วันเวลาปัจจุบัน 26 เม.ย. 2024, 06:29  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 22, 23, 24, 25, 26, 27, 28 ... 179  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระกุมารทูลขอบรรพชาเรื่อย ๆ ด้วยประการฉะนี้. พระราชาตรัส
ห้ามว่า อย่าบวชเลยพ่อคุณเอ๋ย. พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น
จึงตรัสกึ่งพระคาถาว่า

พระโอรสกราบทูลวิงวอนพระราชบิดา พระ-
ราชบิดาหรือก็ทรงวิงวอนพระราชโอรส.
วาอักษรในพระคาถานั้น เป็นสัมปิณฑนัตถะ (มีการประมวลมาเป็น
อรรถ). ข้อนี้มีพุทธาธิบายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระโอรสก็วิงวอนพระ-
ราชบิดา และพระราชบิดาก็ทรงวิงวอนพระราชโอรส.
พระราชาตรัสกึ่งพระคาถาที่เหลือว่า

พ่อเอ๋ย ชาวนิคมพากันอ้อนวอนว่า ข้าแต่
พระยุธัญชัย พระองค์อย่าทรงผนวชเลย.
คำแห่งคาถานั้น มีอธิบายว่า พ่อเอ๋ย มหาชนชาวนิคมนี้ พากัน
อ้อนวอนลูก ถึงชนชาวนครเล่าก็พากันอ้อนวอนเหมือนกันว่า พระองค์อย่า
บวชเลย.
พระกุมารตรัสพระคาถาที่ ๕ ว่า

ข้าแต่พระราชบิดาผู้ทรงเป็นจอมทัพ พระองค์
อย่าทรงห้ามหม่อมฉันผู้จะบวชเลย อย่าให้หม่อมฉัน
ได้มัวเมาอยู่ด้วยกามทั้งหลาย เป็นไปในอำนาจแห่ง
ชราเลย พระเจ้าข้า.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วสมนฺวคู ความว่า หม่อมฉันอย่าเป็น
คนหมกมุ่นด้วยกามทั้งหลาย ได้นามว่า ดำเนินไปสู่อำนาจของชราเลย. อธิบาย
ว่า ก็แลทูลกระหม่อม โปรดทรงทอดพระเนตรหม่อมฉัน โดยฐานะที่จะเป็น
ผู้ยังวัฏทุกข์ให้สิ้นไปแล้ว ตรัสรู้พระสัพพัญญุตญาณเถิด พระเจ้าข้า.

เมื่อพระโพธิสัตว์ ได้กราบทูลอย่างนี้แล้ว พระราชาได้ทรงยอมจำนน
ฝ่ายพระราชมารดาของพระโพธิสัตว์นั้น ทรงสดับว่า ข้าแต่พระเทวี พระโอรส
ของพระนาง กำลังกราบทูลให้พระราชบิดาทรงอนุญาตการบรรพชาอยู่ เจ้าคะ
ตรัสว่า พวกเจ้าพากันพูดเรื่องอะไรกัน ทั้ง ๆ ที่พระพักตร์ก็มิได้ผัด ประทับ
นั่งเหนือพระวอทอง รีบเสด็จไปสู่สถานที่วินิจฉัย เมื่อจะตรัสวิงวอน จึงตรัส
คาถาที่ ๖ ว่า

ลูกเอ๋ย แม่ขอร้องเจ้าแม่ขอห้ามเจ้า แม่ปรารถนา
จะเห็นเจ้านาน ๆ เจ้าอย่าบวชเลยนะ พ่อยุธัญชัย.
พระราชกุมาร ได้สดับพระราชเสาวนีย์นั้นแล้ว จึงตรัสคาถาที่ ๗ ว่า
น้ำค้างบนยอดหญ้า พระอาทิตย์ขึ้นก็เหือดแห้ง
ไปฉันใด อายุของมนุษย์ทั้งหลาย ก็ฉันนั้น ขอทูล
กระหม่อมแม่ อย่าทรงห้ามฉันเลย พระเจ้าข้า.

คำแห่งคาถานั้น มีอธิบายว่า ข้าแต่ทูลกระหม่อมแม่ หยาดน้ำค้าง
บนยอดหญ้า พอพระอาทิตย์ขึ้นไปก็สลายแห้งหายไป มิอาจจะดำรงอยู่ได้ คือ
ตกลงดินหมด ฉันใด ชีวิตของหมู่สัตว์เหล่านี้ ก็ฉันนั้น เป็นของนิดหน่อย
เป็นไปชั่วกาล มิได้ตั้งอยู่นานเลย ในโลกสันนิวาสเห็นปานนี้ พระองค์จะ
ทรงเห็นหม่อมฉันนาน ๆ ได้อย่างไรเล่า พระเจ้าข้า โปรดอย่าทรงห้าม
หม่อมฉันเลย.

แม้เมื่อพระโพธิสัตว์ กราบทูลอย่างนี้แล้ว พระนางก็คงตรัสอ้อนวอน
แล้ว ๆ เล่า ๆ อยู่นั่นเอง. ลำดับนั้น พระมหาสัตว์เจ้า เมื่อจะกราบทูลเตือน
พระราชบิดา จึงตรัสพระคาถาที่ ๘ ว่า


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมเสนา ขอได้โปรดรีบ
ตรัสให้พระราชมารดาเสด็จขึ้นสู่ยานนี้เสียเถิด พระ
มารดาอย่าได้ทรงกระทำอันตราย แก่หม่อมฉัน ผู้
กำลังรีบด่วนเสียเลย.

คำเป็นคาถานั้น มีอธิบายว่า ข้าแต่พระทูลกระหม่อมผู้เป็นจอมรถ
โปรดตรัสให้คนรีบเชิญพระมารดาของหม่อมฉันนี้ เสด็จขึ้นสู่พระยาน คือ
พระวอทอง พระมารดาอย่าได้ทรงทำอันตรายแก่หม่อมฉัน ผู้กำลังจะข้ามก้าว
ล่วงแดนกันดารคือ ชาติ ชรา พยาธิ และมรณะเสียเลย.

พระราชาทรงได้สดับพระดำรัสของพระโอรสแล้ว ตรัสว่า นางผู้เจริญ
ขอได้ไปเสียเถิด จงประทับนั่งเหนือวอของเธอ ขึ้นสู่ปราสาทอันยังความยินดี
ให้เจริญเลยทีเดียวเถิด. พระนางทรงสดับพระราชดำรัสของพระราชานั้น เมื่อ
มิอาจจะประทับอยู่ได้ ทรงแวดล้อมไปด้วยหมู่นารี เสด็จไปสู่พระปราสาท
ได้ประทับยืนทอดพระเนตรสถานวินิจฉัย ด้วยหมายพระทัยว่า ลูกรักจักเป็น

ไปอย่างไรเล่าหนอ. ฝ่ายพระโพธิสัตว์เจ้า เมื่อพระมารดาเสด็จไปแล้ว ทรง
้อ้อนวอนพระราชบิดาอีก. พระราชา เมื่อมิทรงอาจจะห้ามได้ ก็ทรงอนุญาต
ว่า พ่อเอ๋ย ถ้าเช่นนั้น จงทำใจของเธอให้ถึงที่สุดเถิด พ่อจงผนวชเถิด.
ในเวลาที่พระราชาทรงอนุญาตแล้ว พระขนิษฐาของพระโพธิสัตว์เจ้า พระนาม

ว่ายุธิฏฐิลกุมาร ถวายบังคมพระราชบิดา กราบทูลขออนุญาตว่า ข้าแต่พระทูล
กระหม่อม ขอพระองค์โปรดอนุญาตการบรรพชาของหม่อมฉันด้วยเถิด. พระ
พี่น้องทั้งสองพระองค์ ถวายบังคมพระราชบิดา ละกามทั้งหลาย มีมหาชน


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
แวดล้อมพากันเสด็จออกจากสถานที่วินิจฉัย. ฝ่ายพระเทวีทอดพระเนตรดูพระ
มหาสัตว์ ทรงพระกันแสงว่า เมื่อลูกฉันผนวชแล้ว รัมมนครก็จักว่างเปล่า
จึงตรัสพระคาถาทั้ง ๒ ว่า

ท่านทั้งหลาย จงช่วยวิ่งเต้นด้วยเถิด ขอความ
เจริญจงมีแก่ท่านเถิด รัมมนครจักเปล่าเปลี่ยวเสียแล้ว
พ่อยุธัญชัย พระเจ้าสัพพทัตทรงอนุญาตแล้วละ.
เจ้าชายพระองค์ใด เป็นผู้ประเสริฐกว่ามนุษย์
ทั้งหลาย ยังกำลังหนุ่มแน่นเปล่งปลั่งดังทองธรรมชาติ
เจ้าชายพระองค์นั้น มีพระกำลังแข็งแรง มีผ้านุ่งห่ม
ย้อมด้วยน้ำฝาดบวชแล้ว.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อภิธาวถ ความว่า พระนางมิได้ตรัสสั่ง
เหล่านารี ที่ยืนล้อมอยู่ทุกนางทีเดียวว่า แน่ะนางผู้เจริญทั้งหลาย สูทั้งหลายจงวิ่ง
เต้นเข้าเถิด. ด้วยบทว่า ภทฺทนฺเต พระนางตรัสว่า ความเจริญเพราะการ
ไปอย่างนั้น จงมีแก่สูเถิด. บทว่า รมฺมกํ พระนางตรัสหมายถึงรัมมนคร.

บทว่า โยหุ เสฏฺโ€ ความว่า พระโอรสของพระราชาผู้ประเสริฐกว่าพระ-
โอรสตั้งพันนั้น ทรงผนวชเสียแล้ว ทั้งนี้ พระนางตรัสหมายถึง พระมหาสัตว์
ผู้กำลังเสด็จไปเพื่อทรงผนวช ด้วยประการฉะนี้.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ฝ่ายพระโพธิสัตว์ ยังไม่ทรงผนวชในทันที. พระองค์ทรงถวายบังคม
พระราชมารดา พระราชบิดาแล้ว ทรงชักชวนพระขนิษฐายุธิฏฐิลกุมาร เสด็จ
ออกจากพระนคร ให้มหาชนพากันกลับไปแล้ว พระพี่น้องทั้ง ๒ พระองค์
ก็เสด็จเข้าสู่ป่าหิมพานต์ ทรงสร้างอาศรม ณ สถานที่อันน่ารื่นรมย์ใจ ทรง

ผนวชเป็นฤาษี ทำฌานและอภิญญาให้บังเกิดได้แล้ว เลี้ยงชีพด้วยผลหมากราก
ไม้ ในป่าเป็นต้น จนตลอดพระชามายุ ได้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า
แล้ว. พระศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสพระคาถาสุดท้ายว่า

เจ้าชายทั้ง ๒ พระองค์ คือยุธัญชัยกับยุธิฏฐิละ
ทรงละทิ้งพระราชมารดาและพระราชบิดาแล้วทรงตัด
เครื่องข้องแห่งมัจจุราช เสด็จออกผนวชแล้ว.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มจฺจุโน แปลว่า แห่งมาร. มีพุทธา-
ธิบายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระกุมารทั้ง ๒ พระองค์นั้น คือยุธัญชัยและ
ยุธิฏฐิละทรงละพระราชมารดาและพระราชบิดาเสีย ตัดเครื่องข้องของมาร
คือกิเลสเป็นเครื่องข้อง ได้แก่ ราคะ โทสะ และโมหะ พากันผนวชแล้ว.
พระศาสดา ทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประกาศสัจจะทั้ง

หลายแล้วตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ถึงในกาลก่อน
ตถาคตก็ได้เคยละราชสมบัติผนวชแล้วเหมือนกัน ดังนี้แล้ว จึงทรงประชุม
ชาดกว่า พระราชมารดาพระราชบิดาในครั้งนั้น ได้มาเป็นตระกูลมหาราชใน
บัดนี้ ยุธิฏฐิลกุมาร ได้มาเป็นพระอานนท์ ส่วนยุธัญชัย ก็คือเรา
ตถาคตนั่นเองแล.
จบอรรถกถายุธัญชัยชาดก

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาทสรถชาดก

พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระ
ปรารภกุฎุมพีผู้บิดาตายแล้วคนหนึ่ง จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้น
ว่า เอถ ลกฺขณสีตา จ ดังนี้.

ความพิสดารว่า กุฎุมพีนั้น เมื่อบิดาถึงแก่กรรมแล้วถูกความเศร้า
โศกครอบงำ จึงทอดทิ้งหน้าที่การงานเสียทุกอย่าง ครุ่นแต่ความเศร้าโศกอยู่
แต่ถ่ายเดียว. พระศาสดา ทรงตรวจดูสัตวโลกในเวลาใกล้รุ่ง ทอดพระเนตร
เห็นอุปนิสัยแห่งโสดาปัตติผลของเขา รุ่งขึ้นจึงเสด็จโปรดสัตว์ในกรุงสาวัตถี
เสวยพระกระยาหารเสร็จแล้ว ทรงส่งภิกษุทั้งหลายกลับ ทรงชวนไว้เป็นปัจฉา

สมณะเพียงรูปเดียว เสด็จไปยังเรือนของเขา เมื่อตรัสเรียกเขาผู้นั่งถวายบังคม
ด้วยพระดำรัสอันไพเราะ จึงตรัสว่า ดูก่อนอุบาสก เจ้าเศร้าโศกไปทำไม เมื่อ
เขากราบทูลว่า พระเจ้าข้า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความเศร้าโศกถึงบิดากำลัง
เบียดเบียนข้าพระองค์ จึงตรัสว่า ดูก่อนอุบาสก บัณฑิตในปางก่อน ทราบ
โลกธรรม ๘ ประการ ตามความเป็นจริง เมื่อบิดาถึงแก่กรรมแล้ว ก็มิได้

ประสบความเศร้าโศก แม้สักน้อยหนึ่งเลย เขากราบทูลอาราธนา จึงทรงนำ
อดีตนิทานมาตรัสว่า

ในอดีตกาล พระเจ้าทสรถมหาราช ทรงละความถึงอคติ เสวย-
ราชสมบัติโดยธรรม ในกรุงพาราณสี พระอัครมเหสีผู้เป็นใหญ่กว่าสตรี
๑๖,๐๐๐ นางของท้าวเธอ ประสูติพระโอรส ๒ พระองค์ พระธิดา ๑ พระองค์
พระโอรสองค์ใหญ่ทรงพระนามว่า รามบัณฑิต องค์น้องทรงพระนามว่า ลัก-
ขณกุมาร พระธิดาทรงพระนามว่า สีดาเทวี. ครั้นจำเนียรกาลนานมา พระอัคร
มเหสีสิ้นพระชนม์. พระราชาเมื่อพระนางสิ้นพระชนม์แล้ว ทรงถึงอำนาจแห่ง
ความเศร้าโศกตลอดกาลนาน หมู่อำมาตย์ช่วยกันกราบทูลให้ทรงสร่าง ทรงกระ


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ทำการบริหารที่ควรกระทำแก่พระนางแล้ว ทรงตั้งสตรีอื่นไว้ในตำแหน่งอัครม-
เหสีพระนางเป็นที่รัก เป็นที่จำเริญพระหฤทัยของพระราชา. ครั้นกาลต่อมา แม้
พระนางก็ทรงพระครรภ์ ทรงได้รับพระราชทานเครื่องครรภ์บริหาร จึงประสูติ
พระราชโอรส. พระประยูรญาติขนานพระนามพระโอรสนั้นว่า ภรตกุมาร.
พระราชาตรัสว่า แน่ะนางผู้เจริญ ฉันขอให้พรแก่เธอ เธอจงรับเถิด ด้วย

ทรงพระเสน่หาในพระโอรส. พระนางทรงเฉยเสีย ทำทีว่าทรงรับแล้ว จน
พระกุมารมีพระชนมายุได้ ๗ - ๘ พรรษา จึงเข้าไปเฝ้าพระราชา กราบทูลว่า
พระทูลกระหม่อม พระองค์พระราชทานพระพรไว้แก่บุตรของกระหม่อมฉัน
บัดนี้ ขอทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพระพรนั้นแก่เธอ เมื่อพระราชาตรัส

ว่ารับเอาเถิด นางผู้เจริญ จึงกราบทูลว่า ข้าแต่พระทูลกระหม่อม ขอพระองค์
โปรดทรงพระกรุณาพระราชทานราชสมบัติ แก่บุตรของกระหม่อมฉันเถิด
พระเจ้าข้า. พระราชาทรงตบพระหัตถ์ตรัสขู่ว่า เจ้าจงย่อยยับเสียเถอะ นางถ่อย
บุตรของข้า ๒ คน กำลังรุ่งเรืองเหมือนกองเพลิง เจ้าจะให้ข้าฆ่าเขาทั้ง ๒ คน
เสียแล้ว ขอราชสมบัติให้ลูกของเจ้า. พระนางตกพระทัย เสด็จเข้าสู่พระ-

ตำหนักอันทรงสิริ ถึงในวันอื่น ๆ เล่า ก็คงทูลขอราชสมบัติกับพระราชาเนือง ๆ
ทีเดียว. พระราชาครั้นไม่พระราชทานพระพรแก่พระนาง จึงทรงพระดำริ
ว่า ขึ้นชื่อว่ามาตุคามเป็นคนอกตัญญู มักทำลายมิตร นางนี้พึงปลอมหนังสือ
หรือจ้างคนโกง ๆ ฆ่าลูกทั้ง ๒ ของเราเสียได้. พระองค์จึงตรัสสั่งให้พระราช
โอรสทั้ง ๒ เข้าเฝ้า ตรัสความนั้น มีพระดำรัสว่า พ่อเอ๋ย อันตรายคงจักมี
แก่พวกเจ้า ผู้อยู่ ณ ที่นี้ เจ้าทั้งหลายจงพากันไปสู่แดนแห่งสามันตราช หรือ


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
สู่ราวป่า พากันมาก็ต่อเมื่อพ่อตายแล้ว ยึดเอาราชสมบัติของตระกูลเถิด ดังนี้
แล้ว รับสั่งให้พวกโหราจารย์เข้าเฝ้าอีก ตรัสถามกำหนดพระชนมายุของ
พระองค์ ทรงสดับว่า จักยั่งยืนไปตลอด ๑๒ ปีข้างหน้า จึงตรัสว่า พ่อเอ๋ย
โดยล่วงไป ๑๒ ปีถัดจากนี้ พวกเจ้าจงพากันมา ให้มหาชนยกฉัตรถวาย.
พระราชโอรสเหล่านั้น กราบทูลว่า ดีแล้ว พระเจ้าข้า พากันถวายบังคม

พระราชบิดา ทรงพระกันแสง เสด็จลงจากพระปราสาท. พระนางสีดาเทวี
ทรงพระดำริว่า ถึงเราก็จักไปกับพี่ทั้ง ๒ ถวายบังคมพระราชบิดา ทรงพระ-
กันแสงเสด็จออก. กษัตริย์ทั้ง ๓ พระองค์นั้น แวดล้อมไปด้วยมหาชน
ออกจากพระนคร ทรงให้มหาชนพากันกลับ เสด็จเข้าสู่หิมวันตประเทศโดย

ลำดับ สร้างอาศรม ณ ประเทศอันมีน้ำและมูลผลาผลสมบูรณ์ ทรงเลี้ยง
พระชนมชีพด้วยผลาผล พากันประทับอยู่แล้ว. ฝ่ายพระลักขณบัณฑิต และ
พระนางสีดา ได้ทูลขอร้องพระรามบัณฑิตรับปฏิญญาว่า พระองค์ดำรงอยู่ใน
ฐานะแห่งพระราชบิดาของหม่อมฉัน เหตุนั้นเชิญประทับประจำ ณ อาศรมบท

เท่านั้นเถิด หม่อมฉันทั้ง ๒ จักนำผลาผลมาบำรุงเลี้ยงพระองค์. จำเดิมแต่นั้น
มา พระรามบัณฑิต คงประทับประจำ ณ อาศรมบทนั้นเท่านั้น. พระลักขณ
บัณฑิต และพระนางสีดา พากันหาผลาผลมาปรนนิบัติพระองค์. เมื่อกษัตริย์
ทั้ง ๓ พระองค์นั้น ทรงเลี้ยงพระชนมชีพอยู่ด้วยผลาผลอย่างนี้ พระเจ้า
ทสรถมหาราช เสด็จสวรรคตลงในปีที่ ๙ เพราะทรงเศร้าโศกถึงพระราชโอรส.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2019, 07:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ครั้นจัดการถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระเจ้าทสรถมหาราชเสร็จแล้ว
พระเทวีมีพระดำรัสให้พวกอำมาตย์ถวายพระเศวตฉัตร แด่พระภรตกุมารผู้
โอรสของตน. แต่พวกอำมาตย์ทูลว่า เจ้าของเศวตฉัตรยังอยู่ในป่า ดังนี้แล้ว
จึงไม่ยอมถวาย. พระภรตกุมารตรัสว่า เราจักเชิญพระรามบัณฑิต ผู้เป็น
พระภาดามาจากป่า ให้ทรงเฉลิมพระเศวตฉัตร ทรงถือเครื่องราชกกุธภัณฑ์

๕ อย่าง พร้อมด้วยเสนา ๔ เหล่า บรรลุถึงที่ประทับของพระรามบัณฑิตนั้น
ให้ตั้งค่ายพักแรมอยู่ ณ ที่อันไม่ไกล เสด็จเข้าไปสู่อาศรมบทกับอำมาตย์ ๒-๓
นาย ในเวลาที่พระลักขณบัณฑิต และพระนางสีดาเสด็จไปป่า เข้าเฝ้าพระราม
บัณฑิต ผู้ปราศจากความระแวง ประทับนั่งอย่างสบาย ประหนึ่งรูปทองคำที่

ตั้งไว้ ณ ประตูอาศรมบท ถวายบังคม ประทับยืน ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง
กราบทูลข่าวของพระราชาแล้ว ก็ทรงฟุบลงแทบพระบาททั้งคู่ ทรงพระ-
กันแสงพร้อมกับเหล่าอำมาตย์. พระรามบัณฑิต มิได้ทรงเศร้าโศกเลย มิได้
ทรงพระกันแสงเลย. แม้เพียงอาการผิดปกติแห่งอินทรีย์ ก็มิได้มีแก่พระองค์

เลย ก็แลในเวลาที่พระภรตะทรงพระกันแสงประทับนั่ง เป็นเวลาสายัณหสมัย
พระลักขณบัณฑิต และพระนางสีดาทั้ง ๒ พระองค์ ทรงพากันถือผลาผล
เสด็จมาถึง. พระรามบัณฑิตทรงดำริว่า เจ้าลักขณะและแม่สีดายังเป็นเด็ก
ยังไม่มีปรีชากำหนดถี่ถ้วนเหมือนเรา ได้รับบอกเล่าว่า บิดาของเธอสวรรคต

แล้วโดยรวดเร็ว เมื่อไม่อาจจะยับยั้งความเศร้าโศกไว้ได้ แม้หัวใจของเธอ
ก็อาจแตกไปได้ เราต้องใช้อุบายให้เจ้าลักขณะและแม่สีดาจงไปแช่น้ำแล้ว
ให้ได้ฟังข่าวนั้น. ลำดับนั้น ทรงชี้แอ่งน้ำแห่งหนึ่ง ข้างหน้าแห่งกษัตริย์ทั้ง
๒ พระองค์นั้น ตรัสว่า เจ้าทั้ง ๒ มาช้านัก นี่เป็นทัณฑกรรมของเจ้า เจ้าจง
ลงไปแช่น้ำยืนอยู่ ดังนี้แล้ว จึงตรัสกึ่งพระคาถาว่า


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2019, 07:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
มานี่แน่ะเจ้าลักขณะ และนางสีดาทั้ง ๒ จงมา
ลงน้ำ.
คำอันเป็นคาถานั้น มีอธิบายว่า มานี่แน่ะเจ้าลักขณะและนางสีดา
จงพากันมา จงลงสู่น้ำทั้ง ๒ คน.

พระลักขณะและพระนางสีดาทั้ง ๒ พระองค์นั้น พากันเสด็จลงไป
ประทับยืนอยู่ ด้วยพระดำรัสครั้งเดียวเท่านั้น. ลำดับนั้น พระรามบัณฑิต
เมื่อจะทรงบอกข่าวแห่งพระราชบิดาแก่กษัตริย์ทั้ง ๒ พระองค์นั้น จึงตรัสกึ่ง
คาถาที่เหลือว่า

พ่อภรตะนี้ กล่าวอย่างนี้ว่า พระราชาทสรถ
สวรรคตเสียแล้ว.
พระลักขณะและพระนางสีดาทั้ง ๒ พระองค์นั้น พอได้สดับข่าวว่า
พระราชบิดาสวรรคตเท่านั้น ก็พากันวิสัญญีสลบไป. พระรามบัณฑิตตรัสบอก
ซ้ำอีก ก็พากันสลบไปอีก. หมู่อำมาตย์ช่วยกันอุ้มกษัตริย์ทั้ง ๒ พระองค์
อันทรงถึงวิสัญญีภาพไปถึง ๓ ครั้ง ด้วยอาการอย่างนี้ ขึ้นจากน้ำให้ประทับนั่ง

บนบก. เมื่อเธอทั้ง ๒ ได้ลมอัสสาสปัสสาสะแล้ว ทุกพระองค์ต่างก็ประทับนั่ง
ทรงพระกันแสงคร่ำครวญกันเรื่อย. ครั้งนั้น พระภรตกุมาร ทรงพระดำริว่า
พระภาดาของเรา ลักขณกุมารและพระภคินีสีดาเทวีของเรา สดับข่าวว่า
พระทสรถสวรรคตเสียแล้ว มิอาจจะยับยั้งความเศร้าโศกไว้ได้ แต่พระราม

บัณฑิต มิได้ทรงเศร้าโศก มิได้ทรงคร่ำครวญเลย อะไรเล่าหนอ เป็นเหตุ
แห่งความไม่เศร้าโศกของพระองค์ ต้องถามพระองค์ดู. เมื่อท้าวเธอจะตรัส
ถามพระองค์ จึงตรัสพระคาถาที่ ๒ ว่า
พี่รามบัณฑิต ด้วยอานุภาพอะไร เจ้าพี่จึงไม่
เศร้าโศก ถึงสิ่งที่ควรเศร้าโศก ความทุกข์มิได้ครอบงำ
พี่เพราะได้สดับว่า พระราชบิดาสวรรคตเล่า.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2019, 07:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปภาเวน แปลว่า ด้วยอานุภาพ. บทว่า
น ตํ ปสหเต ทุกฺขํ ความว่า ความทุกข์เห็นปานนี้ เหตุไรจึงไม่บีบคั้น
พี่ได้เลย อะไรเป็นเครื่องบังคับมิให้พี่เศร้าโศกเลย โปรดแจ้งแก่หม่อมฉันก่อน.
ลำดับนั้น พระรามบัณฑิต เมื่อจะแสดงเหตุที่บังคับมิให้พระองค์ทรง
เศร้าโศก แก่พระกุมารภรตะนั้น จึงตรัสว่า

คนเราไม่สามารถจะรักษาชีวิต ที่คนเป็นอันมาก
พร่ำเพ้อถึง นักปราชญ์ผู้รู้แจ้งจะทำตนเพื่อให้เดือดร้อน
เพื่ออะไรกัน.
ทั้งเด็กทั้งผู้ใหญ่ ทั้งพาลทั้งบัณฑิต ทั้งคนมั่งมี
ทั้งคนยากจน ล้วนบ่ายหน้าไปหามฤตยูทั้งนั้น.

ผลไม้ที่สุกแล้ว ก็พลันแต่จะหล่นลงเป็นแน่
ฉันใด สัตว์ทั้งหลายเกิดมาแล้ว ก็พลันแต่จะตาย
เป็นแน่ ฉันนั้น.
เวลาเช้าเห็นกันอยู่มากคน พอถึงเวลาเย็น
บางคนก็ไม่เห็นกัน เวลาเย็นเห็นกันอยู่มากคน พอ
ถึงเวลาเช้าบางคนก็ไม่เห็นกัน.

ถ้าผู้ที่คร่ำครวญหลงเบียดเบียนตนอยู่ จะพึงได้
รับประโยชน์สักเล็กน้อยไซร้ บัณฑิตผู้มีปรีชา ก็จะ
พึงทำเช่นนั้นบ้าง.
ผู้เบียดเบียนตนของตนอยู่ ย่อมซูบผอม
ปราศจากผิวพรรณ สัตว์ผู้ละไปแล้วไม่ได้ช่วยคุ้มครอง
รักษา ด้วยการร่ำไห้นั้นเลย การร่ำไห้ไร้ประโยชน์.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2019, 07:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
คนฉลาดพึงดับไฟที่ไหม้เรือนด้วยน้ำ ฉันใด
คนผู้เป็นนักปราชญ์ ได้รับการศึกษามาดีแล้ว มีปัญญา
เฉลียวฉลาด พึงรีบกำจัดความเศร้าโศกที่เกิดขึ้นโดย
พลัน เหมือนลมพัดปุยนุ่น ฉะนั้น.

คน ๆ เดียวเท่านั้น ตายไป คนเดียวเท่านั้น เกิด
ในตระกูล ส่วนการคบหากันของสรรพสัตว์ มีการ
เกี่ยวข้องกันเป็นอย่างยิ่ง.
เพราะเหตุนั้นแล ความเศร้าโศกแม้จะมากมาย
ก็ไม่ทำจิตใจของนักปราชญ์ผู้เป็นพหูสูต มองเห็น
โลกนี้และโลกหน้า รู้ทั่วถึงกรรมให้เร่าร้อนได้.

เราจักให้ยศ และโภคสมบัติ แก่ผู้ที่ควรจะได้
จักทะนุบำรุงภริยา ญาติทั้งหลาย และคนที่เหลือ นี้
เป็นกิจของบัณฑิตผู้ปรีชา.
พระรามบัณฑิต ได้ประกาศถึงอนิจจตาด้วยคาถา ๖ คาถาเหล่านี้.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปาเลตุํ ได้แก่ เพื่อจะรักษา. บทว่า
ลปตํ ได้แก่ ผู้บ่นเพ้ออยู่ ท่านกล่าวคำอธิบายไว้ดังนี้ว่า พ่อภรตะเอ๋ย
ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย บรรดาที่พากันร่ำไห้ถึงกันมากมาย แม้สักคนเดียว
ก็มิอาจจะรักษาไว้ได้ว่า อย่าขาดไปเลยนะ บัดนี้ผู้เช่นเรานั้น รู้โลกธรรมทั้ง

๘ ประการ โดยความเป็นจริง ชื่อว่า วิญญูชน มีความหลักแหลมเป็นบัณฑิต
ในเมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีชีวิต มีความตายเป็นที่สุด ตายไปแล้ว จะยังตนให้เข้า
ไปเดือดร้อนเพื่ออะไรกัน คือเหตุไรจึงจะแผดเผาตน ด้วยความทุกข์ของตน


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2019, 07:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อันหาอุปการะมิได้. คาถาว่า ทหรา จ เป็นต้นมีอธิบายว่า พ่อภรตะเอ๋ย ขึ้น
ชื่อว่า มฤตยูนี้ มิได้ละอาย ต่อคนหนุ่มผู้เช่นกับรูปทองคำ มีขัตติยกุมารเป็น
ต้นเลย และมิได้เกรงขามต่อมหาโยธาทั้งหลาย ผู้ถึงความเจริญโดยคุณ มิได้
เกรงกลัวเหล่าสัตว์ ผู้สันดานหนาเป็นพาล มิได้ยำเกรงปวงบัณฑิต มีพระ-
พุทธเจ้าเป็นต้น มิได้หวั่นเกรงมวลอิสริยชน มีพระเจ้าจักรพรรดิเป็นต้น มิ

ได้อดสูต่อคนขัดสนไม่เว้นตัว ฝูงสัตว์เหล่านี้ แม้ทั้งหมดล้วนบ่ายหน้าไปหา
มฤตยู พากันย่อยยับแหลกลาญที่ปากแห่งความตายทั้งนั้นแหละ. บทว่า ปตน-
โต ได้แก่ โดยการตกไป มีอธิบายว่า ดูก่อนพ่อภรตะเอ๋ย เปรียบเหมือน
ผลไม้อันสุกแล้ว ตั้งแต่เวลาที่สุกแล้วไป ก็มีแต่จะรอเวลาร่วงหล่น ว่าจะพราก

จากขั้วหล่นลงบัดนี้ หล่นลงเดี๋ยวนี้ คือผลไม้เหล่านั้น มีแต่จะคอยระแวงอยู่
อย่างนี้ว่า ความหวั่นที่จะต้องหล่นเป็นการแน่นอนเที่ยงแท้ มีแต่เรื่องนั้น
ถ่ายเดียวเท่านั้น ฉันใด แม้ฝูงสัตว์ที่ต้องตาย ที่เกิดมาแล้ว ก็ฉันนั้น หวั่นเกรง
แต่ที่จะตายถ่ายเดียวเท่านั้น ขณะหรือครู่ที่ฝูงสัตว์เหล่านั้น จะไม่ต้องระแวง

ความตายนั้น ไม่มีเลย. บทว่า สายํ แปลว่า ในเวลาเย็น. ด้วยบทว่า สายํ
นี้ ท่านแสดงถึงการที่ไม่ปรากฏของผู้ที่เห็นกันอยู่ในเวลากลางวัน ในเวลา
กลางคืน และของสัตว์ผู้เห็นกันอยู่ในเวลากลางคืน ในเวลากลางวัน. บทว่า
กิญฺจิทตฺถํ ความว่า ถ้าคนเราคร่ำครวญอยู่ด้วยคิดว่า พ่อของเรา ลูกของ
เรา ดังนี้เป็นต้น หลงใหลเบียดเบียนตนอยู่ ให้ตนลำบากอยู่ จะพึงนำ


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2019, 07:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ประโยชน์มาแม้สักหน่อย. บทว่า กยิรา เจ นํ วิจกฺขโณ ความว่า เมื่อ
เป็นเช่นนั้น บุรุษผู้เป็นบัณฑิตพึงร่ำไห้เช่นนั้น. แต่เพราะผู้ร่ำไห้อยู่ ไม่
สามารถจะนำผู้ตายแล้วมาได้ หรือสามารถจะทำความเจริญอื่น ๆ แก่ผู้ตายแล้ว
นั้นได้ เหตุนั้นจึงเป็นกิริยาที่ไร้ประโยชน์ แก่ผู้ที่ถูกร่ำไห้ถึง บัณฑิตทั้งหลาย
จึงไม่ร่ำไห้. บทว่า อตฺตานมตฺตโน ความว่า ผู้ร่ำไห้กำลังเบียดเบียน

อัตภาพของตน ด้วยทุกข์คือความโศกและความร่ำไห้. บทว่า น เตน ความ
ว่า ด้วยความร่ำไห้นั้น ฝูงสัตว์ผู้ไปปรโลกแล้ว ย่อมจะคุ้มครองไม่ได้ จะยังตน
ให้เป็นไม่ได้เลย. บทว่า นิรตฺถา ความว่า เพราะเหตุนั้น การร่ำไห้ถึงฝูง
สัตว์ผู้ตายไปแล้วเหล่านั้นจึงเป็นกริยาที่หาประโยชน์มิได้. บทว่า สรณํ ได้แก่

เรือนเป็นที่อยู่อาศัย ท่านกล่าวคำอธิบายนี้ไว้ว่า บุรุษผู้เป็นบัณฑิต เมื่อเรือน
ถูกไฟไหม้ ก็ไม่ต้องตกใจแม้สักครู่ รีบดับเสียด้วยน้ำตั้งพันหม้อทันที ฉันใด
ธีรชนก็ฉันนั้น พึงดับความโศกที่เกิดขึ้นแล้ว โดยทันทีทีเดียว กำจัดปัดเป่า
เสียโดยวิธี ที่ความโศกจะไม่อาจตั้งอยู่ได้ เหมือนลมพัดปุยนุ่น ฉะนั้น. ใน

บทว่า เอโกว มจฺโจ มีอธิบายดังต่อไปนี้ พ่อภรตะเอ๋ย ฝูงสัตว์เหล่านี้
ชื่อว่า มีกรรมเป็นของของตน สัตว์ผู้ไปสู่ปรโลกจากโลกนี้ ผู้เดียวจากฝูงสัตว์
เหล่านั้น ล่วงไปผ่านไป แม้เมื่อเกิดในตระกูลมีกษัตริย์เป็นต้น ผู้เดียวเท่านั้น
ไปเกิด. ส่วนความร่วมคบหากันของสัตว์ทั้งปวงในที่นั้น ๆ มีการเกี่ยวข้องกัน
นั้นว่า ผู้นี้เป็นบิดาของเรา ผู้นี้เป็นมารดาของเรา ผู้นี้เป็นญาติมิตรของเรา

ดังนี้ ด้วยอำนาจที่เกี่ยวข้องกัน ทางญาติ ทางมิตร เท่านั้นเป็นอย่างยิ่ง แต่
เมื่อว่าโดยปรมัตถ์ ฝูงสัตว์เหล่านี้ ในภพทั้ง ๓ มีกรรมเป็นของของตนทั้งนั้น.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2019, 07:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะเว้นความเกี่ยวข้องทางญาติ ทางมิตร อัน
เป็นเพียงการคบหากัน ของสัตว์เหล่านี้เสียแล้ว ต่อจากนั้นย่อมเป็นอื่นไปไม่
ได้ ฉะนั้น. บทว่า สมฺปสฺสโต ได้แก่ เห็นโลกนี้และโลกหน้า อันมีความ
พลัดพรากจากกันเป็นสภาวะโดยชอบ. บทว่า อฺาย ธมฺมํ ได้แก่ เพราะ
รู้โลกธรรม ๘ ประการ. บทว่า หทยํ มนฺจ นี้ ทั้ง ๒ บท เป็นชื่อของจิต
นั่นเอง. ท่านกล่าวคำอธิบายไว้ดังนี้ว่า

โปฏฐปาทะเอ๋ย ธรรมในมวลมนุษย์เหล่านี้ คือ
มีลาภ ไม่มีลาภ มียศ ไม่มียศ นินทา สรรเสริญ
สุขและทุกข์ เป็นของไม่เที่ยง เธออย่าเศร้าโศก เธอ
จะเศร้าโศกไปทำไม ดังนี้.

ความเศร้าโศกแม้จะใหญ่หลวง ซึ่งมีบุตรที่เป็นที่รักตายไปเป็นวัตถุ
ย่อมปรากฏทางจิต ด้วยโลกธรรม ๘ ประการอย่างใดอย่างหนึ่งนี้ และย่อมไม่
แผดเผาหทัย ของธีรชนผู้ดำรงอยู่ เพราะได้รู้ถึงสภาวธรรมอันนั้นว่าเป็นของ
ไม่เที่ยง. อีกนัยหนึ่ง พึงเห็นความในข้อนี้ อย่างนี้ว่า ความเศร้าโศกแม้ว่า

จะใหญ่หลวงก็จะแผดเผาหทัยวัตถุ และใจของธีรชนไม่ได้ เพราะมาทราบโลก
ธรรม ๘ ประการนี้. บทว่า โสหํ ยสฺจ โภคฺจ ความว่า พ่อภรตะ
เอ๋ย การร้องไห้ร่ำไห้ เหมือนของพวกคนอันธพาล ไม่สมควรแก่เราเลย แต่
เราเมื่อพระราชบิดาล่วงลับไปดำรงอยู่ในฐานะของพระองค์นั่นแล จะให้ทานแก่

คนที่ควรให้ มีพวกคนกำพร้าเป็นต้น ให้ตำแหน่งแก่ผู้ที่ควรให้ตำแหน่ง ให้
ยศแก่ผู้ที่ควรจะให้ยศ บริโภคอิสริยยศ โดยนัยที่พระราชบิดาของเราทรงบริโภค
ทรงเลี้ยงหมู่ญาติ จะคุ้มครองคนที่เหลือ คือคนภายในและคนที่เป็นบริวาร
จักกระทำการปกป้องและคุ้มครองกันโดยธรรม แก่สมณะและพราหมณ์ผู้ทรง
ธรรม เพราะทั้งนี้เป็นกิจอันสมควรของผู้รู้ คือ ผู้เป็นบัณฑิต.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 22, 23, 24, 25, 26, 27, 28 ... 179  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 12 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร