วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 03:20  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 9 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 พ.ค. 2009, 13:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 พ.ย. 2008, 12:29
โพสต์: 814

ที่อยู่: กรุงเทพฯ

 ข้อมูลส่วนตัว


ผมได้ไปอ่านเจอกระทู้หนึ่งในเวปไซด์หนึ่งเข้า เลยเอามาตั้งกระทู้ถามในที่นี้ด้วย :b39:

มีคำถามว่า ที่เรียกว่า "สอบอารมณ์" มีความหมายว่าอะไร
ดูได้จากที่นี่นะ :b40:

http://www.payakorn.com/webboard.php?sort=2 ดูกระทู้รหัส 27818 นะครับ

.....................................................
"มีสติเป็นเรือนจิต ใช้ชีวิตเป็นเรือนใจ ใช้ปัญญาเป็นแสงสว่างส่องทางเดินไปเถิด จะได้ล้ำเลิศในชีวิตของท่าน มีความหมายอย่างแท้จริง"
ในการปฏิบัติธรรม หลวงพ่อท่านบอกว่า ให้ตัดปลิโพธกังวลใจทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น ลูก สามี ภรรยา ความวุ่นวายทั้งหลายทั้งปวง อย่าเอามาเป็นอารมณ์ จากหนังสือ: เจริญกรรมฐาน7วันได้ผลแน่นอน หัวข้อ12: ระงับเวรด้วยการแผ่เมตตา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 พ.ค. 2009, 14:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 30 เม.ย. 2007, 17:21
โพสต์: 4148

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว www


ขออนุโมทนากับคำตอบ
ของ คุณอินทรีย์ ๕ ด้วยค่ะ :b8: :b4:

ขออนุญาตเสริมเพิ่มเติม เพื่อว่าจะเป็นประโยชน์มากขึ้นนะคะ

จุดมุ่งหมายของการสอบอารมณ์นั้นก็เพื่อให้

อาจารย์ผู้สอนกรรมฐานใช้ตรวจสอบว่า
ผู้เข้าอบรมกรรมฐานหรือผู้ปฏิบัติมีความเข้าใจ
ในการเจริญวิปัสสนาได้ถูกต้องตามที่สอนหรือไม่
และประสบปัญหา หรือติดขัดในส่วนใด

หากผู้เข้าอบรมกรรมฐานยังไม่เข้าใจหรือปฏิบัติยังไม่ถูกต้อง
ก็จะได้แนะนำวิธีการที่ถูกต้อง
พร้อมทั้งย้ำถึงสิ่งที่ควรทำและไม่ควรทำ


การสอบอารมณ์นั้นมีความสำคัญมาก
สำหรับการตรวจสอบผู้ปฏิบัติใหม่หรือผู้ที่เริ่มปฏิบัติว่า

มีความเข้าใจถึงความแตกต่างของรูป-นาม
ซึ่งเป็นอารมณ์ของวิปัสสนาถูกต้องแล้วหรือยัง


การสอบอารมณ์จะเริ่มจากเมื่อผู้เข้าอบรมกรรมฐาน
ได้ทดลองปฏิบัติกรรมฐานด้วยตนเองไปได้ระยะหนึ่งแล้ว

พระอาจารย์ผู้สอนกรรมฐานจะเรียกผู้ปฏิบัติใหม่ทุกคนมาประชุม
และซักถามถึงวิธีกำหนดอารมณ์
และวิธีพิจารณากรรมฐานของผู้ปฏิบัติแต่ละคน
(โดยอาจเรียกมาเป็นกลุ่มย่อย ครั้งละ ๓ คน
และไม่บอกล่วงหน้าด้วยว่าจะเรียกมาสอบอารมณ์ในวันใด
คือบอกล่วงหน้าให้รู้ตัวกระทันหันมาก
เช่น อาจจะบอกวันนี้ตอนเช้า สอบวันนี้ตอนเย็น หรือเช้าวันรุ่งขึ้น
อันนี้แล้วแต่สำนักแต่ละแห่ง อาจมีข้อกำหนดไม่เหมือนกันนะคะ)
:b12:

ผู้เข้าอบรมกรรมฐานต้องเล่าประสบการณ์
ความรู้สึกในการสังเกตพฤติกรรมของตน
และการใช้เหตุผลของตนเอง
ขณะแสดงพฤติกรรมหรืออิริยาบถต่าง ๆ ตามที่สังเกตได้จริง
เป็นการสอบถามและแก้ไขความเข้าใจในขณะนั้น
ระหว่างครูผู้สอนและผู้ปฏิบัติ เรียกว่า "การสอบอารมณ์" ค่ะ :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 พ.ค. 2009, 14:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 06 ก.พ. 2009, 20:49
โพสต์: 3979

แนวปฏิบัติ: พอง-ยุบ
งานอดิเรก: อ่านหนังสือ
ชื่อเล่น: นนท์
อายุ: 42
ที่อยู่: นครสวรรค์

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8:

กุหลาบสีชา เขียน:
ขออนุโมทนากับคำตอบ
ของ คุณอินทรีย์ ๕ ด้วยค่ะ :b8: :b4:

ขออนุญาตเสริมเพิ่มเติม เพื่อว่าจะเป็นประโยชน์มากขึ้นนะคะ

จุดมุ่งหมายของการสอบอารมณ์นั้นก็เพื่อให้

อาจารย์ผู้สอนกรรมฐานใช้ตรวจสอบว่า
ผู้เข้าอบรมกรรมฐานหรือผู้ปฏิบัติมีความเข้าใจ
ในการเจริญวิปัสสนาได้ถูกต้องตามที่สอนหรือไม่
และประสบปัญหา หรือติดขัดในส่วนใด

หากผู้เข้าอบรมกรรมฐานยังไม่เข้าใจหรือปฏิบัติยังไม่ถูกต้อง
ก็จะได้แนะนำวิธีการที่ถูกต้อง
พร้อมทั้งย้ำถึงสิ่งที่ควรทำและไม่ควรทำ


การสอบอารมณ์นั้นมีความสำคัญมาก
สำหรับการตรวจสอบผู้ปฏิบัติใหม่หรือผู้ที่เริ่มปฏิบัติว่า

มีความเข้าใจถึงความแตกต่างของรูป-นาม
ซึ่งเป็นอารมณ์ของวิปัสสนาถูกต้องแล้วหรือยัง


การสอบอารมณ์จะเริ่มจากเมื่อผู้เข้าอบรมกรรมฐาน
ได้ทดลองปฏิบัติกรรมฐานด้วยตนเองไปได้ระยะหนึ่งแล้ว

พระอาจารย์ผู้สอนกรรมฐานจะเรียกผู้ปฏิบัติใหม่ทุกคนมาประชุม
และซักถามถึงวิธีกำหนดอารมณ์
และวิธีพิจารณากรรมฐานของผู้ปฏิบัติแต่ละคน
(โดยอาจเรียกมาเป็นกลุ่มย่อย ครั้งละ ๓ คน
และไม่บอกล่วงหน้าด้วยว่าจะเรียกมาสอบอารมณ์ในวันใด
คือบอกล่วงหน้าให้รู้ตัวกระทันหันมาก
เช่น อาจจะบอกวันนี้ตอนเช้า สอบวันนี้ตอนเย็น หรือเช้าวันรุ่งขึ้น
อันนี้แล้วแต่สำนักแต่ละแห่ง อาจมีข้อกำหนดไม่เหมือนกันนะคะ)
:b12:

ผู้เข้าอบรมกรรมฐานต้องเล่าประสบการณ์
ความรู้สึกในการสังเกตพฤติกรรมของตน
และการใช้เหตุผลของตนเอง
ขณะแสดงพฤติกรรมหรืออิริยาบถต่าง ๆ ตามที่สังเกตได้จริง
เป็นการสอบถามและแก้ไขความเข้าใจในขณะนั้น
ระหว่างครูผู้สอนและผู้ปฏิบัติ เรียกว่า "การสอบอารมณ์" ค่ะ :b8:


คุณกุหลาบสีชากล่าวถูกต้องแล้วครับ

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
แม้มิได้เป็นสุระแสงอันแรงกล้า ส่องนภาให้สกาวพราวสดใส
ขอเป็นเพียงแสงแห่งดวงไฟ ส่องทางให้มวลชนบนแผ่นดิน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 พ.ค. 2009, 16:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 พ.ค. 2008, 20:48
โพสต์: 27

ที่อยู่: surin

 ข้อมูลส่วนตัว


โดยมาก ผู้ทดสอบเรียกว่าอาจารย์ ผู้ถูกทดสอบเรียกว่าลูกศิษย์ หรือจักกล่าวสั้นๆ ว่า เป็นการทดสอบซึ่งครูบาอาจารย์ทดสอบลูกศิษย์ อาจกระทำได้โดย การด่า การว่า การขับไล่ โดยมิได้นัดหมาย นัดแนะ กันมาก่อน ซึ่งครูบาจารย์ย่อมมีโยนิโสมนัสสิการ คือกลอุบายอันแยบคายอยู่ภายใจจิต
หากผู้ถูกทดสอบมารู้ภายหลังอาจทำให้เกิดความซาบซึ้งในคุณครูบาอาจารย์ :b12: :b4:

.....................................................
พุทโธ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 มิ.ย. 2009, 22:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 30 เม.ย. 2007, 17:21
โพสต์: 4148

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว www


chalom เขียน:
โดยมาก ผู้ทดสอบเรียกว่าอาจารย์ ผู้ถูกทดสอบเรียกว่าลูกศิษย์ หรือจักกล่าวสั้นๆ ว่า เป็นการทดสอบซึ่งครูบาอาจารย์ทดสอบลูกศิษย์ อาจกระทำได้โดย การด่า การว่า การขับไล่ โดยมิได้นัดหมาย นัดแนะ กันมาก่อน ซึ่งครูบาจารย์ย่อมมีโยนิโสมนัสสิการ คือกลอุบายอันแยบคายอยู่ภายใจจิต
หากผู้ถูกทดสอบมารู้ภายหลังอาจทำให้เกิดความซาบซึ้งในคุณครูบาอาจารย์


เกรงแต่ว่า....

ถ้าผู้ใดถูกทดสอบโดยอุบายวิธีนี้....แล้วจิตใจไม่แกร่งพอ
ก็คงเตลิดไป...ไม่มีโอกาสกลับมาได้ซาบซึ้งในคุณครูบาอาจารย์...เป็นแน่เลยค่ะ
:b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มิ.ย. 2009, 22:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3836

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ลองไหมล่ะ
ผมชอบบบบบบบบสอบบบบบบบบบ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มิ.ย. 2009, 22:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 30 เม.ย. 2007, 17:21
โพสต์: 4148

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว www


ชาติสยาม เขียน:
ลองไหมล่ะ
ผมชอบบบบบบบบสอบบบบบบบบบ


คุณน้องจะเป็น ผู้สอบ หรือ ผู้ถูกทดสอบ ดีล่ะคะ

หรือ ผ่านมาแล้วทั้ง ๒ อย่าง
เล่าประสบการณ์กันให้ฟังเป็นธรรมวิทยาทานกันบ้างสิคะ
น่าสนใจ....อยากรู้จัง
:b4: :b12:

ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มิ.ย. 2009, 23:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3836

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


คริกๆๆๆ :b32: :b32: :b32:

สอบชาวบ้าน หนุกดีนะพี่ ลองดูจะติดใจ..ฮิ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2009, 08:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 12 เม.ย. 2009, 19:55
โพสต์: 548

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ชาติสยาม เขียน:
คริกๆๆๆ :b32: :b32: :b32:

สอบชาวบ้าน หนุกดีนะพี่ ลองดูจะติดใจ..ฮิ


อย่างที่อยู่ดี ๆ คุณจับผมสอบอารมณ์น่ะหรือครับ...ท่าน
ฮ่า ฮ่า ฮ่า...
แล้วผมพอจะสอบผ่านรึเปล่าครับท่าน...
ถ้าตก...จะมีการสอบใหม่อีกรึเปล่าครับนี่...

แต่ท่าทางตอนนี้ท่านจะไม่สนใจผมแล้วนี่...
ดูจะมีขวัญใจคนใหม่...

:b9: :b9: :b9:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 9 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 38 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร