วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 18:52  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 42 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ต.ค. 2009, 23:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อโศกะ เขียน:
มีความเห็นอย่างนี้หรือครับ น่าสงสาร กอดตำราเสียจน หูตามืดมัว กลับไปอ่านซ้ำตัวอย่างเรื่องแกงรสพิเศษของคุณชาติสยามใหม่อีกสักหลายร้อยรอบ อย่าอ่านแล้วเทียบกับสัญญาวิปลาสเก่าๆ
อ่านแล้วให้สังเกต พิจารณาในจิตของตนไปด้วยว่า อธิบายรสแกง ที่คุณชาติสยามเอามาให้ชิมได้ไหม เท่านี้ก็จะได้คำตอบในใจของคุณเอง ว่า ปรมัตถธรรมคืออย่างไร




พระพุทธศาสนาไม่ได้เรียกสิ่งต่าง ๆ ว่าปรมัตถ์ครับ แต่เรียกว่า สภาวะธรรมครับ
การที่คุณอโศกะเรียกสิ่งต่าง ๆ ว่าปรมัตถ์อยู่ในพระไตรปิฎกเล่มไหนครับยกมาอ้างอิงให้อ่านหน่อยครับคุณอโศกะ



มหาราชันย์ เขียน:
หรือว่า...งานนี้ผมคงแสดงธรรมผิดอีกแล้ว


แต่ก่อนผมจะเชื่อว่าผิดจริง
ผมต้องการเห็นคำตอบที่ถูกต้องจากคุณอโศกะครับว่า

คำว่าปรมัตถ์อย่างถูกต้อง คือจิต เจตสิก รูป นิพพาน ของจริงแท้นั้นอยู่ในพระไตรปิฎกเล่มไหนหน้าที่เท่าไหร?

จะยกมาให้คนอื่นได้อ่านในเว็ปนี้ได้ยิ่งดี หรือส่งลิ้งมาให้ตามไปอ่านก็ได้ครับ


ขอร้องว่า เอามาจากพระไตรปิฎกเท่านั้นนะครับ คุณอโศกะ

หามาให้ผมได้เห็นเป็นขวัญตาหน่อยครับ

ประโยคที่ว่า
ปรมัตถ์ คือ/หรือได้แก่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน
ปรมัตถ์ คือ/หรือได้แก่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน
ปรมัตถ์ คือ/หรือได้แก่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน


ถ้าไม่มีอย่างนี้ก็ขอที่ใกล้เคียงที่สามารถตีความได้ว่า ปรมัตถ์อย่างถูกต้อง คือจิต เจตสิก รูป นิพพาน ก็ได้ครับ


ขอบคุณครับ


เจริญในธรรมครับ


แก้ไขล่าสุดโดย มหาราชันย์ เมื่อ 16 ต.ค. 2009, 23:41, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ต.ค. 2009, 23:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกุตตรกุศลจิต
มรรคจิตดวงที่ ๑
[๑๙๖] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญฌานเป็นโลกุตตระ อันเป็นเครื่องออกไปจากโลกนำไปสู่นิพพาน เพื่อละทิฏฐิ เพื่อบรรลุภูมิเบื้องต้น สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก อยู่ในสมัยใด

ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัทธาพละ วิริยพละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ อโลภะ อโทสะ อโมหะ อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ หิริ โอตตัปปะ กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทุตา จิตตมุทุตา กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชุกตา จิตตุชุกตา สติ สัมปชัญญะ สมถะ วิปัสสนา ปัคคาหะ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น หรือนามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด มีอยู่ในสมัยนั้น

สภาวธรรมเหล่านี้ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล


เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 02:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3836

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


นอนดีกว่า
shocked


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 02:44 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12233


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 10:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3836

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ผมมาคิดดูแล้วนะ

ที่คุณว่า "อริยมรรคอริยผล" เป้นปรมัตถ์
ส่วนผมว่า "รูป เจตสิก จิต และนิพพาน" เป็นปรมัตถ์

ที่จริงพูดเรื่องเดียวกัน แต่อยากจะมองคนละแบบกัน
แล้วเลยพยามจะเป็นเจ้าของคำศัพท์ที่เรียกว่า "ปรมัตถ์" ด้วยมุมที่ตนมอง


กรณีแรก "รูป / เจตสิก จิต นิิพาน "
เขามองว่าเป็นปรมัตถ์เพราะมันคือรูปและนาม
เขามองว่า"การมีอยู่จริง"ของรูปนามเป็นปรมัตถ์ธรรม


ส่วนกรณีคุณ คุณเลือกมองว่า
"ปรากฏการณ์ที่รู้แจ้งในความจริงของรูปนาม" คือปรมัตถธรรม


ถ้าผมเอาหวีมาเสยผม แต่งผมหล่อๆ
ผมก็พูดได้ว่า นี่คือปรมัตถธรรม เพราะเป็นปรากฏการณ์ของรูปและนาม
ซึ่งความจริงก็เป็นปรมัตถธรรมจริงๆ
รูปและนามปรากฏให้ดูอยู่ตลอดเวลา
ปรากฏการณ์ของรูปและนามก็ปรากฏให้ดูตลอดเวลา

แต่ถ้าเป็นในมุมของคุณ จะมองว่าไม่ใช่ปรมัตถธรรม
เพราะขาด "มรรค"

อย่างนั้นหรือเปล่า


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 18:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


ชาติสยาม เขียน:

ที่จริงพูดเรื่องเดียวกัน แต่อยากจะมองคนละแบบกัน
แล้วเลยพยามจะเป็นเจ้าของคำศัพท์ที่เรียกว่า "ปรมัตถ์" ด้วยมุมที่ตนมอง

ถ้าผมเอาหวีมาเสยผม แต่งผมหล่อๆ
ผมก็พูดได้ว่า นี่คือปรมัตถธรรม เพราะเป็นปรากฏการณ์ของรูปและนาม
ซึ่งความจริงก็เป็นปรมัตถธรรมจริงๆ
รูปและนามปรากฏให้ดูอยู่ตลอดเวลา
ปรากฏการณ์ของรูปและนามก็ปรากฏให้ดูตลอดเวลา




สาธุ :b8:
คุณชาติสยามกล่าวได้ถูกต้องทั้งบัญญัติ ปรมัตถ์และโดยสภาวะ
ไม่ธรรมดาเลยนะคะเนี่ย เดี๋ยวนี้น่ะค่ะ :b12:

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 19:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3836

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
สาธุ :b8:
คุณชาติสยามกล่าวได้ถูกต้องทั้งบัญญัติ ปรมัตถ์และโดยสภาวะ
ไม่ธรรมดาเลยนะคะเนี่ย เดี๋ยวนี้น่ะค่ะ :b12:


:b8:

wink


ชาติยิ่ง"บ้ายอ"อยู่แล้วด้วยนะเนียะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 19:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ย. 2009, 00:37
โพสต์: 86

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


tongue smiley

สาธุ กับท่านชาติสยามที่เข้าใจแล้วนะครับ

สิ่งที่ท่านทั้งหลายรวมทั้งผมเข้าใจคำว่าปรมัตถ์ ก็เป็นจริงตามที่ท่านอโศกะ กับท่านชาติสยามเข้าใจ ผมก็เข้าใจเช่นนั้น แต่ท่านมหาราชันย์กลับขีดวง ของปรมัตถ์ว่า สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ใช่ปรมัตถ์ทั้งหมด ในศาสนาพุทธนี้ ปรมัตถ์คือสภาวธรรมที่เป็นโลกุตระธรรมเท่านั้น คือ มัคค4 และ ผล 4 พร้อมกับพยายามยกพระไตรปิฎกมาให้พวกเราทั้งหลายได้เห็นว่า จริงๆ ปรมัตถ์ในศาสนาพุทธคือ มัคค 4 ผล4 ก็กราบขอพระคุณในความเมตตาของท่านครับ

เจริญในธรรมทุกท่านครับ

.....................................................
....ถ้าไม่ทำสัญญาให้เป็นปัญญา ทำอย่างไรก็เป็นกามสัญญา......


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 20:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 26 พ.ค. 2009, 20:54
โพสต์: 282


 ข้อมูลส่วนตัว




b12.jpg
b12.jpg [ 45.52 KiB | เปิดดู 5952 ครั้ง ]
tongue เจริญธรรมนะครับคุณมหาราชันย์

มี 3 - 4 เสียงที่เข้าใจความหมายของ ปรมัตถ์ธรรม ตรงกัน ยังเลือคุณมหาราชันย์ ยังยึดมั่น ถือมั่น อยู่กับบัญญัติที่ไม่ถูกต้อง คนยึดบัญญัติ จะไม่มีโอกาสได้เห็น รู้จัก หรือสัมผัสกับปรมัตถธรรม

แต่ครูบาอาจารย์ท่านสอนไว้ว่า "โยม ละบัญญัติ ก็เห็นปรมัตถ์ ทันที"

อยากเชิญชวนคุณมหาราชันย์พิสูจน์ตนเองว่า บัญญัติอันวิจิตรพิสดารที่คุณมหาราชันย์ ไปจดจำมานั้น จะช่วยคุณมหาราชันย์ ได้หรือไม่โดย

ลองนั่งขัดสมาธิ ตั้งกายให้ตรง หลังตรง คอตั้งตรง หัวตั้งตรง ตามองตรงไปข้างหน้า ทอดสายตาลงเล็กน้อยแล้วหลับตา ตั้งใจ(มนสิการ) ที่จะทำตัวทำใจให้นิ่งที่สุดเท่าที่จะนิ่งได้ แล้ว โยนิโส คือเอาสติ เอาปัญญา มาเฝ้าดู เฝ้าสังเกต พิจารณา เข้าไปในกายและจิต ณ ปัจจุบันขณะ ปัจจุบันอารมณ์

สักพักเดียวคุณจะได้เห็น อุทัจจะ ความฟุ้งซ่านของจิตของคุณ ที่ปรุงไป ปรุงมาในบัญญัติต่างที่มีอยู่ในสัญญาของคุณ คือคิด ปรุงไม่รู้จักหยุดย่อน

คุณลองทำให้จิตหยุดคิดนึกปรุงแต่งให้ได้สัก 10 นาที 20 นาที ซิ ถ้าคุณหยุดความคิดนึกได้โดยไม่เอาจิตไปผูกไว้กับกรรมฐานอันใดอันหนึ่ง แต่ให้เฝ้าดูอยู่เฉพาะที่ปัจจุบันอารมณ์

คุณจะได้สัมผัส สภาวะปรมัตถ์ หรือปรมัตถธรรมในกายในจิตของคุณ แล้วคุณก็จะได้หมดสงสัยเสียที นะครับ คุณจะได้รู้จัก อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จริงๆ หรืออาจได้พบเห็น อุปาทาน ความเห็นผิด เป็นอัตตา ตัวกู ของกู หรือ มานะ ทิฐิ ของคุณ โผล่หน้าขึ้นมา บงการ สั่งใจคุณ เป็นระยะๆ ตามกำลังสติ ปัญญาของคุณ

ทำได้อย่างนี้คงจะช่วยทำให้คุณได้รับความสุขเย็น ดีกว่าที่กำลังเป็นอยู่ขณะนี้นะครับ
:b12: :b16: Onion_L

.....................................................
เมตตาธรรม ค้ำจุนโลก
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 21:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว



บัญญัติอารณ์ ปรมัตถ์อารมณ์ คนละตัวกับสภาวะ

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 23:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ตอบคำถามผมมาก่อนครับคุณอโศกะ


มหาราชันย์ เขียน:
คำว่าปรมัตถ์อย่างถูกต้อง คือจิต เจตสิก รูป นิพพาน ของจริงแท้นั้นอยู่ในพระไตรปิฎกเล่มไหนหน้าที่เท่าไหร?

จะยกมาให้คนอื่นได้อ่านในเว็ปนี้ได้ยิ่งดี หรือส่งลิ้งมาให้ตามไปอ่านก็ได้ครับ


ขอร้องว่า เอามาจากพระไตรปิฎกเท่านั้นนะครับ คุณอโศกะ

หามาให้ผมได้เห็นเป็นขวัญตาหน่อยครับ

ประโยคที่ว่า
ปรมัตถ์ คือ/หรือได้แก่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน
ปรมัตถ์ คือ/หรือได้แก่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน
ปรมัตถ์ คือ/หรือได้แก่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน


ถ้าไม่มีอย่างนี้ก็ขอที่ใกล้เคียงที่สามารถตีความได้ว่า ปรมัตถ์อย่างถูกต้อง คือจิต เจตสิก รูป นิพพาน ก็ได้ครับ


ขอบคุณครับ


เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 23:34 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12233


 ข้อมูลส่วนตัว


ชื่อนั้น..สำคัญไฉน.. :b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2009, 00:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
ชื่อนั้น..สำคัญไฉน.. :b12: :b12:




บ่งบอกถึงความยึดติด
แต่ก็ไม่ใช่เรื่องเสียหายอะไรนี่คะ
จะยึดมากยึดน้อยก็เรื่องของคนนั้นๆ
ตรงไหนได้ประโยชน์ก็เก็บเกี่ยวไป
แต่จะว่าไปแล้วมีประโยชน์ทั้งน้านนน :b4:

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2009, 00:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ค. 2009, 09:26
โพสต์: 1517

แนวปฏิบัติ: วิปัสสนาภาวนา
อายุ: 39
ที่อยู่: ลำพูน

 ข้อมูลส่วนตัว


ปรมัตถ์ = smallest unit of nature elements

.....................................................
"ธรรมและวินัยอันใด เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่พวกเธอ ธรรมและวินัยอันนั้น จักเป็นศาสดาของพวกเธอ โดยกาลล่วงไปแห่งเรา..."
"... ไม่เที่ยง เกิดดับ ..."


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2009, 01:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12233


 ข้อมูลส่วนตัว


Supareak Mulpong เขียน:
ปรมัตถ์ = smallest unit of nature elements


ปรมัตถ์ is not a unit of nature elements :b12: :b12:

it's nature :b16: :b16:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 42 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 20 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร