วันเวลาปัจจุบัน 25 เม.ย. 2024, 19:01  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 96, 97, 98, 99, 100, 101, 102 ... 179  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 18:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
อรรถกถาจุลลหังสชาดก

พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภ
การเสียสละชีวิตของท่านพระอานนทเถระ จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มี
คำเริ่มต้นว่า สุมุข ดังนี้.

ความพิสดารว่า บรรดาพวกนายขมังธนู ที่พระเทวทัตเสี้ยมสอนให้
ไปปลงพระชนม์พระตถาคตเจ้าเหล่านั้น คนที่ถูกส่งไปก่อนเขาทั้งหมดกลับมา
รายงานว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ กระผมไม่อาจที่จะปลงพระชนม์พระผู้มี-
พระภาคเจ้าพระองค์นั้นได้เลย เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงมี
ฤทธานุภาพใหญ่หลวงยิ่งนัก พระเทวทัตนั้นจึงกล่าวว่า เออช่างเถอะ เจ้าไม่

ต้องปลงพระชนม์พระสมณโคดมดอก เราจักปลงพระชนม์พระสมณโคดม
เอง เมื่อพระตถาคตเจ้าเสด็จจงกรมอยู่ ณ ร่มเงาเบื้องหลังแห่งภูเขาคิชฌกูฏ
ตนจึงขึ้นไปบนภูเขาคิชฌกูฏเอง แล้วกลิ้งศิลาก้อนใหญ่ด้วยกำลังแห่งเครื่อง
ยนตร์ ด้วยคิดว่า เราจักปลงพระชนม์พระสมณโคดมด้วยศิลาก้อนนี้. ในกาล
นั้น ยอดเขาสองยอดก็รับเอาศิลาที่กลิ้งตกลงไปนั้นไว้ได้. แต่สะเก็ดศิลาที่

กะเทาะจากศิลาก้อนนั้น กระเด็นไปต้องพระบาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ทำพระ-
โลหิตให้ห้อขึ้นแล้ว เวทนามีกำลังเป็นไปทั่วแล้ว หมอชีวกกระทำการผ่า
พระบาทของพระตถาคตเจ้าด้วยศัสตรา เอาเลือดร้ายออก นำเนื้อร้ายออกจน
หมด ชำระล้างแผลสะอาดแล้ว ใส่ยากระทำให้พระองค์หายจากพระโรค พระ-

ศาสดาทรงหายเป็นปกติดีแล้ว มีภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่แวดล้อมเป็นบริวาร เสด็จ
เข้าไปยังพระนครด้วยพระพุทธลีลาใหญ่ทีเดียว.

ลำดับนั้น พระเทวทัตมองเห็นดังนั้น จึงคิดว่า ใคร ๆ เห็นพระสรีระ
อันถึงแล้ว ซึ่งส่วนอันเลิศด้วยพระรูปพระโฉมของพระสมณโคดม ถ้าเป็น
มนุษย์ ก็ไม่อาจที่จะเข้าไปทำร้ายได้ ก็ช้างของพระราชาชื่อว่า นาลาคิรี มีอยู่
ช้างนั้นเป็นช้างที่ดุร้ายกาจ ฆ่ามนุษย์ได้ เมื่อไม่รู้จักคุณพระพุทธเจ้า พระธรรม
และพระสงฆ์ จักยังพระสมณโคดมนั้นให้ถึงความสิ้นชีวิตได้ เธอจึงไปทูลเนื้อ
ความนั้นแด่พระเจ้าอชาตศัตรูราช พระราชาทรงรับรองว่าดีละ ดังนี้แล้วรับสั่ง


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 18:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ให้เรียกหานายหัตถาจารย์มาแล้ว ทรงพระบัญชาว่า แน่ะเจ้า พรุ่งนี้เจ้าจงมอม
ช้างนาลาคิรีให้มึนเมาแล้วจงปล่อยไปบนถนน ที่พระสมณโคดมเสด็จมา แต่
เช้าทีเดียว แม้พระเทวทัตก็ถามนายหัตถาจารย์นั้นว่า ในวันอื่น ๆ ช้างนาลาคิรี
ดื่มสุรากี่หม้อ เมื่อเขาบอกให้ทราบว่า ๘ หม้อ พระคุณเจ้าผู้เจริญจึงกำชับว่า

พรุ่งนี้ท่านจงให้ช้างนั้นดื่มเพิ่มขึ้นเป็น ๑๖ หม้อแล้ว พึงกระทำให้มีหน้าเฉพาะ
ในถนนที่พระสมณโคดมเสด็จผ่านมา. นายหัตถาจารย์นั้น ก็รับรองเป็นอันดี
พระราชาให้ราชบุรุษเที่ยวตีกลองประกาศไปทั่วพระนครว่า พรุ่งนี้นายหัตถา-
จารย์จักมอมช้างนาลาคิรีให้มึนเมาแล้ว จักปล่อยในนคร ชาวเมืองทั้งหลาย
พึงรีบกระทำกิจที่จำต้องกระทำเสียให้เสร็จแต่เช้าทีเดียว แล้วอย่าเดินระหว่าง

ถนน. แม้พระเทวทัตลงจากพระราชนิเวศน์แล้วก็ไปยังโรงช้าง เรียกคนเลี้ยง
ช้างมาสั่งว่า ดูก่อนพนายทั้งหลาย เราสามารถจะลดคนมีตำแหน่งสูงให้ต่ำและ
เลื่อนคนมีตำแหน่งต่ำให้สูงขึ้น ถ้าพวกเจ้าต้องการยศ พรุ่งนี้เช้า จงช่วยกัน
เอาเหล้าอย่างแรง กรอกช้างนาลาคิรีให้ได้ ๑๖ หม้อ ถึงเวลาพระสมณโคดม
เสด็จมา จงช่วยกันแทงช้างด้วยปลายหอกซัด ยั่วยุให้มันอาละวาดให้ทำลายโรง

ช้าง ช่วยกันล่อให้หันหน้าตรงไปในถนนที่พระสมณโคดมเสด็จมา แล้วให้
พระสมณโคดมถึงความสิ้นชีวิต พวกคนเลี้ยงช้างเหล่านั้น พากันรับรอง
เป็นอันดี. พฤติการณ์อันนั้นได้เซ็งแซ่ไปทั่วพระนคร. เหล่าอุบาสกผู้นับถือ
พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ได้ทราบข่าวนั้น ก็พากันไปเข้าเฝ้าพระ-

ศาสดากราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเทวทัตสมคบกันกับพระเจ้า
อชาตศัตรูราช ให้ปล่อยช้างนาลาคิรีในหนทางที่พระองค์จะเสด็จไปในวันพรุ่ง


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 18:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
นี้ เพราะฉะนั้นในวันพรุ่งนี้ ขอพระองค์อย่าได้เสด็จเข้าไปบิณฑบาตเลย จง
ประทับอยู่ในที่นี้เถิด พวกข้าพระองค์ จักถวายภิกษา แก่ภิกษุสงฆ์มีพระ
พุทธองค์เป็นประมุขในวิหารนี้แล. พระศาสดามิได้ตรัสรับคำว่า พรุ่งนี้เราจัก
ไม่เข้าไปบิณฑบาต ทรงพระดำริว่า ในวันพรุ่งนี้ เราจักทรมานช้างนาลาคิรี
กระทำปาฏิหาริย์ทรมานพวกเดียรถีย์ จักเที่ยวไปบิณฑบาตในกรุงราชคฤห์ มี

ภิกษุแวดล้อมเป็นบริวาร ออกจากพระนครไปยังพระเวฬุวันมหาวิหารทีเดียว.
พวกชนชาวเมืองราชคฤห์ จักถือเอาภาชนภัตเป็นอันมากมายังวิหารเวฬุวัน
เหมือนกัน พรุ่งนี้ โรงภัตจักมีในวิหารทีเดียว แล้วทรงรับอาราธนาแก่พวก
อุบาสกเหล่านั้น ด้วยเหตุนี้ พวกอุบาสกเหล่านั้นทราบความว่า ทรงรับอาราธนา
ของพระตถาคตเจ้าแล้ว จึงพากันกล่าวว่า พวกเราจักนำภาชนภัตมาถวายทาน
ในวิหารทีเดียว แล้วหลีกไป.

แม้พระศาสดาทรงแสดงธรรมในปฐมยาม ทรงแก้ปัญหาของเทวดา
ในมัชฌิมยาม ทรงสำเร็จสีหไสยาสน์ในส่วนแรกแห่งปัจฉิมยาม ทรงเข้าผล
สมาบัติในส่วนที่ ๒ แห่งปัจฉิมยาม ในส่วนที่ ๓ แห่งปัจฉิมยาม ทรงเข้า
พระกรุณาสมาบัติ ทรงตรวจดูเหล่าเวไนยสัตว์อันมีอุปนิสัยที่จะได้ตรัสรู้ธรรม
พิเศษ ทอดพระเนตรเห็นการตรัสรู้ธรรมของสัตว์ ๘๔,๐๐๐ ในเวลาการทรง

ทรมานช้างนาลาคิรี ครั้นราตรีกาลสว่างไสวแล้ว ก็ทรงกระทำการชำระพระ-
สรีระแล้ว ตรัสเรียกพระอานนท์ผู้มีอายุมาแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ เธอจง
บอกแก่ภิกษุแม้ทั้งหมดในมหาวิหาร ๑๘ แห่ง อันตั้งเรียงรายอยู่ในเมือง
ราชคฤห์เพื่อให้เข้าไปในเมืองราชคฤห์พร้อมกันกับเรา. พระเถระได้กระทำตาม

พระพุทธฎีกาแล้ว. พวกภิกษุทั้งหมดมาประชุมกันในพระเวฬุวัน พระศาสดา
มีภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่แวดล้อมเป็นบริวาร เสด็จเข้าไปบิณฑบาตยังเมืองราชคฤห์
ลำดับนั้น พวกคนเลี้ยงช้างก็ปฏิบัติตามพระเทวทัตสั่ง. สมาคมใหญ่ได้มีแล้ว

พวกมนุษย์ผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธากล่าวกันว่า ได้ยินว่า ในวันนี้ พระพุทธเจ้า
ผู้มหานาคกับช้างนาลาคิรีซึ่งเป็นสัตว์ดิรัจฉาน จักกระทำสงครามกัน พวกเรา
จักได้เห็นการทรมานช้างนาลาคิรีด้วยพุทธลีลา อันหาที่เปรียบมิได้ จึงพากัน


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 18:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ขึ้นสู่ปราสาทห้องแถวและหลังคาเรือนแล้วยืนดู. ฝ่ายพวกมิจฉาทิฏฐิผู้หาศรัทธา
มิได้ก็พากันกล่าวว่า ช้างนาลาคิรีเชือกนี้ดุร้ายกาจ ฆ่ามนุยได้ไม่รู้จักคุ
แห่งพระพุทธเจ้าเช่นกัน วันนี้ช้างเชือกนั้น จักขยี้สรีระอันมีพรรณดุจทองคำ
ของพระโคดม จักให้ถึงความสิ้นชีวิต พวกเราจักได้เห็นหลังปัจจามิตรในวัน
นี้ทีเดียว แล้วได้พากันขึ้นไปยืนดูบนต้นไม้และปราสาทเช่นกัน. แม้ช้าง

นาลาคิรีพอเหลือบเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมา จึงยังมนุษย์ทั้งหลายให้สะดุ้ง
กลัว ทำลายบ้านเรือนเป็นอันมาก ขยี้บดเกวียนเสียแหลกละเอียดเป็นหลายเล่ม
ยกงวงขึ้นชู มีหูกางหางชี้ วิ่งรี่ไปทางพระผู้มีพระภาคเจ้า ประหนึ่งว่า
ภูเขาเอียงเข้าทับพระพุทธองค์ ฉะนั้น ภิกษุทั้งหลายเห็นดังนั้น จึงกราบทูล

เนื้อความนี้กะพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ช้างนาลาคิรีเชือก
นี้ ดุร้ายกาจฆ่ามนุษย์ได้ วิ่งตรงมานี่ ก็ช้างนาลาคิรีนี้มิได้รู้จักพระพุทธคุณ
เป็นต้นแล ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงเสด็จกลับเถิด พระเจ้าข้า ขอพระสุคตเจ้า
จงเสด็จกลับเสียเถิด. พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธออย่า
ได้กลัวไปเลย เรามีกำลังสามารถพอที่จะทรมานช้างนาลาคิรีเชือกนี้ได้.

ลำดับนั้น ท่านพระสารีบุตรผู้มีอายุ ทูลขอโอกาสกะพระศาสดาว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ธรรมดาว่ากิจที่บังเกิดขึ้นแก่บิดา ย่อมเป็นภาระของ
บุตรคนโต ข้าพระองค์ผู้เดียวจะขอทรมานช้างเชือกนี้. ลำดับนั้น พระศาสดา
จึงตรัสห้ามพระสารีบุตรนั้นว่า ดูก่อนสารีบุตร ขึ้นชื่อว่า กำลังแห่งพระพุทธเจ้า

เป็นอย่างหนึ่ง ส่วนกำลังของพวกสาวกเป็นอีกอย่างหนึ่ง เธอจงยับยั้งอยู่เถิด.
พระเถระผู้ใหญ่ ๘๐ โดยมากต่างก็พากันทูลขอโอกาสอย่างนี้เหมือนกัน.
พระศาสดาตรัสห้ามพระมหาเถระเหล่านั้นแม้ทั้งหมด. ลำดับนั้น ท่าน
พระอานนท์ ไม่สามารถจะทนดูอยู่ได้ ด้วยความรักมีกำลังในพระศาสดาจึง
คิดว่า ช้างเชือกนี้ จงฆ่าเราเสียก่อนเถิด ดังนี้แล้ว ยอมสละชีวิตเพื่อประโยชน์


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 18:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
แก่พระตถาคตเจ้า ได้ออกไปยืนอยู่เบื้องพระพักตร์แห่งพระศาสดา. ลำดับนั้น
พระศาสดาจึงตรัสกะท่านว่า อานนท์ เธอจงหลีกไป อานนท์ เธอจงหลีกไป
เธออย่ามายืนขวางหน้าตถาคต. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ช้างเชือกนี้ดุร้ายกาจ
ฆ่ามนุษย์ได้ เป็นเช่นกับไฟบรรลัยกัลป์ จงฆ่าข้าพระองค์เสียก่อนแล้ว จึงมา
ยังสำนักของพระองค์ในภายหลัง. พระอานนทเถระ แม้ถูกพระศาสดาตรัสห้าม

อยู่ถึง ๓ ครั้ง ก็ยังคงยืนอยู่อย่างนั้นทีเดียวมิได้ถอยกลับมา. ลำดับนั้น
พระศาสดาจึงให้พระอานนท์ถอยกลับมาด้วยกำลังแห่งฤทธิ์ แล้วประทับยืนอยู่
ในระหว่างภิกษุทั้งหลาย ในขณะนั้น หญิงคนหนึ่งเห็นช้างนาลาคิรี มีความ
สะดุ้งกลัวต่อมรณภัย จึงวิ่งหนี ทิ้งทารกที่ตนอุ้มเข้าสะเอวไว้ในระหว่างกลาง
แห่งช้างและพระตถาคตเจ้า แล้ววิ่งหนีไป. ช้างวิ่งไล่ตามหญิงนั้นแล้วกลับมา

ยังที่ใกล้ทารก ทารกจึงร้องเสียงดัง พระศาสดาทรงแผ่เมตตาไปยังช้างนาลาคิรี
ทรงเปล่งพระสุรเสียงอันไพเราะยิ่งนักดุจเสียงพรหม รับสั่งร้องเรียกว่า แน่ะ
เจ้าช้างนาลาคิรีที่เจริญ เขาให้เจ้าดื่มเหล้าถึง ๑๖ หม้อ มอมเมาเสียจนมึนมัว
ใช่ว่าเขากระทำเจ้าด้วยประสงค์ว่า จักให้จับคนอื่นก็หาไม่ แต่เขากระทำด้วย

ประสงค์จะให้จับเรา เจ้าอย่าเที่ยวอาละวาดให้เมื่อยขาโดยใช่เหตุเลย จงมานี่เถิด
ช้างนาลาคิรีเชือกนั้น พอได้ยินพระดำรัสของพระศาสดา จึงลืมตาขึ้นดูพระรูป
อันเป็นสิรของพระผู้มีพระภาคเจ้า กลับได้ความสังเวชใจ หายเมาสุราด้วยเดช
แห่งพระพุทธเจ้า จึงห้อยงวงและลดหูทั้งสองข้าง ไปหมอบอยู่แทบพระบาท
ทั้งสองของพระตถาคตเจ้า.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 18:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ลำดับนั้น พระศาสดาจึงตรัสกะช้างนาลาคิรีนั้นว่า ดูก่อนเจ้าช้าง
นาลาคิรี เจ้าเป็นช้างสัตว์ดิรัจฉาน เราเป็นพุทธะเหล่าช้างตัวประเสริฐ ตั้งแต่
นี้ไป เจ้าจงอย่าดุร้าย อย่าหยาบคาย อย่าฆ่ามนุษย์ จงได้เฉพาะจึงเมตตาจิต
ทรงเหยียดพระหัตถ์เบื้องขวาออกไปลูบที่กระพองแล้ว ตรัสพระคาถาว่า

เจ้าช้างมีงวง เจ้าอย่าเบียดเบียนช้างตัวประเสริฐ
(หมายถึงพระตถาคตเจ้า) แน่ะเจ้าช้างมีงวง เพราะว่า
การเบียดเบียนช้างตัวประเสริฐ เป็นเหตุนำความทุกข์
มาให้ แน่ะเจ้าช้างมีงวง ตั้งแต่ไหนแต่ไรมาจนกาล
บัดนี้ ผู้ฆ่าช้างตัวประเสริฐ ย่อมไม่ได้พบสุคติเลย

เจ้าอย่าเมา เจ้าอย่าประมาท ด้วยว่าผู้ประมาทแล้ว
ย่อมไปสู่สุคติไม่ได้ เจ้าจงกระทำหนทางที่จะพาตัวเจ้า
ไปสู่สุคติเถิด.

พระศาสดาทรงแสดงธรรมด้วยประการฉะนี้ สรีระทั้งสิ้นของช้างนั้น
ได้เป็นร่างกายมีปีติถูกต้องแล้วหาระหว่างคั่นมิได้ ถ้าไม่เป็นสัตว์ดิรัจฉาน
ก็จักได้บรรลุโสดาปัตติผล. มนุษย์ทั้งหลายเห็นปาฏิหาริย์นั้น ต่างพากันส่งเสียง
ปรบมืออยู่อื้ออึง พวกที่เกิดความโสมนัสยินดีก็โยนเครื่องอาภรณ์ต่าง ๆ ไป
เครื่องอาภรณ์เหล่านั้น ก็ไปปกคลุมสรีระของช้าง. ตั้งแต่วันนั้นมา ช้าง

นาลาคิรีก็ปรากฏนามว่า ธนปาลกะ ก็ในขณะนั้น สัตว์ ๘๔,๐๐๐ ในสมาคม
แห่งช้างธนปาลกะก็ได้ดื่มน้ำอมฤต. พระศาสดาทรงให้ช้างธนปาลกะตั้งอยู่ใน
ศีล ๕ ประการ ช้างนั้นก็เอางวงดูดละอองธุลีพระบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า
แล้วเอาโปรยลงบนหัวของตน ย่อตัวถอยหลังออกมายืนอยู่ในที่อุปจาร พอ

แลเห็นถวายบังคมพระทศพลกลับเข้าไปยังโรงช้าง. ตั้งแต่วันนั้นมา ช้าง
นาลาคิรีนั้น ก็กลายเป็นช้างที่ได้รับการฝึกแล้วเชือกหนึ่ง ในบรรดาช้างที่ได้
รับการฝึกแล้วทั้งหลายอย่างนี้ ไม่เคยเบียดเบียนใครให้เดือดร้อนอีกต่อไปเลย.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 18:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
พระศาสดาทรงสำเร็จสมดังมโนรถแล้ว ทรงอธิษฐานว่า ทรัพย์สิ่งของอันใด
อันผู้ใดทิ้งไว้แล้ว ทรัพย์สิ่งของอันนั้นจงเป็นของผู้นั้นตามเดิม แล้วทรง
พระดำริว่า วันนี้เราได้กระทำปาฏิหาริย์อย่างใหญ่แล้ว การเที่ยวจาริกไปเพื่อ
บิณฑบาตในพระนครนี้ไม่สมควร ทรงทรมานพวกเดียรถีย์แล้ว มีภิกษุสงฆ์
แวดล้อมเป็นบริวาร ประดุจกษัตริย์ที่มีชัยชนะแล้วเสด็จออกจากพระนคร

ทรงดำเนินไปยังพระวิหารเวฬุวันทีเดียว แม้พวกชนชาวเมืองก็พากันถือเอา
ข้าวน้ำและของเคี้ยวเป็นอันมากไปยังวิหาร ยังมหาทานให้เป็นไปทั่วแล้ว ใน
เวลาเย็นวันนั้น ภิกษุทั้งหลายประชุมกันเต็มธรรมสภาสนทนากันว่า ดูก่อน
อาวุโสทั้งหลาย พระอานนทเถระเจ้าผู้มีอายุ ได้ยอมเสียสละชีวิตของท่านเพื่อ
ประโยชน์แก่พระตถาคตเจ้า ชื่อว่ากระทำกรรมที่กระทำได้ยาก ท่านเห็นช้าง

นาลาคิรีแล้ว แม้ถูกพระศาสดาตรัสห้ามอยู่ถึง ๓ ครั้ง ก็ยังไม่ถอยไป ดูก่อน
อาวุโสทั้งหลาย น่าสรรเสริญพระอานนท์เถรเจ้าผู้มีอายุ กระทำสิ่งซึ่งยากที่จะ
กระทำได้. ลำดับนั้น พระศาสดาทรงสดับถ้อยคำสรรเสริญเกียรติคุณของ
พระอานนท์นั้น ด้วยโสตธาตุเพียงดังทิพย์ จึงทรงพระดำริว่า ถ้อยคำสรรเสริญ

เกียรติคุณของอานนท์กำลังเป็นไปอยู่ เราควรจะไปในที่นั้น จึงเสด็จออกจาก
พระคันธกุฎี เสด็จไปยังโรงธรรมสภาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย วันนี้
พวกเธอกำลังสนทนากันด้วยเรื่องอะไรเล่าหนอ เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลให้
ทรงทราบว่า เรื่องชื่อนี้พระพุทธเจ้าข้า จึงตรัสว่า ใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้นก็หาไม่

ถึงเมื่อกาลก่อน ครั้งอานนท์เกิดในกำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน ก็ได้เคยสละชีวิตเพื่อ
ประโยชน์แก่ (เรา) ตถาคตแล้วเหมือนกัน ดังนี้แล้วได้ทรงนิ่งเฉยอยู่ เมื่อ
ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลอาราธนา จึงได้ทรงนำอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 20:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในอดีตกาล พระราชาทรงพระนามว่า สาคละ
เสวยราชสมบัติอยู่โดยธรรมในสาคลนคร ในแคว้นมหิสกะ. ในกาลนั้น ใน-
หมู่บ้านนายพรานแห่งหนึ่ง ซึ่งไม่ไกลจากพระนคร มีนายพรานคนหนึ่งเอา
บ่วงดักนกมาเที่ยวขายในพระนครเลี้ยงชีวิตอยู่ ก็ในที่ไม่ไกลจากพระนคร มี
สระบัวหลวงอยู่สระหนึ่งชื่อมานุสิยะ สระกว้างยาวประมาณ ๑๒ โยชน์ สระนั้น
ดาดาษไปด้วยดอกบัว ๕ ชนิด มีหมู่นกต่างเพศต่างพรรณมาลงที่สระนั้น

นายพรานนั้นดักบ่วงไว้ โดยมิได้เลือกว่าเป็นนกชนิดไร. ในกาลนั้น พญาหงส์
ธตรฐ มีหงส์เก้าหมื่นหกพันตัวเป็นบริวารอาศัยอยู่ในถ้ำทองใกล้ภูเขาจิตตกูฏ.
มีหงส์ตัวหนึ่งชื่อ สุมุขะ ได้เป็นเสนาบดีของพญาหงส์นั้น กาลครั้งนั้น หงส์ทอง
๒-๓ ตัวจากฝูงหงส์นั้น บินไปยังมานุสิยสระ เที่ยวไปในสระนั้น ซึ่งมีที่หากิน

อย่างพอเพียงตามความสบาย แล้วกลับมายังภูเขาจิตตกูฏ บอกแก่พญาหงส์
ธตรฐว่า ข้าแต่มหาราช มีสระบัวแห่งหนึ่ง ชื่อมานุสิยะ อยู่ในถิ่นของมนุษย์
มีที่เที่ยวแสวงหาอาหารอย่างสมบูรณ์ พวกข้าพเจ้าจะไปหาอาหารในสระนั้น
พญาหงส์นั้นจึงห้ามว่า ขึ้นชื่อว่าถิ่นของมนุษย์ ย่อมเป็นที่น่ารังเกียจ มาก

ไปด้วยภัยเฉพาะหน้า อย่าได้ชอบใจแก่พวกเจ้าเลย ถูกหงส์เหล่านั้นรบเร้าอยู่
บ่อย ๆ จึงกล่าวว่า ถ้าสระนั้น ย่อมเป็นที่ถูกใจของพวกท่าน เราก็จะไป
ด้วยกัน จึงพร้อมด้วยบริวารได้ไปยังสระนั้น พญาหงส์ธตรฐนั้น พอร่อนลง
จากอากาศ ก็เอาเท้าถลำเข้าไปติดบ่วงอยู่ทีเดียว. ลำดับนั้น บ่วงของนายพราน

นั้น ก็รัดเท้าเอาไว้แน่น ดุจถูกรัดด้วยซี่เหล็กฉะนั้น. ลำดับนั้นพญาหงส์จึง
ฉุดบ่วงมาด้วยคิดว่า เราจักทำบ่วงให้ขาด ครั้งแรกหนังถลอกปอกหมด
ครั้งที่สองเนื้อขาด ครั้งที่สามเอ็นขาด ในครั้งที่สี่บ่วงนั้นเข้าไปถึงกระดูก
โลหิตไหลนอง เวทนามีกำลังเป็นไปทั่วแล้ว. พญาหงส์นั้น จึงคิดว่า ถ้าเรา


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 20:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ร้องว่าติดบ่วง พวกญาติของเราก็จะพากันสะดุ้งตกใจกลัว ไม่ทันได้กินอาหาร
ถูกความหิวแผดเผาแล้ว ก็จะหนีไปตกลงในมหาสมุทรเพราะหมดกำลัง
พญาหงส์นั้นพยายามอดใจทนต่อทุกขเวทนา จนถึงเวลาพวกหงส์ที่เป็นญาติ
ทั้งหลายกินอาหารอิ่มแล้ว กำลังเล่นเพลินอยู่ จึงร้องขึ้นด้วยเสียงอันดังว่า
ติดบ่วง. หงส์ทั้งหลายได้ยินเสียงดังนั้น มีความกลัวต่อมรณภัยเป็นกำลัง

ต่างก็คุมกันเป็นพวก ๆ บ่ายหน้าไปยังภูเขาจิตตกูฏบินไปโดยเร็ว เมื่อหงส์
เหล่านั้นพากันกลับไปหมดแล้ว สุมุขหงส์ที่เป็นเสนาบดีคิดว่า ภัยนี้บังเกิดขึ้น
แก่มหาราชของเราหรือไม่หนอ เราจักทราบถึงเรื่องนั้น จึงบินไปโดยเร็วไว
มองไม่เห็นพระมหาสัตว์ ในระหว่างหมู่หงส์ที่ไปอยู่ข้างหน้า จึงมาค้นดูฝูงกลาง

ก็มิได้เห็นพระมหาสัตว์แม้ในที่นั้น จึงตรวจค้นฝูงสุดท้ายก็มิได้เห็นพระ-
มหาสัตว์ แม้ในที่นั้นอีก จึงแน่ใจว่า ภัยนั้นบังเกิดขึ้นแก่พญาหงส์นั้น โดย
ไม่ต้องสงสัยทีเดียว จึงรีบกลับมายังที่เดิมเห็นพระมหาสัตว์ติดบ่วงยืนเกาะอยู่
บนหลังตม มีโลหิตไหลนองทนทุกขเวทนาอย่างสาหัส จึงบอกว่า ข้าแต่มหาราช

ขอพระองค์อย่าได้กลัวไปเลย แล้วกล่าวว่า ข้าพระองค์จักสละชีวิตของข้าพระองค์
จักยังพระองค์ให้หลุดจากบ่วง จึงบินร่อนลงมาปลอบพระมหาสัตว์เกาะอยู่บน
หลังตม. ลำดับนั้น พระมหาสัตว์ เมื่อจะทดลองใจสุมุขหงส์นั้น จึงกล่าว
คาถาเป็นปฐมว่า

ดูก่อนสุมุขะ ฝูงหงส์พากันบินหนีไปไม่เหลียว-
หลัง แม้ท่านก็จงไปเสียเถิด อย่าหวังอยู่ในที่นี้เลย
ความเป็นสหายในเราผู้ติดบ่วง ย่อมไม่มี.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อนุวิจินนฺตา ได้แก่ ไม่ห่วงใยด้วย
ความรัก คือด้วยความอาลัย. บทว่า ปกฺกมนฺติ ความว่า พญาหงส์นั้น
กล่าวว่า ฝูงหงส์ทั้งหลายซึ่งล้วนเป็นหมู่ญาติของเรา เป็นจำนวนหงส์มีประมาณ
เก้าหมื่นหกพันตัวเหล่านี้ มิได้มองดูเราด้วยอำนาจความอาลัยรัก ทิ้งเราแล้ว
บินหนีไปหมด ถึงตัวท่านก็จงรีบหนีไปเสียเถิด อย่าหวังการอยู่ในที่นี้เลย

ด้วยว่า ขึ้นชื่อว่า ความเป็นสหายในตัวเรา ย่อมไม่มีผลเพราะการติดบ่วงอย่างนี้
อธิบายว่า บัดนี้เราไม่อาจที่จะกระทำกิจด้วยความเป็นสหายสักน้อยหนึ่งแก่ท่าน
ได้เลย เราไม่สามารถจะกระทำอุปการะได้ จะมีประโยชน์อะไรแก่ท่าน ท่าน
อย่าชักช้าเลย จงรีบบินหนีไปเสียเถิดนะ.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 20:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
เบื้องหน้าแต่นั้น สุมุขหงส์กล่าวว่า
ข้าพระองค์จะพึงไปหรือไม่พึงไป ความไม่
ตายก็ไม่พึงมี เพราะการไปหรือการไม่ไปนั้น เมื่อ
พระองค์มีความสุขจึงอยู่ใกล้ เมื่อพระองค์ได้รับความ
ทุกข์จะพึงละไปอย่างไรได้ ความตายพร้อมกับพระองค์
หรือว่าความเป็นอยู่เว้นจากพระองค์ ความตายนั้นแล
ประเสริฐกว่า เว้นจากพระองค์แล้ว จะพึงเป็น
อยู่ประเสริฐอะไร ข้าแต่พระมหาราชจอมหงส์
ข้าพระองค์พึงละทิ้งพระองค์ซึ่งทรงถึงทุกข์อย่างนี้ ข้อ
นี้ไม่เป็นธรรมเลย คติของพระองค์ ข้าพระองค์ย่อม
ชอบใจ.

ในลำดับนั้น พระมหาสัตว์จึงกล่าวว่า
คติของเราผู้ติดบ่วงจะเป็นอื่นไปอย่างไรเล่า
นอกจากเข้าโรงครัวใหญ่ คตินั้นย่อมชอบใจ แก่
ท่านผู้มีความคิด ผู้พ้นแล้วอย่างไร ดูก่อนสุมุขหงส์
ท่านจะพึงเห็นประโยชน์อะไร ในการสิ้นชีวิตของเรา
และของท่านทั้งสอง หรือของพวกญาติที่เหลือ ดูก่อน
ท่านผู้มีปีกทั้งสองดังสีทอง เมื่อท่านยอมสละชีวิตใน
เพราะคุณอันไม่ประจักษ์ ดังคนตาบอดกระทำแล้วใน
ที่มืด จะพึงยังประโยชน์อะไรให้รุ่งเรืองได้.

สุมุขหงส์กล่าวตอบว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้ประเสริฐกว่าฝูงหงส์ทั้งหลาย
ทำไมหนอ พระองค์จึงไม่ทรงรู้อรรถในธรรม
ธรรมอันบุคคลเคารพแล้ว ย่อมแสดงประโยชน์แก่
สัตว์ทั้งหลาย ข้าพระองค์นั้นเพ่งเล็งอยู่ ซึ่งธรรมและ
ประโยชน์อันตั้งจากธรรม ทั้งเห็นพร้อมอยู่ ซึ่งความ
ภักดีในพระองค์ จึงมิได้เสียดายชีวิต ความที่มิตร เมื่อ
ระลึกถึงธรรม ไม่พึงทอดทิ้งมิตรในยามทุกข์ แม้
เพราะเหตุแห่งชีวิต นี้เป็นธรรมของสัตบุรุษทั้งหลาย
โดยแท้.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 20:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ลำดับนั้น พระมหาสัตว์กล่าวว่า
ธรรมนี้นั้นท่านประพฤติแล้ว และความภักดี
ในเราก็ปรากฏแล้ว ท่านจงทำตามความปรารถนา
ของเรานี้เถิด ท่านเป็นอันเราอนุมัติแล้ว จงไปเสีย

เถิด ดูก่อนท่านผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญา ก็แลเมื่อกาล
ล่วงไปอย่างนี้ คือ เมื่อเราติดบ่วงอยู่ในที่นี้ ท่านพึง
กลับไปปกครองหมู่ญาติทั้งหลายของเราให้จงดีเถิด.

เมื่อสุวรรณหงส์ตัวประเสริฐ ประพฤติธรรม
อันประเสริฐ กำลังโต้ตอบกันอยู่ด้วยประการฉะนี้
นายพรานได้ปรากฏแล้ว เหมือนดังมัจจุราชปรากฏ
แก่บุคคลผู้ป่วยหนัก ฉะนั้น สุวรรณหงส์ทั้งสอง
เกื้อกูลกันมาสิ้นกาลนานนั้น เห็นศัตรูเดินมาแล้ว ก็

นิ่งเฉยมิได้เคลื่อนจากที่ ฝ่ายนายพราน ผู้เป็นศัตรู
ของพวกนก เห็นพญาหงส์ธตรฐจอมหงส์กำลัง
เดินส่ายไปมาแต่ที่นั้น ๆ จึงรีบเดินเข้าไป ก็นาย
พรานนั้นครั้นรีบเดินเข้าไปแล้ว เกิดความสงสัยขึ้นว่า
หงส์ทั้งสองนั้นติดบ่วงหรือไม่ จึงค่อยลดความเร็วลง

ค่อย ๆ เดินเข้าไปให้ใกล้สุวรรณหงส์ทั้งสอง ได้เห็น
ตัวหนึ่งติดบ่วง อีกตัวหนึ่งไม่ติดบ่วง แต่มายืนอยู่ใกล้
ตัวที่ติดบ่วง จึงเพ่งดูตัวที่ติดบ่วงที่เป็นโทษ ลำดับนั้น
นายพรานนั้นเป็นผู้มีความสงสัย จึงได้กล่าวถามสุมุข-
หงส์ตัวมีผิวพรรณเหลือง มีร่างกายใหญ่ เป็นใหญ่ใน
หมู่หงส์ ซึ่งยืนอยู่ว่า เพราะเหตุไรหนอ พญาหงส์


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 20:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ที่ติดบ่วงใหญ่ ย่อมไม่กระทำซึ่งทิศ เมื่อเป็นเช่นนั้น
เพราะเหตุไร ท่านผู้ไม่ติดบ่วง เป็นผู้มีกำลัง จึงไม่บิน
หนีไป พญาหงส์นี้เป็นอะไรกับท่านหรือ ท่านพ้น
แล้วทำไมจึงยังเฝ้าหงส์ตัวติดบ่วงอยู่ หงส์ทั้งหลายพา
กันละทิ้งหนีไปหมด เพราะเหตุไร ท่านจึงยังอยู่ตัวเดียว.
สุมุขหงส์จึงกล่าวตอบว่า

ดูก่อนนายพรานนก พญาหงส์นั้นเป็นราชา
ของเรา ทั้งเป็นเพื่อนเสมอด้วยชีวิตของเราด้วย เรา
จึงไม่ละท่านไปจนกว่าจะถึงที่สุดแห่งกาละ.
นายพราน จึงกล่าวว่า
ก็ไฉนพญาหงส์นี้ จึงไม่เห็นบ่วงที่ดักไว้
ความจริงการรู้อันตรายของตน เป็นเหตุของบุคคล
ผู้ใหญ่ทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น บุคคลผู้ใหญ่เหล่านั้น
ควรรู้อันตราย.

สุมุขหงส์ จึงกล่าวตอบว่า
เมื่อใดมีความเสื่อม เมื่อนั้น สัตว์แม้เข้าไป
ในข่ายหรือบ่วงก็ไม่รู้สึก ในเมื่อถึงคราวจะสิ้นชีวิต.
นายพราน จึงกล่าวว่า

ดูก่อนท่านผู้มีปัญญามาก ก็แลบ่วงทั้งหลาย
ที่เขาดักไว้มีมากอย่าง สัตว์ทั้งหลายย่อมเข้ามาติด
บ่วงที่เขาดักอำพรางไว้ ในเมื่อถึงคราวจะสิ้นชีวิต
อย่างนี้.
เนื้อความแห่งคาถาเหล่านี้ บัณฑิตพึงทราบโดยนัยอันมาแล้วในบท
บาลีทีเดียว.


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2019, 20:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า คจฺเฉ วา ความว่า สุมุขหงส์นั้นกล่าวว่า
ข้าแต่มหาราช ข้าพระองค์พึงไปจากที่นี้หรือไม่ไปก็ตามเถิด แต่ที่ข้าพระองค์
จะพึงไม่ตายเพราะการไปหรือการไม่ไปนั้นไม่มีเลย เพราะว่าข้าพระองค์ ถึงจะ
ไปจากที่นี้หรือไม่ไปคงไม่พ้นจากความตายไปได้เป็นแน่แท้ ก็ในกาลก่อนแต่
นี้ พระองค์มีความสุข ข้าพระองค์ก็ได้อยู่ใกล้ชิด บัดนี้พระองค์กำลังได้รับทุกข์

ข้าพระองค์จะทอดทิ้งไปเสียอย่างไรได้. บทว่า มรณํ วา ความว่า เมื่อ
ข้าพระองค์ไม่ไป พึงตายเสียพร้อมกับพระองค์อย่างหนึ่ง หรือเมื่อข้าพระองค์
ไป แต่มีชีวิตอยู่เว้นจากพระองค์อย่างหนึ่ง ในสองอย่างนี้ การตายเสียพร้อม
กันกับพระองค์นั้นแล เป็นของประเสริฐของข้าพระองค์ยิ่งนัก ส่วนการที่
ข้าพระองค์จะพึงมีชีวิตอยู่เว้นเสียจากพระองค์นั้น ไม่เป็นของประเสริฐแก่ข้า-

พระองค์เลย. บทว่า รุจฺจเต ความว่า ความสำเร็จนั้นแล ย่อมเป็นที่ชอบใจ
ของข้าพระองค์. บทว่า สา กถํ ความว่า ดูก่อนสุมุขหงส์ผู้เป็นสหาย เมื่อ
เราติดบ่วงที่ทำด้วยหนังสัตว์ร้ายอย่างมั่นคงไปแล้วในมือของบุคคลอื่น คตินั้น
จึงเป็นที่ชอบใจก่อน แต่เมื่อท่านมีความคิดมีปัญญาพ้นจากบ่วงแล้ว ยังเป็น

ที่ชอบใจอยู่อย่างไร. บทว่า ปกฺขิมา ได้แก่ สมบูรณ์ด้วยขนปีก. บทว่า
อภินฺนํ ความว่า เมื่อเราแม้ทั้งสองสิ้นชีวิตไปแล้ว ท่านยังจะเห็นประโยชน์
อะไรของเรา ของท่านหรือของพวกญาติที่เหลือ. น อักษร ในคำว่า ยนฺน นี้
ใช้ในความอุปมา บทว่า กญจนเทปิจฉ ได้แก่ มีขนปีกทั้งสองประดุจสีทอง

อีกอย่างหนึ่ง บาลีก็อย่างนี้เหมือนกัน ความว่า มีปีกทั้งสองข้างเช่นกับทอง
บทว่า ตมสา ได้แก่ ในความมืด อีกอย่างหนึ่ง บาลีก็อย่างนี้เหมือนกัน น
อักษร ข้างต้นเชื่อมความกับบทนี้. บทว่า กตํ ความว่า ประหนึ่งว่ากระทำ
แล้ว มีคำกล่าวอธิบายว่า เมื่อท่านจะยอมสละชีวิตก็ตาม ชีวิตของเราก็ไม่
รอดแน่ การสละชีวิตของท่านนั้น จึงชื่อว่าไม่ประจักษ์คุณเพราะไม่ได้รับ


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.พ. 2019, 12:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ประโยชน์แม้สักน้อยหนึ่งเลย เปรียบเหมือนคนตาบอด กระทำในที่มืด ท่าน
มายอมเสียสละชีวิตในการเสียสละอันไม่ประจักษ์คุณของท่านเช่นนี้ จะพึงยัง
ประโยชน์อะไรให้รุ่งเรืองได้. บทว่า ธมฺโม อปจิโต สนฺโต ความว่า ธรรม
ที่บุคคลบูชาแล้ว นับถือแล้ว เคารพแล้ว. บทว่า อตฺถํ ทสฺเสติ ได้แก่
แสดงถึงความเจริญ บทว่า อเปกขาโน คือพิจารณาอยู่. บทว่า ธมมา จตถํ

ความว่า อนึ่ง ข้าพระองค์เห็นอยู่ ซึ่งประโยชน์อันตั้งขึ้นแล้วจากธรรม. บทว่า
ภตตึ คือความรักเยื่อใย บทว่า สตํ ธมโม คือเป็นสภาวะของบัณฑิตทั้ง
หลาย. บทว่า โย มิตโต ความว่า มิตรใดไม่พึงทอดทิ้งมิตรในเวลาได้รับ
อันตราย ธรรมนี้แลชื่อว่าเป็นสภาพของมิตรผู้ไม่ทอดทิ้งอยู่นั้น ธรรมของ
สัตบุรุษทั้งหลายแจ่มแจ้งแล้ว คือปรากฏแล้วโดยแท้. บทว่า กามํ กรสสุ

ความว่า ท่านจงกระทำตามความปรารถนาของเรา คือตามถ้อยคำของเราที่
เราปรารถนาไว้นี้. บทว่า อปิเตววํ คเต กาเล ความว่า ก็แลเมื่อกาล
เวลาผ่านไปแล้วอย่างนี้ คือเมื่อเราติดบ่วงอยู่ในที่นี้ บทว่า ปรมสํวุตํ คือ
พึงระแวดระวังอย่างแข็งแรง.

บทว่า อิจเจวํ มนตยนตานํ ได้แก่ กำลังกล่าวขอร้องกันอยู่อย่างนี้
ว่า ท่านจงไป เราไม่ไป ดังนี้. บทว่า อริยานํ คือเป็นผู้ประเสริฐด้วยความ
ประพฤติ. บทว่า ปจจนิสสถ ความว่า นายพรานนุ่งผ้าย้อมฝาดประดับ
พวงมาลาสีแดง ถือค้อนกำลังเดินมาอยู่ทีเดียว ปรากฏขึ้นแก่หงส์ทั้ง ๒. บทว่า
อาตุรานํ คือ ประดุจดังพระยามัจจุราชปรากฏแก่คนไข้ทั้งหลาย ฉะนั้น.

บทว่า อภิสิญจิกข ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สุวรรณหงส์แม้ทั้งสอง
เหล่านั้นเห็นศัตรูเดินมาอยู่. บทว่า หิตา ได้แก่ เป็นผู้อุดหนุนกัน มีจิต
รักใคร่สนิทสนมซึ่งกันและกันมาเป็นเวลาช้านาน บทว่า น จลญเจสํ ได้แก่
มิได้เคลื่อนจากที่ คงเกาะอยู่ตามเดิมทีเดียว. ด้วยว่า สุมุขหงส์คิดว่า นายพราน
นี้มาแล้ว ถ้าต้องการประหารก็จงประหารเราก่อน จึงนั่งเกาะบังพระมหาสัตว์

ไว้เบื้องหลัง. บทว่า ธตรฏเฐ หมายเอาหมู่หงส์ธตรฐทั้งหลาย. บทว่า
สมุฑเฑนเต ความว่า นายพรานเห็นหงส์นั้นกำลังเดินกลับไปกลับมาข้างโน้น
ข้างนี้เพราะกลัวตาย. บทว่า อาสชช ได้แก่ เข้าไปจนใกล้หงส์ทั้งสองนอกนี้.
บทว่า ปจจกมปิตถ ได้แก่ นายพรานคิดใคร่ครวญอยู่ว่า หงส์นั้นติดบ่วง

หรือยังไม่ติด จึงค่อย ๆ ย่อง คือลดความเร็วเสียแล้วได้ค่อย ๆ เดินไป. บทว่า
อาสชช พนธํ ความว่า นายพรานเห็นสุมุขหงส์เกาะอยู่ใกล้พระมหาสัตว์
ซึ่งติดบ่วงอยู่. บทว่า อาทีนวํ ได้แก่ นายพรานเห็นพระมหาสัตว์ซึ่งเป็น
โทษทีเดียวมองดูอยู่. บทว่า วิมโต ความว่า นายพรานนั้นเกิดความสงสัย
ขึ้นว่า เหตุไรหนอ หงส์ตัวที่ไม่ติดบ่วงจึงได้เกาะอยู่ใกล้ชิดกับตัวที่ติดบ่วง


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.พ. 2019, 12:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
เราจักถามดูให้รู้เหตุ. บทว่า ปณฑเร หมายเอาสุมุขหงส์นั้น อีกอย่างหนึ่ง
อธิบายว่า เป็นสัตว์บริสุทธิ์ปราศจากเครื่องเศร้าหมอง คือ มีสีเหมือนทองที่เขา
หลอมไว้ดีแล้ว. บทว่า ปวฑฒกาเย ได้แก่ มีร่างกายอันเติบโตแล้ว มี
ร่างกายใหญ่โต คำว่า ยนนู หมายเอาหงส์ตัวที่ติดบ่วงใหญ่นี้. บทว่า ทิสํ
น กุรุเต อธิบายว่า ไม่ยอมคบแม้สักทิศหนึ่ง การกระทำดังนั้นเป็นการ

สมควรแล้ว บทว่า พลี คือเป็นสัตว์สมบูรณ์ด้วยกำลัง. นายพรานย่อมเรียก
หงส์นั้นว่า สัตว์มีปีก บทว่า โอหาย คือทิ้งไปแล้ว บทว่า ยนติ ความว่า
ฝูงหงส์ที่เหลือพากันบินไปหมด. บทว่า อวหียสิ แปลว่า เหลืออยู่ บทว่า
ทิชามิตต คือ ไม่เป็นมิตรแก่พวกนกทั้งหลาย. บทว่า ยาว กาลสส
ปริยายํ ได้แก่ จนกว่าวาระสุดท้ายแห่งความตายจะมาถึง. บทว่า กถํ ปนายํ

ความว่า ท่านกล่าวว่า พญาหงส์นั้นเป็นพระราชาของท่าน ธรรมดาว่าพระราชา
ทั้งหลายย่อมเป็นบัณฑิต ก็พระราชาของท่านเป็นบัณฑิต แม้ด้วยประการฉะนี้
เพราะเหตุไร จึงมิได้เห็นบ่วงที่ดักไว้ เพราะว่าธรรมดาอันนี้ ย่อมเป็นบท
อธิบายว่า ขึ้นชื่อว่า ความรู้สึกในอันตรายของตน ย่อมเป็นบท คือเป็นเหตุ

ของบุคคลทั้งหลาย ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นผู้ใหญ่ด้วยยศ หรือความเป็นผู้ใหญ่
ด้วยความรู้ เพราะฉะนั้น บัณฑิตเหล่านั้น จึงควรรู้ถึงอันตราย. บทว่า
ปราภโว คือ ความไม่เจริญ บทว่า อาสชชาปิ คือ ถึงหากจะเข้าไปจน
ใกล้ชิดก็ไม่รู้สึกตัว. บทว่า ตตา คือ ล่อไว้ ซุ่มไว้. บทว่า คุยหมาสชช

ความว่า บรรดาบ่วงเหล่านั้น บ่วงใดที่อำพรางไว้คือลวงไว้ สัตว์ทั้งหลาย
เข้าใกล้บ่วงนั้น ย่อมถูกรัดรึง. บทว่า อเถวํ ความว่า เมื่อถึงคราวสิ้นชีวิต
อย่างนี้ สัตว์ทั้งหลายย่อมถูกรึงรัดติดอยู่เป็นแน่แท้ทีเดียว.

สุมุขหงส์นั้น กระทำนายพรานให้เป็นผู้มีน้ำใจอ่อน ด้วยการเจรจา
ปราศรัยด้วยประการฉะนี้แล้ว เพื่อจะขอชีวิตของพระมหาสัตว์ จึงกล่าวคาถาว่า


+ ผูกมิตรด้วยการให้ ผู้ใจด้วยความดี อยากมีดีก็ต้องสร้างสมกันเอง
+ คิดว่าตนดีแล้วจึงมิคิดจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตนเอง
คิดว่าตนยังไม่ดีจึงคิดเปลี่ยนแปลงแก้ไขและปรับปรุงตนเอง
+ ความรู้จะมีมากขึ้น หากมิมากไปด้วยความเกียจคร้าน
+ อาหารยังมีเฉพาะแต่ละวัยฉันใด แม้พระธรรมคำสอนก็ฉันนั้น
+ ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งใช้ยิ่งมาก
เพราะความมักมากจึงทำจิตให้ตกต่ำ
+ เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
เวรย่อมระงับด้วยการให้อภัย
เวรย่อมระงับด้วยจิตที่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 96, 97, 98, 99, 100, 101, 102 ... 179  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 33 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร