วันเวลาปัจจุบัน 25 เม.ย. 2024, 17:56  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 122, 123, 124, 125, 126, 127, 128 ... 179  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มี.ค. 2019, 20:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ลำดับนั้น พระโพธิสัตว์ตรัสว่า
ดูก่อนปชาบดี ชาวชนบท มิตรอมาตย์และพระ
ประยูรญาติทั้งหลาย เราสละแล้ว ทีฆาวุราชกุมารผู้ยัง
แว่นแคว้นให้เจริญเป็นบุตรของชาววิเทหรัฐ ชาววิเท-
หรัฐเหล่านั้นจักให้ครองราชสมบัติในกรุงมิถิลา.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สนฺติ ปุตฺตา ความว่า ดูก่อนพระ-
เทวีสีวลี ธรรมดาสมณะทั้งหลายย่อมไม่มีบุตร แต่ทีฆาวุกุมารเป็นบุตรของ
ชาววิเทหรัฐ ชาววิเทหรัฐเหล่านั้นจักให้ครองราชสมบัติ พระมหาสัตว์ตรัส
เรียกพระเทวีว่า ปชาปติ.

ลำดับนั้น พระนางสีวลีเทวีกราบทูลพระมหาสัตว์ว่า ข้าแต่พระองค์
พระองค์ทรงผนวชเสียก่อนแล้ว ก็หม่อมฉันจะกระทำอย่างไร พระมหาสัตว์
จึงตรัสกะพระนางว่า ดูก่อนพระเทวี อาตมาจะให้เธอสำเหนียกตาม เธอจง
ทำตามคำของอาตมา แล้วตรัสว่า

มาเถิด อาตมาจะให้เธอศึกษาตามคำที่อาตมา
ชอบ เมื่อเธอให้พระโอรสครองราชสมบัติ ก็จักกระ-
ทำบาปทุจริตเป็นอันมากด้วยกายวาจาใจ ซึ่งเป็นเหตุ
ให้เธอไปสู่ทุคติ การที่เรายังอัตภาพให้เป็นไปด้วย
ก้อนข้าวที่ผู้อื่นให้ซึ่งสำเร็จแต่ผู้อื่น นี้เป็นธรรมของนักปราชญ์.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ตุวํ ความว่า เธอให้ยกเศวตฉัตรขึ้นแก่
พระโอรส พร่ำสอนเรื่องราชสมบัติ ด้วยคิดว่า ลูกของเราเป็นพระราชา
จักกระทำบาปเป็นอันมาก. บทว่า คจฺฉสิ ความว่า เธอจักไปสู่ทุคติด้วยบาป
เป็นอันมากที่กระทำด้วยกายเป็นต้นใด. บทว่า สธีรธมฺโม ความว่า ความ
ประพฤติที่ว่าพึงยังชีวิตให้เป็นไปด้วยคำข้าวที่ได้มาด้วยลำแข้งนี้ เป็นธรรม
ของนักปราชญ์ทั้งหลาย.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มี.ค. 2019, 20:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
พระมหาสัตว์ได้ประทานโอวาทแก่พระนางนั้นด้วยประการฉะนี้ เมื่อ
กษัตริย์ทั้งสองตรัสโต้ตอบกันและกัน และเสด็จดำเนินไป พระอาทิตย์ก็อัสดงคต
พระเทวีมีพระเสาวนีย์ให้ตั้งค่ายในที่อันสมควร พระมหาสัตว์เสด็จประทับแรม
ณ โคนไม้แห่งหนึ่ง ประทับอยู่ ณ ที่นั้นตลอดราตรี รุ่งขึ้นทรงทำสรีรกิจแล้ว
เสด็จไปตามมรรคา ฝ่ายพระเทวีตรัสสั่งให้เสนาตามมาภายหลัง แล้วเสด็จไป

เบื้องหลังแห่งพระมหาสัตว์ ทั้งสองพระองค์นั้นเสด็จถึงถูนนครในเวลาภิกขาจาร
ขณะนั้นมีบุรุษคนหนึ่งภายในเมือง ซื้อเนื้อก้อนใหญ่มาแต่เขียงขายเนื้อ เสียบ
หลาวย่างบนถ่านเพลิงให้สุกแล้ว วางไว้ที่กระดานเพื่อให้เย็นได้ยืนอยู่ เมื่อบุรุษ
นั้นส่งใจไปที่อื่น สุนัขตัวหนึ่งคาบก้อนเนื้อนั้นหนีไป บุรุษนั้นรู้แล้วไล่ตาม
สุนัขนั้นไปเพียงนอกประตูด้านทักษิณ เบื่อหน่ายหมดอาลัยก็กลับบ้าน พระราชา

กับพระเทวีเสด็จมาข้างหน้าสุนัขตามทางสองแพร่ง สุนัขนั้นทิ้งก้อนเนื้อหนีไป
ด้วยความกลัว พระมหาสัตว์ทอดพระเนตรเห็นก้อนเนื้อนั้น ทรงจินตนาการว่า
สุนัขนี้ทิ้งก้อนเนื้อนี้ไม่เหลียวแลเลยหนีไปแล้ว แม้คนอื่นผู้เป็นเจ้าของก็ไม่
ปรากฏ อาหารเห็นปานนี้หาโทษมิได้ ชื่อว่าบังสุกุลบิณฑบาต เราจักบริโภค

ก้อนเนื้อนั้น พระองค์จึงนำบาตรดินออก ถือเอาเนื้อก้อนนั้นปัดฝุ่นแล้วใส่
ลงในบาตร เสด็จไปยังที่มีน้ำบริบูรณ์ ทรงพิจารณาแล้วเริ่มเสวยเนื้อก้อนนั้น
ลำดับนั้น พระเทวีทรงดำริว่า ถ้าพระราชานี้มีพระราชประสงค์ราชสมบัติ จะไม่
พึงเสวยก้อนเนื้อเห็นปานนี้ ซึ่งน่าเกลียด เปื้อนฝุ่น เป็นเดนสุนัข บัดนี้


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มี.ค. 2019, 20:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
พระองค์จักมิใช่พระราชสวามีของเรา ทรงดำริฉะนี้แล้ว กราบทูลพระองค์ว่า
ข้าแต่พระมหาราช พระองค์ช่างเสวยเนื้อที่น่าเกลียดเห็นปานนี้ได้ พระมหาสัตว์
ตรัสว่า ดูก่อนพระเทวี เธอไม่รู้จักความวิเศษของบิณฑบาตนี้เพราะเขลา
ตรัสฉะนี้แล้วทรงพิจารณาสถานที่ก้อนเนื้อนั้นตั้งอยู่ เสวยก้อนเนื้อนั้นดุจเสวย
อมตรส บ้วนพระโอฐล้างพระหัตถ์และพระบาทแล้ว ขณะนั้นพระเทวีเมื่อจะ
ทรงตำหนิพระราชา จึงตรัสว่า

คนที่ฉลาดแม้ไม่ได้บริโภคอาหารสี่มื้อ ราวกะ
ว่าจะตายด้วยความอด ก็ยอมตายเสียด้วยความอด เขา
จะไม่ยอมบริโภคก้อนเนื้อคลุกฝุ่นไม่สะอาดเลย ข้าแต่
พระมหาชนก พระองค์สิเสวยได้ซึ่งก้อนเนื้ออันเป็น
เดนสุนัข ไม่สะอาดน่าเกลียดนัก.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อชฺฌุฏฺฐมาริว ความว่า เหมือนใกล้
จะตาย. บทว่า ลุลิตํ ได้แก่ คลุกฝุ่น. บทว่า อนริยํ ได้แก่ ไม่ดี นุ
อักษรในบทว่า นุ เสเว เป็นนิบาตลงในอรรถถามโต้ตอบ มีคำอธิบายว่า
แม้ถ้าจะไม่ได้บริโภคอาหารสี่มื้อ หรือจะตายเสียด้วยความอด แม้เมื่อเป็น
อย่างนั้น คนฉลาดก็ไม่ย่อมบริโภคอาหารเห็นปานนี้เลย คือไม่บริโภคอย่าง
พระองค์. บทว่า ตยิทํ แปลว่า นี้นั้น.
พระมหาสัตว์ ตรัสตอบว่า

ดูก่อนพระนางสีวลี ก้อนเนื้อนั้นไม่ชื่อว่าเป็น
อาหารของอาตมาหามิได้ เพราะถึงจะเป็นของคน
ครองเรือนหรือของสุนัข ก็สละแล้ว ของบริโภค
เหล่าใดเหล่าหนึ่งในโลกนี้ที่บุคคลได้มาแล้วโดยชอบ
ธรรม ของบริโภคทั้งหมดนั้นกล่าวกันว่า ไม่มีโทษ.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มี.ค. 2019, 20:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อภกฺโข ความว่า บิณฑบาตนั้นจะไม่
ชื่อว่าเป็นภักษาหารของอาตมาหามิได้. บทว่า ยํ โหติ ความว่า ของสิ่งใด
ที่คฤหัสถ์หรือสุนัขสละแล้ว ของสิ่งนั้นชื่อว่าบังสุกุล เป็นของไม่มีโทษเพราะ
ไม่มีเจ้าของ. บทว่า เย เกจิ ความว่า เพราะฉะนั้น โภคะเหล่าใดเหล่าหนึ่ง
แม้อื่น ๆ ที่ได้มาโดยชอบธรรม. บทว่า สพฺโพ โส ภกฺ โข อนวโย

ความว่า ไม่มีโทษ คือแม้จะมีคนดูอยู่บ่อย ๆ ก็ไม่บกพร่อง บริบูรณ์ด้วยคุณ
ไม่มีโทษ แต่ลาภที่ได้มาโดยไม่ชอบธรรม ถึงจะมีค่าตั้งแสน ก็น่าเกลียดอยู่
นั่นเอง.

เมื่อกษัตริย์สององค์ตรัสสนทนากะกันอยู่อย่างนี้ พลางเสด็จดำเนินไป
ก็ลุถึงประตูถูนนคร เมื่อทารกทั้งหลายในนครนั้นกำลังเล่นกันอยู่ มีนางกุมา-
ริกาคนหนึ่งเอากระด้งน้อยฝัดทรายเล่นอยู่ กำไลอันหนึ่งสวมอยู่ในข้อมือข้าง-
หนึ่งของนาง กำไลสองอันสวมอยู่ในข้อมือข้างหนึ่ง กำไลสองอันนั้นกระทบ
กันมีเสียง กำไลอีกอันหนึ่งไม่มีเสียง พระราชาทรงทราบเหตุนั้น มีพระดำริว่า

บัดนี้ พระนางสีวลีตามหลังเรามา ขึ้นชื่อว่าสตรีย่อมเป็นมลทินของบรรพชิต
ชนทั้งหลายเห็นนางตามเรามา จักติเตียนเราว่า บรรพชิตนี้แม้บวชแล้ว ก็ยัง
ไม่สามารถจะละภรรยาได้ ถ้านางกุมารีนี้ฉลาด จักพูดถึงเหตุให้นางสีวลีกลับ
เราจักฟังถ้อยคำของนางกุมารีนี้แล้วส่งนางสีวลีกลับ มีพระดำริฉะนี้แล้ว เสด็จ
เข้าไปใกล้นางกุมารีนั้น เมื่อจะตรัสถามจึงตรัสคาถาว่า

แน่ะนางกุมาริกาผู้ยังนอนกับแม่ ผู้ประดับกำไล
มือเป็นนิตย์ กำไลมือของเจ้าข้างหนึ่งมีเสียงดัง อีก
ข้างหนึ่งไม่มีเสียงดัง เพราะเหตุไร.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มี.ค. 2019, 20:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อุปเสนิเย ความว่า เข้าไปนอนใกล้
มารดา. บทว่า นิคฺคลมณฺฑิเต ความว่า พระมหาสัตว์ตรัสว่า มีปกติ
ประดับด้วยเครื่องประดับชั้นยอด. บทว่า สุณติ ได้แก่ ทำเสียง.
นางกุมาริกากล่าวว่า

ข้าแต่พระสมณะ เสียงเกิดแต่กำไลสองอันที่
สวมอยู่ในข้อมือของข้าพเจ้านี้กระทบกัน ความที่
กำไลทั้งสองกระทบกันนั้นเป็นเหตุแห่งเสียง กำไล
อันหนึ่งที่สวมอยู่ในข้อมือของข้าพเจ้านี้นั้น ไม่มีอัน
ที่สอง จึงไม่ส่งเสียง เป็นเหมือนนักปราชญ์สงบนิ่ง
อยู่ บุคคลสองคนก็วิวาทกัน คนเดียวจักวิวาทกับ
ใครเล่า ท่านผู้ใคร่ต่อสวรรค์ จงชอบความเป็นผู้อยู่
คนเดียวเถิด.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทุนีวารา แปลว่า กำไลสองอัน. บทว่า
สํฆฏา ความว่า เพราะกระทบกัน คือเสียดสีกัน. บทว่า คติ ได้แก่ ความ
สำเร็จ ด้วยว่า กำไลอันที่สองย่อมมีความสำเร็จเห็นปานนี้. บทว่า โส ได้แก่
กำไลนั้น. บทว่า มุนิภูโตว ความว่า ราวกะว่าพระอริยบุคคลผู้ละกิเลสได้

หมดแล้ว ดำรงอยู่. บทว่า วิวาทปฺปตฺโต ความว่า ข้าแต่พระสมณะ
ขึ้นชื่อว่าคนที่สองย่อมวิวาทกัน คือ ทะเลาะกัน ถือไปต่าง ๆ กัน. บทว่า
เกเนโก ความว่า ก็คนเดียวจักวิวาทกับใครเล่า. บทว่า เอกตฺตมุปโรจตํ

ความว่า ท่านจงชอบความเป็นผู้อยู่คนเดียวเถิด ก็แลครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว
นางกุมาริกานั้นได้กล่าวอย่างนี้อีก คือกล่าวสอนพระมหาสัตว์ว่า ข้าแต่พระผู้-
เป็นเจ้า ธรรมดาสมณะทั้งหลาย ย่อมจะไม่พาแม้น้องสาวเที่ยวไปเลย แต่
เหตุไร ท่านจึงพาภริยาซึ่งทรงรูปอันอุดมเห็นปานนี้เที่ยวไป ภริยานี้จักทำ
อันตรายแก่ท่าน ท่านจงนำภริยานี้ออกไปอยู่ผู้เดียวเท่านั้น บำเพ็ญสมณธรรม
ให้สมควรเถิด.

พระมหาสัตว์ได้สดับคำของกุมาริกาสาวนั้นแล้ว ทรงได้ปัจจัย เมื่อจะ
ตรัสกับพระเทวี จึงตรัสว่า


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มี.ค. 2019, 20:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
แน่ะสีวลี เธอได้ยินคาถาที่นางกุมาริกากล่าว
แล้วหรือ นางกุมาริกาเป็นเพียงชั้นสาวใช้มาติเตียนเรา
ความที่เราทั้งสองประพฤติ คืออาตมาเป็นบรรพชิต
เธอเป็นสตรีเดินตามกันมา ย่อมเป็นเหตุแห่งครหา
มรรคาสองแพร่งนี้ อันเราทั้งสองผู้เดินทางจงแยกกัน

ไป เธอจงถือเอาทางหนึ่งไป อาตมาก็จะถือเอาทาง
อื่นอีกทางหนึ่งไป เธออย่าเรียกอาตมาว่าเป็นพระ-
สวามีของเธอ และอาตมาก็จะไม่เรียกเธอว่าเป็นมเหสี
ของอาตมาอีก.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กุมาริยา ได้แก่ ที่นางกุมาริกากล่าวแล้ว.
บทว่า เปสิยา ความว่า ถ้าเรายังครองราชสมบัติอยู่ กุมาริกาคนนี้ก็เป็น
คนใช้คือทำตามรับสั่งของเรา แม้แต่จะแลดูเรา เธอก็ไม่อาจ แต่บัดนี้เธอติเตียน
คือกล่าวสอนเราเหมือนคนใช้และเหมือนทาสของตนว่า ทุติยสฺเสว สา คติ
ดังนี้. บทว่า อนุจิณฺโณ ได้แก่ เดินตามกันไป. บทว่า ปถาวิหิ แปลว่า

ผู้เดินทาง. บทว่า เอกํ ความว่า เธอจงถือเอาทางหนึ่งซึ่งเป็นที่ชอบใจของ
เธอ ส่วนอาตมาก็จักถือเอาอีกทางหนึ่งที่เหลือลงจากที่เธอถือเอา. บทว่า มา
จ มํ ตวํ ความว่า แน่ะสีวลี ตั้งแต่นี้ไป เธออย่าเรียกอาตมาว่าเป็น
พระสวามีของเราอีก และอาตมาก็จะไม่เรียกเธอว่า เป็นมเหสีของเรา.

พระนางสีวลีเทวีได้ทรงฟังพระดำรัสของพระมหาสัตว์แล้ว กราบทูลว่า
ข้าแต่พระองค์ พระองค์เป็นกษัตริย์สูงสุด จงถือเอาทางเบื้องขวา ส่วนข้า-
พระองค์เป็นสตรีชาติต่ำ จักถือเอาทางเบื้องซ้าย กราบทูลฉะนี้แล้ว ถวายบังคม
พระมหาสัตว์แล้วเสด็จไปได้หน่อยหนึ่ง ไม่สามารถจะกลั้นโศกาดูรไว้ได้ก็เสด็จ
มาอีก โดยเสด็จไปกับพระราชาเข้าถูนนครด้วยกัน.

พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสครึ่งคาถาว่า
กษัตริย์ทั้งสองกำลังตรัสข้อความนี้อยู่ ได้เสด็จ
เข้าไปยังถูนนคร.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นครมุปาคมุํ ความว่า เสด็จเข้าไปแล้ว
สู่นคร.
ก็แลครั้นเสด็จเข้าไปแล้ว พระมหาสัตว์เสด็จเที่ยวบิณฑบาต เสด็จ
ถึงประตูเรือนของช่างศร แม้พระนางสีวลีเทวีก็เสด็จตามไปเบื้องหลัง ประทับ
อยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง สมัยนั้น ช่างศรกำลังลนลูกศรบนกระเบื้องถ่านเพลิง
เอาน้ำข้าวทาลูกศร หลับตาข้างหนึ่ง เล็งดูด้วยตาข้างหนึ่ง ดัดลูกศรให้ตรง
พระมหาสัตว์ทอดพระเนตรเห็นดังนั้น มีพระดำริว่า ถ้าช่างศรผู้นี้จักเป็นคน
ฉลาด จักกล่าวเหตุอย่างหนึ่งแก่เรา เราจักถามเขาดู จึงเสด็จเข้าไปหาช่างศร
แล้วตรัสถาม.

พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสว่า
เมื่อใกล้เวลาฉัน พระมหาสัตว์ประทับยืนอยู่ที่
ซุ้มประตูเรือนของช่างศร ช่างศรนั้นหลับตาข้างหนึ่ง
ใช้ตาอีกข้างหนึ่งเล็งลูกศรอันหนึ่งซึ่งคดอยู่ดัดให้ตรง
ที่ซุ้มประตูนั้น.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า โกฏฺฐเก ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
พระราชาพระองค์นั้น เมื่อใกล้เวลาเสวยของพระองค์ ได้ประทับยืนอยู่ที่ซุ้ม
ประตูของช่างศร. บทว่า ตตฺร จ ได้แก่ ที่ซุ้มประตูนั้น. บทว่า นิคฺคยฺห
แปลว่า หลับแล้ว. บทว่า ชิมฺหเมเกน ความว่า ใช้จักษุข้างหนึ่งเล็งดู
ลูกศรที่คด.

ลำดับนั้น พระมหาสัตว์ได้ตรัสกะช่างศรนั้นว่า
ดูก่อนช่างศร ท่านจงฟังอาตมา ท่านหลับจักษุ
ข้างหนึ่ง เล็งดูลูกศรอันคดด้วยจักษุข้างหนึ่ง ด้วย
ประการใด ท่านเห็นความสำเร็จประโยชน์ ด้วย
ประการนั้นหรือหนอ.

คำที่เป็นคาถานั้นมีเนื้อความว่า แน่ะเพื่อนช่างศร ท่านหลับตาข้างหนึ่ง
เล็งดูลูกศรที่คดด้วยตาข้างหนึ่ง ด้วยประการใด ท่านเห็นความสำเร็จประโยชน์
ด้วยประการนั้นหรือหนอ.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ลำดับนั้น เมื่อช่างศรจะทูลแก่พระมหาสัตว์นั้น จึงกล่าวว่า
ข้าแต่พระสมณะ การเล็งด้วยจักษุทั้งสอง
ปรากฏว่าเหมือนพร่าไปไม่ถึงที่คดข้างหน้า ย่อมไม่
สำเร็จความดัดให้ตรง ถ้าหลับจักษุข้างหนึ่ง เล็งดูที่
คดด้วยจักษุอีกข้างหนึ่ง เล็งได้ถึงที่คดเบื้องหน้า
ย่อมสำเร็จความดัดให้ตรง บุคคลสองคนก็วิวาทกัน
คนเดียวจักวิวาทกับใครเล่า ท่านผู้ใคร่ต่อสวรรค์ จง
ชอบความเป็นผู้อยู่คนเดียวเถิด.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วิสาลํ วิย ความว่า ย่อมปรากฏเหมือน
พร่าไป. บทว่า อปฺปตฺวา ปรมํ ลิงฺคํ ความว่า ไม่ถึงที่คดข้างหน้า.
บทว่า นุชฺชุภาวาย ได้แก่ ไม่สำเร็จความดัดให้ตรง มีคำอธิบายว่า เมื่อ
ความพร่าปรากฏ ก็จักไม่ถึงที่ตรงข้างหน้า เมื่อไม่ถึงคือไม่ปรากฏ กิจด้วย
ความตรงจักไม่สำเร็จ คือไม่ถึงพร้อม. บทว่า สมฺปตฺวา ความว่า ถึง

คือเห็นด้วยจักษุ. บทว่า วิวาทปฺปตฺโต ความว่า เมื่อลืมตาที่สอง ที่คด
ย่อมไม่ปรากฏ คือแม้ที่คดก็ปรากฏว่าตรง แม้ที่ตรงก็ปรากฏว่าคด ความ
วิวาทย่อมมีด้วยประการฉะนี้ ฉันใด แม้สมณะมีสองรูปก็ฉันนั้น ย่อมวิวาทกัน
คือ ทะเลาะกัน ถือเอาต่าง ๆ กัน. บทว่า เกเนโก ความว่า คนเดียวจัก

วิวาทกับใครเล่า. บทว่า เอกตฺตมุปโรจตํ ความว่า ท่านจงชอบใจความ
เป็นผู้อยู่คนเดียว ธรรมดาสมณะทั้งหลาย ย่อมจะไม่พาแม้น้องสาวเที่ยวไปเลย
แต่เหตุไรท่านจึงพาภริยาซึ่งทรงรูปอันอุดมเที่ยวไป ภริยานี้จักทำอันตรายแก่
ท่าน ท่านจงนำภริยานี้ออกไปอยู่ผู้เดียวเท่านั้น บำเพ็ญสมณธรรมให้สมควร

เถิด ช่างศรกล่าวสอนพระมหาสัตว์ ด้วยประการฉะนี้ ช่างศรถวายโอวาท
แด่พระมหาสัตว์อย่างนี้แล้วก็นิ่งอยู่ พระมหาสัตว์เสด็จเที่ยวบิณฑบาต ได้
ภัตตาหารที่เจือปนแล้วเสด็จออกจากพระนคร ประทับนั่งเสวยในที่มีน้ำสมบูรณ์
พระองค์เสร็จเสวยพระกระยาหารแล้ว บ้วนพระโอฐ ล้างบาตรนำเข้าถุงแล้ว
ตรัสเรียกพระนางสีวลีมาตรัสว่า


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ดูก่อนนางสีวลี เธอได้ยินคาถาที่ช่างศรกล่าว
หรือยัง ช่างศรเป็นเพียงคนใช้ยังติเตียนเราได้ ความ
ที่เราทั้งสองประพฤตินั้นเป็นเหตุแห่งความครหา
ดูก่อนนางผู้เจริญ ทางสองแพร่งนี้อันเราทั้งสองผู้เดิน
ทางมาจงแยกกันไป เธอจงถือเอาทางหนึ่งไป อาตมา
ก็จะถือเอาทางอื่นอีกทางหนึ่งไป เธออย่าเรียกอาตมา
ว่าเป็นพระสวามีของเธอ และอาตมาก็จะไม่เรียกเธอ
ว่าเป็นมเหสีของอาตมาอีก.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุณสิ ความว่า เธอฟังคาถาหรือ ก็
พระมหาสัตว์ตรัสพระดำรัสว่า เปสิโย มํ นี้ ทรงหมายถึงโอวาทของช่างศร
นั่นเอง.

ได้ยินว่า พระนางสีวลีเทวีนั้น แม้ถูกพระมหาสัตว์ตรัสว่า เธออย่า
เรียกอาตมาว่าเป็นพระสวามีของเธอดังนี้ ก็ยังเสด็จติดตามพระมหาสัตว์อยู่
นั่นเอง พระราชาก็ไม่สามารถให้พระนางสีวลีนั้นเสด็จกลับได้ แม้มหาชนก็
ตามเสด็จพระองค์อยู่นั่นเอง ก็แต่ที่นั้นมีดงแห่งหนึ่งในที่ไม่ไกล ลำดับนั้น

พระมหาสัตว์ทอดพระเนตรเห็นแนวป่าเขียวชอุ่ม มีพระราชประสงค์จะให้
พระนางเสด็จกลับ เมื่อดำเนินไปได้ทอดพระเนตรเห็นหญ้ามุงกระต่ายในที่ใกล้
ทาง พระองค์จึงทรงถอนหญ้ามุงกระต่ายนั้น ตรัสเรียกพระเทวีมาตรัสว่า

แน่ะสีวลีผู้เจริญ เธอจงดูหญ้ามุงกระต่ายนี้ ก็หญ้ามุงกระต่ายนี้จะไม่อาจสืบต่อ
ในกอนี้ได้อีก ฉันใด ความอยู่ร่วมกับเธอของอาตมา ก็ไม่อาจจะสืบต่อกัน
ได้อีก ฉันนั้น แล้วได้ตรัสกึ่งคาถาว่า

หญ้ามุงกระต่ายที่ติดกันอยู่แต่เดิม ซึ่งอาตมา
ถอนแล้วนี้ ไม่อาจสืบต่อกันไปได้อีก ฉันใด ความ
อยู่ร่วมกันระหว่างเธอกับอาตมา ก็ไม่อาจสืบต่อได้อีก
ฉันนั้น เพราะฉะนั้น เธอจงอยู่ผู้เดียว อาตมาก็จะ
อยู่ผู้เดียวเหมือนกัน.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เอกา ความว่า แน่ะสีวลีผู้เจริญ หญ้า
มุงกระต่ายที่ติดกันอยู่แต่เดิม อันอาตมาถอนแล้ว ไม่อาจสืบต่อได้อีก ฉันใด
การอยู่ร่วมกันระหว่างเธอกับอาตมา ก็ไม่อาจทำได้แม้ฉันนั้น เพราะฉะนั้น
เราจักอยู่ผู้เดียวน๊ะสีวลี แม้เธอก็จงอยู่ผู้เดียวเหมือนกัน พระมหาสัตว์ได้
ประทานพระโอวาทแก่พระนางสีวลีเทวี ด้วยประการฉะนี้.

พระนางได้ฟังพระดำรัสของพระมหาสัตว์แล้วตรัสว่า จำเดิมแต่นี้ไป
เราจะไม่ได้อยู่ร่วมกับพระมหาชนกนรินทรราชอีก พระนางไม่อาจจะทรงกลั้น
โศกาดูร ก็ข้อนทรวงด้วยพระหัตถ์ทั้งสอง ทรงปริเทวนาการร่ำไรอยู่เป็นอัน
มาก ถึงวิสัญญีภาพล้มลงที่หนทางใหญ่ พระมหาสัตว์ทรงทราบว่า พระนาง

ถึงวิสัญญีภาพ ก็สาวพระบาทเสด็จเข้าสู่ป่า ขณะนั้น หมู่อมาตย์มาสรงพระสรีระ
แห่งพระนางนั้น ช่วยกันถวายอยู่งานที่พระหัตถ์และพระบาท พระนางได้สติ
เสด็จลุกขึ้นตรัสถามว่า พระราชาเสด็จไปข้างไหน หมู่อมาตย์ย้อนทูลถามว่า
พระแม่เจ้าก็ไม่ทรงทราบดอกหรือ พระนางตรัสให้เที่ยวค้นหา พวกนั้นพากัน
วิ่งไปข้างโน้นบ้างข้างนี้บ้าง ก็ไม่พบพระราชา พระนางทรงปริเทวนาการ

มากมาย แล้วให้สร้างพระเจดีย์ตรงที่พระราชาประทับยืน บูชาด้วยของหอม
และดอกไม้เป็นต้น แล้วเสด็จกลับกรุงมิถิลา ฝ่ายพระมหาสัตว์เสด็จเข้าป่า
หิมวันต์ ทำอภิญญาและสมาบัติให้เกิดภายในเจ็ดวัน มิได้เสด็จมาสู่ถิ่นมนุษย์
อีก ฝ่ายพระนางสีวลีเทวีเสด็จกลับแล้ว โปรดให้สร้างพระเจดีย์หลายองค์ ณ

ที่ที่พระมหาสัตว์ตรัสกับช่างศร ตรัสกะนางกุมารี เสวยเนื้อที่สุนัขทิ้ง ตรัสกับ
มิคาชินดาบส และตรัสกับนารทดาบส ทุกตำบลแล้ว บูชาด้วยของหอมและ
ดอกไม้เป็นต้น ทรงแวดล้อมไปด้วยเสนางคนิกร ภายหลังเสด็จไปถึงมิถิลานคร
ทรงอภิเษกพระราชโอรส ณ พระราชอุทยานอัมพวัน ทรงส่งพระราชโอรส


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
อันหมู่เสนาแวดล้อมแล้วเข้าพระนคร พระองค์เองทรงผนวชเป็นดาบสินี
ประทับอยู่ ณ พระราชอุทยานนั้น ทรงทำกสิณบริกรรมก็ได้บรรลุฌาน ไม่
เสื่อมจากฌาน เป็นผู้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้าในที่สุดแห่งพระชนมายุ
ฝ่ายพระมหาสัตว์ก็ไม่เสื่อมจากฌาน ได้เข้าถึงพรหมโลกเหมือนกัน.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น ออกมหาภิเนษกรมณ์ แม้ในกาลก่อน
ตถาคตก็ออกมหาภิเนษกรมณ์เหมือนกัน แล้วทรงประชุมชาดกว่า ท้าวสักก-
เทวราชในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระอนุรุทธะในบัดนี้ พราหมณ์ทิศาปาโมกข์ได้
มาเป็นพระกัสสปะ นางมณีเมขลาเทพธิดาผู้รักษาสมุทร ได้มาเป็นอุบลวรรณา

ภิกษุณี นารทดาบสได้มาเป็นพระสารีบุตร มิคาชินดาบสได้มาเป็นพระโมค-
คัลลานะ นางกุมาริกาได้มาเป็นนางเขมาภิกษุณี ช่างศรได้มาเป็นพระอานนท์
ราชบริษัทที่เหลือได้มาเป็นพุทธบริษัท สีวลีเทวีได้มาเป็นราหุลมารดา
ฑีฆาวุกุมารได้มาเป็นราหุล พระชนกพระชนนีได้มาเป็นมหาราชศักยสกุล
ส่วนพระมหาชนกนรินทรราช คือเราผู้เป็นสัมมาสัมพุทธเจ้านี่เอง.
จบ มหาชนกชาดก

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
สุวรรณสามชาดก

พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภ
พระภิกษุรูปหนึ่งผู้เลี้ยงมารดา ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า โก นุ มํ อุสุนา
วิชฺฌิ ดังนี้เป็นต้น.

ดังได้สดับมา ในกรุงสาวัตถี มีกุลบุตรผู้หนึ่งเป็นบุตรคนเดียวของสกุล
เศรษฐีผู้หนึ่งซึ่งมีทรัพย์สมบัติสิบแปดโกฏิ กุลบุตรนั้นเป็นที่รักเป็นที่เจริญใจ
ของบิดามารดา วันหนึ่ง เขาอยู่บนปราสาทเปิดสีหบัญชรแลดูในถนนใหญ่
เห็นมหาชนถือของหอมและดอกไม้เป็นต้น ไปสู่พระเชตวันมหาวิหาร เพื่อต้อง
การสดับพระธรรมเทศนา จึงคิดว่า แม้ตัวเราก็จักไปกับพวกนั้นบ้าง จึงให้

คนถือของหอมและดอกไม้เป็นต้นไปสู่พระวิหาร ถวายผ้าเภสัชและน้ำดื่ม
เป็นต้นแด่พระสงฆ์ และบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยของหอมและดอกไม้
เป็นต้น ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนหนึ่ง ฟังพระธรรมเทศนาแล้วเห็น
โทษในกามทั้งหลาย กำหนดอานิสงส์แห่งบรรพชา ครั้นบริษัทลุกไปแล้ว จึง

ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าทูลขอบรรพชา ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสกะกุลบุตรนั้นอย่างนี้ว่า พระตถาคตทั้งหลายไม่ยังบุตรที่บิดามารดายังมิได้
อนุญาตให้บรรพชา กุลบุตรได้ฟังรับสั่งดังนั้น จึงถวายบังคมพระผู้มีพระ-
ภาคเจ้า กลับไปเคหสถาน ไหว้บิดามารดาด้วยความเคารพเป็นอันดีแล้วกล่าว

อย่างนี้ว่า ข้าแต่คุณพ่อคุณแม่ ข้าพเจ้าจักบวชในสำนักพระตถาคต ลำดับนั้น
บิดามารดาของกุลบุตรนั้นได้ฟังคำของเขาแล้ว ก็เป็นราวกะมีหัวใจแตกเป็น
เจ็ดเสี่ยง เพราะมีบุตรคนเดียว หวั่นไหวอยู่ด้วยความสิเนหาในบุตร ได้กล่าว
อย่างนี้ว่า ดูก่อนพ่อผู้เป็นบุตรที่รัก ผู้เป็นหน่อแห่งสกุล ผู้เป็นดั่งดวงตา

ผู้เช่นกับชีวิตของเราทั้งสอง เราทั้งสองเว้นจากเจ้าเสีย จะมีชีวิตอยู่ได้อย่างไร
ชีวิตของเราทั้งสองเนื่องในเจ้า เราทั้งสองก็แก่เฒ่าแล้ว จักตายในวันนี้พรุ่งนี้
หรือมะรืนนี้ เจ้ายังจะละเราทั้งสองไปเสียอีก ธรรมดาว่าบรรพชาอันบุคคล
ทำได้ยากยิ่ง เมื่อต้องการเย็น ย่อมได้ร้อน เมื่อต้องการร้อน ย่อมได้เย็น


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
เพราะเหตุนั้น เจ้าอย่าบวชเลย กุลบุตรได้สดับคำของบิดามารดาดังนั้น ก็มี
ความทุกข์โทมนัส นั่งก้มศีรษะซบเซา ไม่บริโภคอาหารเจ็ดวัน ลำดับนั้น
บิดามารดาของกุลบุตรนั้น คิดกันอย่างนี้ว่า ถ้าบุตรของเราไม่ได้รับอนุญาต
ให้บวชก็จักตาย เราจักไม่ได้เห็นเขาอีกเลย บุตรเราเป็นอยู่ด้วยเพศบรรพชิต
เราจักได้เห็นอีกต่อไป ครั้นคิดเห็นกันอย่างนี้แล้วจึงอนุญาตว่า ดูก่อนพ่อ

ผู้เป็นลูกรัก เราอนุญาตให้เจ้าบวช เจ้าจงบวชเถิด กุลบุตรได้ฟังดังนั้นก็มี
ได้ยินดี น้อมสรีระทั้งสิ้นลงกราบแทบเท้าบิดามารดา ลาออกจากกรุงสาวัตถี
ไปสู่พระเชตวันมหาวิหาร ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าทูลขอบรรพชา
พระศาสดาตรัสสั่งภิกษุรูปหนึ่งให้บวชกุลบุตรนั้นเป็นสามเณร จำเดิมแต่
สามเณรนั้นบวชแล้ว ลาภสักการะเกิดขึ้นเป็นอันมาก สามเณรนั้นยังอาจารย์

และอุปัชฌาย์ให้ยินดีอุปสมบทเป็นภิกษุแล้ว เล่าเรียนธรรมอยู่ห้าพรรษา
ดำริว่า เราอยู่ในที่นี้เกลื่อนกล่นไปด้วยหมู่ญาติเป็นต้น หาสมควรแก่เราไม่
เป็นผู้ใคร่จะบำเพ็ญวิปัสสนาธุระ จึงเรียนกรรมฐานในสำนักอุปัชฌาย์ ออก
จากวิหารเชตวันไปสู่ปัจจันตคามแห่งหนึ่ง อยู่ในป่าอาศัยปัจจันตคามนั้น ภิกษุ
นั้นเจริญวิปัสสนาในที่นั้น แม้เพียรพยายามอยู่ถึงสิบสองปี ก็ไม่สามารถยัง

ธรรมวิเศษให้เกิด ฝ่ายบิดามารดาของภิกษุนั้น ครั้นเมื่อกาลล่วงไปได้ขัดสน
ลง คิดเห็นว่า ก็เหล่าชนที่ประกอบการนาหรือพาณิชย์ บุตรหรือพี่น้องที่จะ
เตือนนึกถึงพาพวกเราไป ไม่มีในสกุลนี้ พวกเขาถือเอาทรัพย์ตามกำลังของตน ๆ
หนีไปตามชอบใจ แม้ทาสกรรมกรในเรือนเป็นต้น ก็ถือเอาเงินทองเป็นต้น
หนีไป ครั้นต่อมา ชนทั้งสองจึงตกทุกข์ได้ยากเหลือเกิน ไม่ได้แม้การรดน้ำ

ในมือ ต้องขายเรือน ไม่มีเรือนอยู่ ถึงความเป็นผู้น่าสงสารอย่างยิ่ง นุ่งห่ม
ผ้าท่อนเก่า ถือกระเบื้องเที่ยวขอทานที่นี่ที่นั่น ในกาลนั้น ภิกษุรูปหนึ่งออก
จากพระเชตวันมหาวิหารไปถึงที่อยู่ของภิกษุบุตรเศรษฐีอนาถานั้น ภิกษุเศรษฐี
บุตรนั้นทำอาคันตุกวัตรแก่ภิกษุนั้นแล้ว นั่งเป็นสุขแล้วจึงถามว่า ท่านมา


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
แต่ไหน ภิกษุอาคันตุกะแจ้งว่ามาแต่พระเชตวัน จึงถามถึงความผาสุกแห่ง
พระศาสดาและของพระมหาสาวกเป็นต้น แล้วถามถึงข่าวคราวแห่งบิดามารดา
ว่า ท่านขอรับ สกุลเศรษฐีชื่อโน้นในกรุงสาวัตถีสบายดีหรือ ภิกษุอาคันตุกะ
ตอบว่า อาวุโส ท่านอย่าถามถึงข่าวคราวแห่งสกุลนั้นเลย ถามว่า เป็น
อย่างไรหรือท่าน ตอบว่า ได้ยินว่า สกุลนั้นมีบุตรคนเดียว เขาบวชในพระ-

ศาสนา จำเดิมแต่เขาบวชแล้ว สกุลนั้นก็เสื่อมสิ้นไป บัดนี้เศรษฐีทั้งสอง
เป็นกำพร้าน่าสงสารอย่างยิ่ง ถือกระเบื้องเที่ยวขอทาน ภิกษุเศรษฐีบุตรได้
ฟังคำของภิกษุอาคันตุกะแล้ว ก็ไม่อาจจะทรงตัวอยู่ได้ มีน้ำตานองหน้าเริ่ม
ร้องไห้ พระเถระเห็นดังนั้นจึงกล่าวว่า เธอร้องไห้ทำไม ภิกษุเศรษฐีบุตร
ตอบว่า ท่านขอรับ ชนสองคนนั้นเป็นบิดามารดาของกระผม กระผมเป็น

บุตรของท่านทั้งสองนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า บิดามารดาของเธอถึงความ
พินาศเพราะอาศัยเธอ เธอจงไปปฏิบัติบิดามารดานั้น ภิกษุเศรษฐีบุตรคิดว่า
เราแม้เพียรพยายามอยู่ถึงสิบสองปี ก็ไม่สามารถที่จะยังมรรคหรือผลให้บังเกิด
เราจักเป็นคนอาภัพ ประโยชน์อะไรด้วยบรรพชาเล่า เราจักเป็นคฤหัสถ์เลี้ยง
บิดามารดา ให้ทาน จักเป็นผู้มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า คิดฉะนี้แล้ว

มอบสถานที่อยู่ในป่าแก่พระเถระนั้น นมัสการพระเถระแล้ว รุ่งขึ้นจึงออก
จากป่าไปโดยลำดับ ลุถึงวิหารหลังพระเชตวัน ไม่ไกลกรุงสาวัตถี ณ ที่
ตรงนั้นเป็นทางสองแพร่ง ทางหนึ่งไปพระเชตวัน ทางหนึ่งไปในกรุงสาวัตถี
ภิกษุนั้นหยุดอยู่ตรงนั้น คิดว่า เราจักไปหาบิดามารดาก่อน หรือจักไปเฝ้า

พระทศพลก่อน แล้วคิดต่อไปว่า เราไม่ได้พบบิดามารดานานแล้วก็จริง แต่
จำเดิมแต่นี้ เราจักได้เฝ้าพระพุทธเจ้าได้ยาก วันนี้เราจักเฝ้าพระสัมมาสัม-
พุทธเจ้าแล้วฟังธรรม รุ่งขึ้นจึงไปหาบิดามารดาแต่เช้าเทียว คิดฉะนี้แล้ว ละ
มรรคาไปกรุงสาวัตถี ไปสู่มรรคาที่ไปพระเชตวัน ถึงพระเชตวันเวลาเย็น.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มี.ค. 2019, 07:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ก็วันนั้น พระศาสดาทรงตรวจดูสัตวโลกในเวลาใกล้รุ่ง ทรงเห็น
อุปนิสัยแห่งภิกษุผู้เป็นบุตรแห่งสกุลรูปนี้ พระองค์จึงทรงพรรณนาคุณแห่ง
บิดามารดาด้วยมาตุโปสกสูตร ในเวลาที่ภิกษุนั้นมาถึง ก็ภิกษุนั้นยืนอยู่ในที่
สุดบริษัท สดับธรรมกถาอันไพเราะ จึงรำพึงว่า เราคิดไว้ว่าจักเป็นคฤหัสถ์

อาจบำรุงปฏิบัติบิดามารดา แต่พระศาสดาตรัสว่า แม้เป็นบรรพชิตก็ทำอุปการะ
แก่บิดามารดาได้ ถ้าเราไม่ได้มาเฝ้าพระศาสดาก่อนแล้วไป พึงเสื่อมจาก
บรรพชาเห็นปานนี้ ก็บัดนี้ เราไม่ต้องสึกเป็นคฤหัสถ์ เป็นบรรพชิตอยู่นี่แหละ
จักบำรุงบิดามารดา ภิกษุนั้นถวายบังคมพระศาสดาแล้วออกจากพระเชตวันไป
สู่โรงสลาก รับภัตตาหารและยาคูที่ได้ด้วยสลาก เป็นภิกษุอยู่ป่าสิบสองปี ได้

เป็นเหมือนถึงความเป็นผู้พ่ายแพ้แล้ว ภิกษุนั้นเข้าไปในกรุงสาวัตถีแต่เช้า
ทีเดียว คิดว่าเราจักรับข้าวยาคูก่อนหรือไปหาบิดามารดาก่อน แล้วคิดว่า
การมีมือเปล่าไปสู่สำนักคนกำพร้าไม่สมควร จึงถือเอายาคูไปสู่ประตูเรือนเก่า
ของบิดามารดาเหล่านั้น ได้เห็นบิดามารดาเที่ยวขอยาคูแล้วเข้าอาศัยริมฝาเรือน
คนอื่นนั่งอยู่ ถึงความเป็นคนกำพร้าเข็ญใจ ก็มีความโศกเกิดขึ้น มีน้ำตา

นองหน้ายืนอยู่ในที่ใกล้ ๆ บิดามารดาทั้งสองนั้น บิดามารดาแม้เห็นท่านแล้ว
ก็จำไม่ได้ มารดาของภิกษุนั้นสำคัญว่า ภิกษุนั้นจักยืนเพื่อภิกขาจาร จึง
กล่าวว่า ของเคี้ยวของฉันอันควรถวายพระผู้เป็นเจ้าไม่มี นิมนต์โปรดสัตว์
ข้างหน้าเถิด ภิกษุนั้นได้ฟังคำแห่งมารดา ก็เกิดความโศกเป็นกำลัง มีน้ำตา

นองหน้ายืนอยู่ตรงนั้นเอง เพราะได้รับความเศร้าใจ แม้มารดากล่าวเช่นนั้น
สองครั้งสามครั้ง ก็ยังยืนอยู่นั่นเอง ลำดับนั้น บิดาของภิกษุนั้นพูดกะมารดาว่า
จงไปดู นั่นบุตรของเราทั้งสองหรือหนอ นางลุกขึ้นแล้วไปใกล้ภิกษุนั้นแลดู


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ รักลูกมากเลี้ยงลูกดีเกินไป ระวังจะเสียใจภายหลัง
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 122, 123, 124, 125, 126, 127, 128 ... 179  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 34 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร