บุญมีสามมาเพิ่มอีกเจ็ดเป็นเพราะอะไรครับ



ปัดโธ่ :b1: ก็เพื่อให้มีช่องทางทำมากขึ้นสิขอรับ สังเกตการขยายของพระพุทธเจ้าดิ เดิมเ๋ป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่อนเพื่อให้ชาวพุทธซึ่งเป็นชาวบ้านซึ่งอยู่ห่า่งรัตนไตรมีช่องทำมากขึ้น ก็เพิ่ม ทานเข้ามา เ็ป็น ทาน ศีล ภาวนา (ภาวนาท่านเน้นเมตตาภาวนา) มาอีกยุคสมัยหนึ่ง ก็เพิ่มอีกเจ็ดข้อ ดังที่เห็น จำง่ายๆว่า ทาน ศีล ภาวนา วาจาอ่อนน้อม ถ่อมตนรับใช้ เฉลี่ยให้ความดี มีใจอนุโมทนา ใฝ่่หาฟังธรรม นำไปปฏิบัติไม่เว้น ทำความเห็นให้ตรง


ใครเป็นคนเพิ่มครับ


ก็บอกอยู่ไม่อ่านหรือ พระอรรถกาจารย์ไง คิกๆๆ
ตกลงพระพุทธเจ้าไม่ใช้สัพพัญญูต้องให้อรรถกถาจารย์เพิ่มให้ และที่พระองคทรงแสดงไว้ไม่ให้เพิ่มเติมตัดต่อก็ไม่ต้องเชื่อ เดียวพวกกินเจเติมเข้าไปอีกข้อน่าจะดีนะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 19:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู
ท่ากรัชกายผู้รอบรู้บุญมีสามมาเพิ่มอีกเจ็ดเป็นเพราะอะไรครับ



ปัดโธ่ :b1: ก็เพื่อให้มีช่องทางทำมากขึ้นสิขอรับ สังเกตการขยายของพระพุทธเจ้าดิ เดิมเ๋ป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่อนเพื่อให้ชาวพุทธซึ่งเป็นชาวบ้านซึ่งอยู่ห่า่งรัตนไตรมีช่องทำมากขึ้น ก็เพิ่ม ทานเข้ามา เ็ป็น ทาน ศีล ภาวนา (ภาวนาท่านเน้นเมตตาภาวนา) มาอีกยุคสมัยหนึ่ง ก็เพิ่มอีกเจ็ดข้อ ดังที่เห็น จำง่ายๆว่า ทาน ศีล ภาวนา วาจาอ่อนน้อม ถ่อมตนรับใช้ เฉลี่ยให้ความดี มีใจอนุโมทนา ใฝ่่หาฟังธรรม นำไปปฏิบัติไม่เว้น ทำความเห็นให้ตรง


ใครเป็นคนเพิ่มครับ


ก็บอกอยู่ไม่อ่านหรือ พระอรรถกาจารย์ไง คิกๆๆ


ตกลงพระพุทธเจ้าไม่ใช้สัพพัญญูต้องให้อรรถกถาจารย์เพิ่มให้ และที่พระองคทรงแสดงไว้ไม่ให้เพิ่มเติมตัดต่อก็ไม่ต้องเชื่อ เดียวพวกกินเจเติมเข้าไปอีกข้อน่าจะดีนะ


อเมสซิ่ง ถามหน่อยที่คุณอ่านพระสูตรนั่นน่ะ แน่ใจหรือว่า มิใช่สำนวนอรรถกถาจารย์ แน่ใจหรอ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 19:36 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู
ท่ากรัชกายผู้รอบรู้บุญมีสามมาเพิ่มอีกเจ็ดเป็นเพราะอะไรครับ



ปัดโธ่ :b1: ก็เพื่อให้มีช่องทางทำมากขึ้นสิขอรับ สังเกตการขยายของพระพุทธเจ้าดิ เดิมเ๋ป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่อนเพื่อให้ชาวพุทธซึ่งเป็นชาวบ้านซึ่งอยู่ห่า่งรัตนไตรมีช่องทำมากขึ้น ก็เพิ่ม ทานเข้ามา เ็ป็น ทาน ศีล ภาวนา (ภาวนาท่านเน้นเมตตาภาวนา) มาอีกยุคสมัยหนึ่ง ก็เพิ่มอีกเจ็ดข้อ ดังที่เห็น จำง่ายๆว่า ทาน ศีล ภาวนา วาจาอ่อนน้อม ถ่อมตนรับใช้ เฉลี่ยให้ความดี มีใจอนุโมทนา ใฝ่่หาฟังธรรม นำไปปฏิบัติไม่เว้น ทำความเห็นให้ตรง


ใครเป็นคนเพิ่มครับ


ก็บอกอยู่ไม่อ่านหรือ พระอรรถกาจารย์ไง คิกๆๆ


ตกลงพระพุทธเจ้าไม่ใช้สัพพัญญูต้องให้อรรถกถาจารย์เพิ่มให้ และที่พระองคทรงแสดงไว้ไม่ให้เพิ่มเติมตัดต่อก็ไม่ต้องเชื่อ เดียวพวกกินเจเติมเข้าไปอีกข้อน่าจะดีนะ


อเมสซิ่ง ถามหน่อยที่คุณอ่านพระสูตรนั่นน่ะ แน่ใจหรือว่า มิใช่สำนวนอรรถกถาจารย์ แน่ใจหรอ
คุณควรจะเปิดใจสำนักอื่นบ้างนะลองไปศึกษาพุทธวจนดูบ้าางไม่ใช่ยึดแต่พุทธรรมอย่างเดียวโลกจะได้กว้างขึ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 19:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู
ท่ากรัชกายผู้รอบรู้บุญมีสามมาเพิ่มอีกเจ็ดเป็นเพราะอะไรครับ



ปัดโธ่ :b1: ก็เพื่อให้มีช่องทางทำมากขึ้นสิขอรับ สังเกตการขยายของพระพุทธเจ้าดิ เดิมเ๋ป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่อนเพื่อให้ชาวพุทธซึ่งเป็นชาวบ้านซึ่งอยู่ห่า่งรัตนไตรมีช่องทำมากขึ้น ก็เพิ่ม ทานเข้ามา เ็ป็น ทาน ศีล ภาวนา (ภาวนาท่านเน้นเมตตาภาวนา) มาอีกยุคสมัยหนึ่ง ก็เพิ่มอีกเจ็ดข้อ ดังที่เห็น จำง่ายๆว่า ทาน ศีล ภาวนา วาจาอ่อนน้อม ถ่อมตนรับใช้ เฉลี่ยให้ความดี มีใจอนุโมทนา ใฝ่่หาฟังธรรม นำไปปฏิบัติไม่เว้น ทำความเห็นให้ตรง


ใครเป็นคนเพิ่มครับ


ก็บอกอยู่ไม่อ่านหรือ พระอรรถกาจารย์ไง คิกๆๆ


ตกลงพระพุทธเจ้าไม่ใช้สัพพัญญูต้องให้อรรถกถาจารย์เพิ่มให้ และที่พระองคทรงแสดงไว้ไม่ให้เพิ่มเติมตัดต่อก็ไม่ต้องเชื่อ เดียวพวกกินเจเติมเข้าไปอีกข้อน่าจะดีนะ


อเมสซิ่ง ถามหน่อยที่คุณอ่านพระสูตรนั่นน่ะ แน่ใจหรือว่า มิใช่สำนวนอรรถกถาจารย์ แน่ใจหรอ
คุณควรจะเปิดใจสำนักอื่นบ้างนะลองไปศึกษาพุทธวจนดูบ้าางไม่ใช่ยึดแต่พุทธรรมอย่างเดียวโลกจะได้กว้างขึ้น


ก็อย่างที่บอก ที่กระทู้โน่น เราอ่านจากที่เขาแปลมาทั้งนั้น น๊อยแน่ๆ ทำเป็นเก่งแยกนี่พุทธพจน นีอรรถกถา ไม่เอาอรรถกถา เอาพุทธพจน ไหนเก่งนักไปแปลเองไป มาอ่านสำนวนอรรถกถาทำไม :b31:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 19:58 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
หญิงไทย เขียน:


บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ได้แก่

๑. ทานมัย - ทำบุญด้วยการให้

๒. สีลมัย - ทำบุญด้วยการรักษาศีลและประพฤติดี

๓. ภาวนามัย - ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา

๔. อปจายนมัย - ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม

๕. เวยยาวัจจมัย - ทำบุญด้วยการช่วยเหลือขวนขวายงานที่ควร

๖. ปัตติทานมัย - ทำบุญด้วยการแบ่งส่วนบุญให้ผู้อื่น

๗. ปัตตานุโมทนามัย - ทำบุญด้วยการอนุโมทนาการทำบุญของผู้อื่น

๘. ธัมมัสสวนมัย - ทำบุญด้วยการฟังธรรม

๙. ธัมมเทสนามัย - ทำบุญด้วยการสอนธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ - ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกให้ตรง





แนะนำเส้นทางธรรมดังว่าว่าไปไงมาไง :b1:

เริ่ม

องค์ประกอบของมรรค 8 ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น มีสัมมาสมาธิ เป็นที่สุด เมื่อมาเป็นภาคปฏิบัติฝึกหัดอบรมแล้วเหลือสาม คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกไตรสิกขา จากไตรสิกขา พระพุทธเจ้าขยายเพื่อให้เหมาะกับคฤหัสถ์ คือเพิ่ม ทาน เข้ามา เป็น ทาน ศีล ภาวนา (สมาธิ กับ ปัญญารวมอยู่ในภาวนา) เรียกบุญกิริยาวัตถุสาม มาถึงรุ่นอรรถกถา จากบุญกิริยาวัตถุสาม ท่านเพิ่มเข้าอีกเจ็ดข้อ เรียกบุญกิริยาวัตถุสิบนั่น

.เน้นข้อสุดท้ายพอ

ข้อพิเศษ ทิฏฐุกรรม คือการทำความเห็นให้ตรง ซึ่งต้องทำร่วมกำกับการทำบุญข้ออื่นทุกข้อ ให้เป็นการกระทำด้วยความรู้เข้าใจตั้งใจมุ่งหมายถูกต้อง เท่ากับได้ตรวจสอบทุกิจกรรม เป็นประกันให้ได้ผลดี และมีการพัฒนา

บุญ คืออะไร

มีพุทธพจน์พอเป็นแนวทางดังนี้

มา ภิกฺขเว ปุญฺญานํ ภายิตฺถ สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ...ยทิทํ ปุญฺญานิ...
(ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่างกลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข...)

ส่วนคำว่า บุญ กับ กุศลมีความเหมือนความต่างกันยังไง มีอารมณ์จะนำมาลงให้ดู
ท่ากรัชกายผู้รอบรู้บุญมีสามมาเพิ่มอีกเจ็ดเป็นเพราะอะไรครับ



ปัดโธ่ :b1: ก็เพื่อให้มีช่องทางทำมากขึ้นสิขอรับ สังเกตการขยายของพระพุทธเจ้าดิ เดิมเ๋ป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่อนเพื่อให้ชาวพุทธซึ่งเป็นชาวบ้านซึ่งอยู่ห่า่งรัตนไตรมีช่องทำมากขึ้น ก็เพิ่ม ทานเข้ามา เ็ป็น ทาน ศีล ภาวนา (ภาวนาท่านเน้นเมตตาภาวนา) มาอีกยุคสมัยหนึ่ง ก็เพิ่มอีกเจ็ดข้อ ดังที่เห็น จำง่ายๆว่า ทาน ศีล ภาวนา วาจาอ่อนน้อม ถ่อมตนรับใช้ เฉลี่ยให้ความดี มีใจอนุโมทนา ใฝ่่หาฟังธรรม นำไปปฏิบัติไม่เว้น ทำความเห็นให้ตรง


ใครเป็นคนเพิ่มครับ


ก็บอกอยู่ไม่อ่านหรือ พระอรรถกาจารย์ไง คิกๆๆ


ตกลงพระพุทธเจ้าไม่ใช้สัพพัญญูต้องให้อรรถกถาจารย์เพิ่มให้ และที่พระองคทรงแสดงไว้ไม่ให้เพิ่มเติมตัดต่อก็ไม่ต้องเชื่อ เดียวพวกกินเจเติมเข้าไปอีกข้อน่าจะดีนะ


อเมสซิ่ง ถามหน่อยที่คุณอ่านพระสูตรนั่นน่ะ แน่ใจหรือว่า มิใช่สำนวนอรรถกถาจารย์ แน่ใจหรอ
คุณควรจะเปิดใจสำนักอื่นบ้างนะลองไปศึกษาพุทธวจนดูบ้าางไม่ใช่ยึดแต่พุทธรรมอย่างเดียวโลกจะได้กว้างขึ้น


ก็อย่างที่บอก ที่กระทู้โน่น เราอ่านจากที่เขาแปลมาทั้งนั้น น๊อยแน่ๆ ทำเป็นเก่งแยกนี่พุทธพจน นีอรรถกถา ไม่เอาอรรถกถา เอาพุทธพจน ไหนเก่งนักไปแปลเองไป มาอ่านสำนวนอรรถกถาทำไม :b31:
มันก็เป็นซะอย่างนั้นคำแปลใครก็ยอมรับได้เพราะการแปลตามตัวอักษรของมหาเถร แต่การทึตัดต่อเพิ่มเติมใครจะยอมรับได้เพราะเราศิษย์พระตถาคตนะครับไม่ใ่ช่คิดเองแต่งเองนึกอยากจะเพิ่มตรงไหนตัดตรงไหนจะได้หรอ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ต.ค. 2013, 20:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:



มันก็เป็นซะอย่างนั้นคำแปลใครก็ยอมรับได้เพราะการแปลตามตัวอักษรของมหาเถร แต่การทึตัดต่อเพิ่มเติมใครจะยอมรับได้เพราะเราศิษย์พระตถาคตนะครับไม่ใ่ช่คิดเองแต่งเองนึกอยากจะเพิ่มตรงไหนตัดตรงไหนจะได้หรอ


แล้วแน่ใจหรือว่าเขาแปลถูก :b1: แหม ข้อเท่านั้นหน้าเท่านี้ :b32: ถึงได้ว่า จำขี้ปากเขามาพูด

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 121 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 32 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร