วันเวลาปัจจุบัน 20 เม.ย. 2024, 08:21  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 2 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.พ. 2023, 04:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




Untitled-1-copy1-2.png
Untitled-1-copy1-2.png [ 392.24 KiB | เปิดดู 745 ครั้ง ]
หทัยวัตถุ
[๔๔๐ ] หทัยวัตถุ
๑. มีลักษณะคือการเป็นที่อาศัยของมโนธาตุและมโนวิญญาณธาตุ (มโนธาตุ มโน-
วิญฌาณชาตูน่ นิสฺสยลกฺขณํ หทยวตฺถุ)
๒. มีหน้าที่ทรงธาตุทั้งสองนั้นไว้ (ตาสญฺเญว ธาตูน่ อาธารณรส่)
๓. ปรากฎ(แก่ญาณของผู้ปฏิบัติ)ด้วยการน่าราตุทั้งสองนั้นไป (อุพฺพหนปจฺจุปฎฺฐานํ)
๔. มีมหาภูตทั้ง ๔ (ที่เป็นกรรมชรูปอยู่ในกลาปเดียวกันกับเป็นที่ตั้งของหทยวัตถุ
เป็นเหตุใกล้ (จตุมหาภูตปฏฺฐานํ)

หทยวัตถุอาศัยโลหิตภายในหัวใจตามที่กล่าวมาแล้วในเรื่องกายคตาสติ ได้รับอุปถัมภ์
จากภูตรูปซึ่งทำหน้าที่ทรงไว้เป็นต้น มีอุตุ จิต และอาหารค้ำจุน มีชีวิตรูปตามรักษา ย่อมดำรง
อยู่โดยความเป็นวัตถุแห่งมโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ และเจตสิกที่ประกอบกับธาตุทั้งสองนั้น

คัมภีร์ปรมัตถทึปนีมีกา อธิบายเรื่องหทัยวัตถุ ดังนี้

(หทัย)วัตถุรูป มีลักษณะเบินที่อาศัยของธาตุทั้งสอง (คือ มโนธาตุ และมโน
วิญญาณธาตุ หทัยวัตถุนั้นซึมซาบอยู่ในเลือดประมาณครึ่งซองมือ ดำรงอยู่ในหัวใจ
พระผู้มีพระภาคมิได้ตรัสถึงหทัยวัตถุไว้ในคำภีร์ธัมมสังคณีเพื่อทรงรักษาพระ
เทศนามีให้เสียลำดับ แต่ได้ตรัสไว้ในคัมภีร์ปัฏฐาน ตังพระพุทธวจนะเป็นตันว่า
วตุถุ กุสลานํ ขนฺธานํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย. วตฺถุ อกุสลานํ ขนธานํ นิสฺสย
ปจฺจเยน ปจฺจโย
(หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศล โดยความเป็นนิสสยปัจจัย (หทัย)วัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศล โดยความเป็นนิสสยปัจจัย
ในข้อนี้ วัดถุรูปอื่นนอกจากวัตถุ ๖ ย่อมไม่มี ทั้งวัตถุรูป ๕ อย่างแรกก็มิได้


ปรมตก ฏิกา ๒a๕๒/๒๖๐
อภิป. co ๔๑๒l๑๓๔

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.พ. 2023, 06:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




Untitled-1-copy1-2.png
Untitled-1-copy1-2.png [ 410.64 KiB | เปิดดู 544 ครั้ง ]
เป็นที่อาศัยของกุศลป็นต้น วัตฤที่ตรัสไว้ไนคัมภีร์ปัฏฐานโดยความเป็นนิสสยป้จจ้ย จึง
หมายถึงวัตถุรูปเฉพาะอย่างหนึ่ง (ทท้ยวัตถุ)

คัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินีกล่าวถึงหกับวัจถุ สั่งนี้
รูปกณฺเท อวุตฺตสฺสปื ปเนตฺตสฺส อาคมโต ยุตฺติโต จ อตฺถิภาโา ทฎฺฐพฺโพ ตตฺถ
ยํ รูปํ นิสฺสาย มโนธาตุ จ มโนวิญญาณธาตุ จ วตฺตนฺติ. ตํ รูปํ มโนธาตุยา จ มโน
วิญญาณธาตุยา จ ตํสมฺปยุตตกานญฺจ ธมฺมานํ นิสฺสเยน ปจฺจเยน ปจฺจโย""*ติ เอวมาคต่
ปฏฺฐานวจน่ อาคโม ยุตฺติ ปเนวํ ทฎฺฐพฺพา

อนึ่ง แม้พระพุทธองค์จะมีได้ตรัสถึงหทัยวัตถุนั้น ในรูปภัณฑ์ แต่พึ่งทราบว่ามี
ได้โดยพระบาลีและความเหมาะสม ในเรื่องนั้น พระบาลีคือพระดำรัสในคัมภีที่ปรากฏ
อย่างนี้ว่า

มโนธาตุแสะมโนวิญญาณธาตุเป็นไปโดยอาศัยรูปใด รูปนั้นเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุ
มโนวิญญาณธาตุ และธรรมที่ประกอบร่วมกับธาตุทั้งสองนั้นด้วยอำนาจนิสสยปัจจัย

ส่วนความเหมาะสมพึ่งทราบดังต่อไปนี้
นิปผนฺนภูติกาธารา เทว ธาตู กามรูปินํ
รูปานุพนฺธวุตฺติตฺตา จกฺขุวิญญาณาทโย วิย
ธาตุทั้งสองประเภท (คือ มโนธาตุ และมโนวิญญาณอาตุ) ของสัตว์ใน
กามภูมิและรูปภูมิ มีที่อาศัยคืออุปาทายรูปอันเป็นนิปผันนรูป เพราะดำเนิน
ไปเนื่องตัวยรูป เหมือนจักขุวิญญาณเป็นต้น

จกุขาทินิสสิตา เนตา ตสฺสญฺญาธารภาวโต
นาปี รูปาทิเก เตสํ พหิทฺธาปิ ปวตฺติโต
ราตุทั้งสองเหล่านี้ไม่อาศัยปสาทรูปมีจักขุประสาทเป็นต้น
ปสาทรูปนั้นเป็นที่อาศัยของจักขุวิญญาณเป็นตันอื่น และไม่อาศัยรูปารมณ์
เป็นต้น เพราะรูปารมณ์เป็นต้นนั้นดำเนินไปภายนอกร่างกายได้

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 47 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร