วันเวลาปัจจุบัน 16 เม.ย. 2024, 13:01  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 30, 31, 32, 33, 34, 35, 36 ... 179  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 09:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยถา สมํ ความว่า บุรุษสำคัญว่า ที่นี้เป็น
ที่สม่ำเสมอ พึงตกไปสู่บ่อ ถ้ำ เหว กล่าวคือที่พลาดจากพื้น หรือรากไม้ผุ.
บทว่า ปูติปาทํ ความว่า ต้นไม้ใหญ่ในหิมวันตประเทศแห้งตาย เมื่อราก
ทั้งหลายของต้นไม้ใหญ่นั้น เกิดเปื่อยเน่า ในที่นั้นย่อมเป็นบ่อใหญ่ นี้เป็น

สถานที่ชื่อของบ่อใหญ่นั้น. บทว่า โชติมธิฏฺฐเหยฺย ความว่า พึงเหยียบไฟ.
บทว่า เอวํปิ ความว่า แม้เราก็ฉันนั้น เป็นผู้บอดเพราะไม่มีจักษุคือปัญญา
ไม่รู้คุณวิเศษของท่าน พลั้งพลาดในท่าน ท่านรู้เรานั้นว่าเป็นผู้พลั้งพลาด.
บทว่า สปฺา ความว่า ดูก่อนท่านผู้สมบูรณ์ด้วยญาณจงให้มนต์แก่ข้าพเจ้า
ผู้เสื่อมมนต์อีก.

ลำดับนั้น อาจารย์กล่าวกะเขาว่า ดูก่อนพ่อ เจ้าพูดอะไร ธรรมดาว่า
คนบอด เมื่อมีผู้ให้สัญญาแล้ว ย่อมหลบหลีกบ่อเป็นต้นได้ เราเล่าก็บอกเจ้า
แล้วแต่แรกทีเดียว คราวนี้เจ้าจะมาหาเราเพื่อประโยชน์อะไรเล่า แล้วกล่าว
คาถาเหล่านี้ว่า

เราได้ให้มนต์แก่ท่านโดยธรรม ฝ่ายท่านก็ได้
เรียนมนต์โดยธรรม หากว่าท่านมีใจดีรักษาปกติไว้
มนต์ก็จะไม่พึงละทิ้งท่านผู้ตั้งอยู่ในธรรม.

ดูก่อนคนพาล มนต์อันใดที่จะพึงได้ในมนุษย-
โลก มนต์อันนั้นท่านก็จะได้ในวันนี้โดยลำบาก ท่าน
ผู้ไม่มีปัญญา กล่าวคำเท็จ ทำมนต์อันมีค่าเสมอด้วย
ชีวิต ที่ได้มาโดยยากให้เสื่อมเสียแล้ว.


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 09:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เราจะไม่ให้มนต์เช่นนั้นแก่เจ้าผู้เป็นพาล หลง-
งมงาย อกตัญญู พูดเท็จ ไม่มีความสำรวม มนต์ที่ไหน
ไปเสียเถิด เราไม่พอใจ.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ธมฺเมน ความว่า แม้เราก็ไม่รับเงิน
หรือทองอันเป็นส่วนของอาจารย์ ยินยอมมอบให้แก่ท่านโดยธรรมแท้ทีเดียว
แม้เจ้าเล่าก็มิได้ให้อะไร ย่อมรับเอาโดยธรรม โดยเสมอดุจกัน. บทว่า ธมฺเม
ฐิตํ ได้แก่ ตั้งอยู่ในธรรมของบุคคลผู้บูชาอาจารย์. บทว่า ตาทิสเก ความว่า
เราไม่ยอมให้มนต์เห็นปานนั้น คือที่จะให้มะม่วงมีผลในเวลามิใช่ฤดูกาล เจ้า
จงไป เจ้าไม่ถูกใจข้าเลย. เขาถูกอาจารย์ตะเพิดอย่างนี้ คิดว่าเราจะอยู่ไปทำไม
ดังนี้เข้าไปสู่ป่า ตายอย่างน่าอนาถ.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย มิใช่
แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน พระเทวทัตก็บอกคืนอาจารย์เสีย ถึงความ
พินาศอย่างใหญ่หลวงแล้ว ดังนี้แล้วจึงทรงประชุมชาดกว่า มาณพอกตัญญู
ในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระเทวทัต พระราชาได้มาเป็นพระอานนท์ ส่วน
บุตรคนจัณฑาล คือเราตถาคตแล.
จบอรรถกถาอัมพชาดก

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 09:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ ฝั่งแม่น้ำโรหิณี ทรงพระ-
ปรารภการทะเลาะแห่งพระญาติ จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า
กุฐาริหตฺโถ ปุริโส ดังนี้.

ก็เนื้อความจักมีแจ้งในกุณาลชาดก.* แต่ในครั้งนั้น พระศาสดาตรัส
เรียกหมู่ญาติมาตรัสว่า ขอถวายพระพรมหาบพิตรทั้งหลาย.

ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติ ณ กรุงพาราณสี
ได้มีบ้านช่างไม้อยู่ภายนอกพระนคร. ในบ้านนั้นมีพราหมณ์ช่างไม้ผู้หนึ่ง หา
ไม้มาจากป่า ทำรถเลี้ยงชีวิต ครั้งนั้นในหิมวันตประเทศ มีต้นตะคร้อใหญ่.
มีหมีตัวหนึ่งเที่ยวหากินแล้ว มานอนที่โคนไม้ตะคร้อนั้น. ครั้นอยู่มาวันหนึ่ง
เมื่อลมระดมพัด กิ่งแห้งกิ่งหนึ่งของต้นตะคร้อหักตกถูกคอหมีนั้น. มันพอกิ่งไม้

ทิ่มคอหน่อยก็สะดุ้งตกใจลุกขึ้นวิ่งไปหวนกลับมาใหม่ มองดูทางที่วิ่งมา ไม่เห็น
อะไรคิดว่าสีหะหรือพยัคฆ์อื่นๆ ที่จะติดตามมา มิได้มีเลย ก็แต่เทพยดาที่เกิด
ณ ต้นไม้นี้ชะรอยจะไม่ทนดูเราผู้นอน ณ ที่นี้ เอาเถิดคงได้รู้กัน แล้วผูกโกรธ
ในที่มิใช่ฐานะแล้วทุบฉีกต้นไม้ ตะคอกรุกขเทวดาว่า ข้าไม่ได้กินใบต้นไม้ของ

เจ้าเลยทีเดียว ข้าไม่ได้หักกิ่ง ที่มฤคอื่นๆ พากันนอนที่ตรงนี้ เจ้าทนได้
ทีข้าละก็เจ้าทนไม่ได้ โทษอะไรของข้าเล่า รอสักสองสามวันต่อไปเถิด ข้าจัก
ให้เขาขุดต้นไม้ของเจ้าเสียทั้งรากทั้งโคน แล้วให้ตัดเป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่
จงได้ เที่ยวสอดส่องหาบุรุษผู้หนึ่งเรื่อยไป. ครั้งนั้น พราหมณ์ช่างไม้ผู้นั้น


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 09:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พามนุษย์ ๒-๓ คนไปถึงประเทศตรงนั้น โดยยานน้อยเพื่อต้องการไม้ทำรถ
จอดยานน้อยไว้ ณ ที่แห่งหนึ่งถือพร้าและขวานเลือกเฟ้นต้นไม้ ได้เดินไป
จนใกล้ไม้ตะคร้อ. หมีพบเข้าแล้วคิดว่า วันนี้น่าที่เราจะได้เห็นหลังปัจจามิตร
ได้มายืนอยู่ที่โคนต้น. ฝ่ายนายช่างไม้เล่า มองดูทางโน้นทางนี้ ผ่านไปใกล้
ต้นตะคร้อ. หมีนั้นคิดว่า เราต้อง บอกเขาทันทีที่เขายังไม่ผ่านไป ดังนี้แล้ว
จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า

ท่านเป็นบุรุษถือขวาน มาสู่ป่ายืนอยู่ ดูก่อนสหาย
เราถามท่าน ท่านจงบอกแก่เรา ท่านต้องการจะตัดไม้
หรือ.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปุริโส ความว่า ท่านผู้เป็นบุรุษคนหนึ่ง
มือถือขวาน หยั่งลงสู่ป่านี้ยืนอยู่.

เขาฟังคำของมันแล้ว คิดว่า ผู้เจริญน่าอัศจรรย์จริง มฤคพูดภาษา
มนุษย์ เราไม่เคยพบมาก่อนจากนี้เลย เจ้านี่คงจะรู้จักไม้ที่เหมาะแก่การทำรถ
ต้องถามมันดูก่อน จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า
เจ้าเป็นหมี เที่ยวอยู่ทั่วไปทั้งป่าทึบและป่าโปร่ง

ดูก่อนสหาย เราถามเจ้า ขอเจ้าจงบอกแก่เรา ไม้อะไร
ที่จะทำกงรถ ได้มั่นคงดี.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อีโส ความว่า แกเล่าเป็นหมีตัวหนึ่ง
ท่องเที่ยวไปในป่า เจ้าคงรู้จักไม้ที่ควรจะทำรถได้.


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 09:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
หมีได้ฟังดังนั้น คิดว่า บัดนี้ มโนรถของข้าจักถึงที่สุด ดังนี้แล้ว
จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า
ไม้รังก็ไม่มั่นคง ไม้ตะเคียนก็ไม่มั่นคง ไม้หูกวาง
จะมั่นคงที่ไหนเล่า แต่ว่าต้นไม้ชื่อว่าต้นตะคร้อ
นั่นแหละ ทำเป็นกงรถมั่นคงดีนัก.

เขาฟังคำของมันนั้นแล้ว เกิดโสมนัสว่า วันนี้เป็นวันดีจริงเทียวละ
ที่เราเข้าป่า สัตว์ดิรัจฉานบอกไม้อันเหมาะที่จะกระทำรถแก่เรา โอ ดีนัก
เมื่อจะถามจึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า
ต้นตะคร้อนั้นใบเป็นอย่างไร อนึ่ง ลำต้นเป็น
อย่างไร ดูก่อนสหาย เราถามเจ้า ขอเจ้าจงบอกแก่เรา
เราจะรู้จักไม้ตะคร้อได้อย่างไร.
ลำดับนั้น หมีเมื่อจะบอกแก่เขา ได้กล่าวคาถา ๒ คาถาว่า

กิ่งทั้งหลายแห่งต้นไม้ใด ย่อมห้อยลงด้วย ย่อม
น้อมลงด้วย แต่ไม่หัก ต้นไม้นั้นชื่อว่าต้นตะคร้อ
ที่เรายืนอยู่ใกล้โคนต้นนี่.
ต้นไม้นี้แหละ ชื่อว่าต้นตะคร้อ เป็นต้นไม้
ควรแก่การงานของท่านทุกอย่าง คือควรทำล้อ ดุม
งอนและกงรถ.


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 09:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อารานํ ความว่า หมีนั้นคิดว่าบางคราว
คนนี้จะไม่พึงถือเอาต้นไม้นี้ก็ได้ เราต้องบอกแม้ซึ่งคุณของต้นไม้นั้นไว้บ้าง
จึงได้กล่าวคำนี้ว่า ทำกำดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อีสานเนมิรถสฺสจ
ความว่า ต้นตะคร้อนี้ จักควรแก่การงาน คือจักเหมาะแก่การงานที่จะกระทำ
งอนรถ กงรถและเครื่องรถที่เหลือทุก ๆ อย่างของท่าน.

หมีนั้นครั้นบอกอย่างนี้แล้ว ดีใจ เดินเที่ยวไปเสียข้างหนึ่ง ช่างไม้เล่า
ก็เตรียมการที่จะตัดต้นไม้. รุกขเทวดาคิดว่า อะไรๆ เราก็มิได้ให้ตกใส่บนตัวหมี
นั้นมันผูกอาฆาตในอันมิใช่เหตุเลย กำลังจะทำลายวิมานของเราเสีย และตัวเรา
ก็จักพลอยย่อยยับไปด้วย ต้องล้างผลาญไอ้หมีตัวนี้ด้วยอุบายอย่างหนึ่งให้ได้
จำแลงเป็นคนทำงานในป่า มาสู่สำนักของช่างไม้นั้น แล้วถามว่า บุรุษผู้เจริญ

ท่านได้ต้นไม้ที่เหมาะใจแล้ว ท่านจักตัดต้นไม้นี้ไปทำอะไร. ตอบว่า จักกระทำ
กงรถ ด้วยต้นไม้นี้ จักเป็นตัวรถก็ได้. ถามว่า ใครบอกท่าน. ตอบว่า หมี
ตัวหนึ่งบอก. รุกขเทวดาจึงกล่าวว่า ดีละดีแล้ว ที่หมีนั้นบอก รถจักงามด้วย
ไม้นี้ แต่เมื่อท่านลอกหนังคอหมีประมาณ ๔ นิ้วแล้วเอาหนังนั้นหุ้มกงรถ ดุจ

หุ้มด้วยแผ่นเหล็กกงรถก็จะแข็งแรง และท่านจักได้ทรัพย์มาก. ถามว่า ข้าพเจ้า
จักได้หนังหมีมาจากไหนเล่า ตอบว่า ท่านเป็นคนโง่ ต้นไม้นี้ตั้งต้นอยู่ในป่า
ไม่หนีหายไปดอกนะ ท่านจงไปสู่สำนักไอ้หมีตัวที่มันบอกต้นไม้นั้น หลอกมัน
ว่า นายเอ๋ย ข้าพเจ้าจะตัดต้นไม้ที่ท่านชี้ให้ตรงไหนเล่า พามันมา ขณะที่มัน

หมดระแวงกำลังยื่นจงอยปากบอกอยู่ว่า ตัดตรงนี้และตรงนั้น ท่านจงฟันเสีย
ด้วยขวานใหญ่อันคมให้ถึงสิ้นชีวิต ถลกหนังกินเนื้อที่ดีๆ แล้วค่อยตัดต้นไม้
เป็นอันรุกขเทวดาจองเวรสำเร็จ.


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 13:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อจะประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสพระคาถาเหล่านี้ว่า
เทวดาผู้สิงอยู่ที่ต้นตะคร้อได้กล่าวดังนี้ว่า ดูก่อน
ภารทวาชะ แม้ถ้อยคำของเรามีอยู่ เชิญท่านฟังถ้อยคำ
ของเราบ้าง.
ท่านจงลอกหนังประมาณ ๔ นิ้ว จากคอแห่งหมี
ตัวนี้ แล้วจงเอาหนังนั้นหุ้มกงรถ เมื่อทำได้อย่างนั้น
กงรถของท่านก็จะพึงเป็นของมั่นคง.

เทวดาผู้สิงอยู่ต้นตะคร้อ จองเวรได้สำเร็จ นำ
ความทุกข์มาให้แก่หมีทั้งหลาย ที่เกิดแล้ว และยังไม่-
เกิด ด้วยประการฉะนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ภารทฺวาช เป็นคำที่เทวดาเรียกเขาโดย
โคตร. บทว่า อุปกฺขนฺธมฺหา แปลว่า จากลำคอ. บทว่า อุกฺกจฺจ แปลว่า
ตัดออก.

ช่างไม้ฟังคำของรุกขเทวดา คิดว่า โอ้โอ วันนี้เป็นวันมงคลของเรา
ฆ่าหมี ตัดต้นไม้ แล้วหลีกไป.
พระศาสดาเมื่อจะประกาศเนื้อความนั้นจึงตรัสคาถาว่า
ไม้ตะคร้อฆ่าหมี และหมีก็ฆ่าไม้ตะคร้อ ต่างก็
ฆ่ากันและกัน ด้วยการวิวาทกัน ด้วยประการฉะนี้.

ในหมู่มนุษย์ ความวิวาทเกิดขึ้น ณ ที่ใด มนุษย์
ทั้งหลายในที่นั้นย่อมฟ้อนรำดังนกยูงรำแพนเหมือน
หมีและไม้ตะคร้อ ฉะนั้น.
เพราะเหตุนั้น อาตมภาพขอถวายพระพรแก่
บพิตรทั้งหลาย ขอความเจริญจงมีแก่บพิตรทั้งหลาย
เท่าที่มาประชุมกันอยู่ ณ ที่นี้ ขอบพิตรทั้งหลายจง
ร่วมบันเทิงใจ อย่าวิวาทกัน อย่าเป็นดังหมีและไม้-
ตะคร้อเลย.


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 13:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ขอบพิตรทั้งหลายจงศึกษาความสามัคคี ความ
สามัคคีนั้นแหละ พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงสรรเสริญ
แล้ว บุคคลผู้ยินดีในสามัคคีธรรม ตั้งอยู่ในธรรม
ย่อมไม่คลาดจากธรรม อันเป็นแดนเกษมจากโยคะ.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อฆาตยุ ํ แปลว่า ต่างฝ่ายต่างฆ่ากัน.
บทว่า มยุรนจฺจํ นจฺจนฺติ ความว่า ดูก่อนมหาบพิตร บรรดามนุษย์ วิวาท
เกิดมีในที่ใด ฝูงคนในที่นั้นต่างก็จะร่ายรำ เหมือนนกยูงรำแพน กระทำที่ ๆ
ควรปกปิด คือที่ ๆ ลี้ลับให้ปรากฏ ฉันใด มนุษย์นั้นก็ฉันนั้น เมื่อประกาศ
โทษแห่งกันและกัน ชื่อว่าฟ้อนรำเหมือนการรำแพนแห่งนกยูง. บทว่า ตํ โว

ความว่า เพราะเหตุนั้น อาตมภาพขอถวายพระพรบพิตรทั้งหลาย ขอความ
เจริญจงมีแก่มหาบพิตรทั้งหลาย. บทว่า ยาวนฺเตตฺถ ความว่า เท่าที่มา
ประชุมกัน ณ ที่นี้ อย่าพากันเป็นหมีและไม้ตะคร้อเลย. บทว่า สามคฺยเมว
ความว่า บพิตรทั้งหลาย จงศึกษาความเป็นผู้พร้อมเพรียงกันอย่างเดียวเถิด นี้

เป็นข้อที่พุทธาทิบัณฑิตทั้งหลายสรรเสริญแล้ว. บทว่า ธมฺมฏฺโ€ ความว่า
ตั้งอยู่ในสุจริตธรรม. บทว่า โยคกฺเขมา ความว่า ท่านผู้ยินดีในสามัคคีธรรม
ย่อมไม่แคล้วจากธรรมอันเป็นแดนเกษมจากโยคะ คือพระนิพพาน. บทว่า
น ธํสติ ความว่า ย่อมไม่เสื่อม. พระศาสดาทรงถือเอายอดแห่งเทศนาด้วย
พระนิพพาน ด้วยประการฉะนี้.

พระราชาทั้งหลาย ทรงสดับธรรมกถาของพระองค์แล้ว ต่างก็ทรง
สมัครสมานกันได้.
พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า
ก็แลเทวดาผู้สิงอยู่ในราวป่านั้น ฟังเรื่องราวนั้น ในครั้งนั้น คือเราตถาคต
แล.
จบอรรถกถาผันทนชาดก

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 13:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรง
พระปรารภพระเทศนาทัฬหธัมมธนุค คหสูตร ตรัสพระธรรมเทศนานี้
มีคำเริ่มต้นว่า อิเธว หํส นิปต ดังนี้.

ความพิสดารว่า จำเดิมแต่วันที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตรนี้ว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือน นายขมังธนูมีธรรมมั่นคง ๔ นาย ฝึกฝนดี
แล้วมีมือได้ฝึกปรือแล้ว ยิงแม่นยำ ยืน ๔ ทิศ ลำดับนั้น บุรุษคนหนึ่งมา
เราจักจับลูกศรของนายขมังธนูผู้มีธรรมมั่นคง ๔ นาย เหล่านี้ ที่ฝึกฝนดีแล้ว
มีมือได้ฝึกปรือแล้วยิงแม่นยำ ยิงไปทั้ง ๔ ทิศไม่ทันตกถึงดินเลย แล้วนำมา

ให้ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นอย่างไร บุรุษผู้วิ่ง
ไปด้วยความเร็ว ต้องประกอบด้วยความเร็วอย่างยอดเยี่ยม เมื่อภิกษุทั้งหลาย
กราบทูลรับว่า อย่างนั้นพระเจ้าข้า จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเร็ว
ของบุรุษจะเป็นปานใด ความเร็วของดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ยังเร็วกว่านั้น

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเร็วของบุรุษนั้นจะเร็วปานใดเล่า อนึ่งเล่า ฝูงเทวดา
ย่อมเหาะไปข้างหน้าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ ความเร็วของหมู่เทวดานั้น เร็ว
ยิ่งกว่าความเร็วของดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเร็วของ
บุรุษนั้น ความเร็วของหมู่เทวดาเหล่านั้นปานใด อายุสังขารย่อมสิ้นไปเร็วกว่า

นั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงสำเหนียกในข้อนั้น
อย่างนี้ว่า พวกเราต้องละความกระหายด้วยอำนาจความกำหนัดในกามทั้งหลาย
ที่บังเกิดแล้วเสียให้ได้ อนึ่ง จิตของพวกเราต้องไม่ตั้งยึดความกระหายด้วย
อำนาจความกำหนัดในกามทั้งหลายไว้เลย พวกเราต้องเป็นผู้ไม่ประมาท


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 13:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอต้องสำเหนียกอย่างนี้ทีเดียว ดังนี้ ในวันที่ ๒
พวกภิกษุสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย พระศาสดาทรงดำรง
ในพุทธวิสัยของพระองค์ ทรงชี้แจงถ้วนถี่ถึงอายุสังขารของสัตว์เหล่านี้ กระทำ
ให้เป็นของชั่วประเดี๋ยว ทรพล ให้พวกภิกษุที่เป็นปุถุชนพากันถึงความสะดุ้งใจ

อย่างล้นพ้น โอ ธรรมดาพระพุทธพลอัศจรรย์นะ. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไรหนอ เมื่อภิกษุ
เหล่านั้นกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไม่น่าอัศจรรย์
เลย ที่เรานั้นบรรลุสัพพัญญุตญาณแล้วในบัดนี้ ชี้แจงถึงอายุสังขารในหมู่สัตว์

เป็นภาวะชั่วประเดี๋ยว แสดงธรรมให้พวกภิกษุสลดใจได้ เพราะในปางก่อน
ถึงเราจะบังเกิดในกำเนิดหงส์เป็นอเหตุกสัตว์ ก็เคยชี้แจงความที่สังขารทั้งหลาย
เป็นสภาวะชั่วคราว แสดงธรรมให้บริษัททั้งสิ้น ตั้งต้นแต่พระเจ้าพาราณสี
สลดได้แล้ว ทรงนำอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้.

ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในกรุงพาราณสี
พระโพธิสัตว์บังเกิดในกำเนิดชวนหงส์ มีหงส์เก้าหมื่นเป็นบริวาร อาศัยอยู่
ณ ภูเขาจิตตกูฏ วันหนึ่งพระโพธิสัตว์ พร้อมด้วยบริวารเคี้ยวกินข้าวสาลี
เกิดเองในสระแห่งหนึ่ง ณ พื้นชมพูทวีปบินไปสู่เขาจิตตกูฏ ด้วยการบินไปอัน

งดงามระย้าระยับ ทางเบื้องบนแห่งกรุงพาราณสีกับบริวารเป็นอันมาก
ประหนึ่งบุคคลลาดลำแพนทองไว้บนอากาศฉะนั้นทีเดียว. ครั้งนั้น พระเจ้า
พาราณสีทอดพระเนตรเห็นพระโพธิสัตว์นั้น ตรัสแก่พวกอำมาตย์ว่า อันหงส์
แม้นี้คงเป็นพระราชาเหมือนเรา บังเกิดพระสิเนหาในพระโพธิสัตว์นั้น ทรง

ถือดอกไม้ของหอมและเครื่องประเทืองผิว ทอดพระเนตรดูพระโพธิสัตว์นั้น
พลางรับสั่งให้ประโคมดนตรีทุกอย่าง. พระมหาสัตว์เห็นท้าวเธอทรงกระทำ
สักการะแก่ตน จึงถามฝูงหงส์ว่า พระราชาทรงกระทำสักการะเห็นปานนี้แก่เรา


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 14:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ทรงพระประสงค์อะไรเล่า. ฝูงหงส์พากันตอบว่า ข้าแต่สมมติเทพ ทรงพระ-
ประสงค์มิตรภาพกับพระองค์พระเจ้าข้า. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น
มิตรภาพของพวกเราจงมีแก่พระราชาเถิด กระทำมิตรภาพแก่พระราชาแล้ว
หลีกไป.

อยู่มาวันหนึ่ง ในเวลาที่พระราชาเสด็จสู่พระอุทยาน พระโพธิสัตว์
บินไปสู่สระอโนดาต ใช้ปีกข้างหนึ่งนำน้ำมา ข้างหนึ่งนำผงจันทน์มา ให้
พระราชาทรงสรงสนานด้วยน้ำนั้น โปรยผงจันทน์ถวาย เมื่อมหาชนกำลังดูอยู่
นั่นแหละ ได้พาบริวารบินไปสู่เขาจิตตกูฏ. จำเดิมแต่นั้น พระราชาปรารถนา
จะเห็นพระมหาสัตว์ ก็ประทับทอดพระเนตรทางที่มา ด้วยทรงพระอาโภคว่า

สหายของเราคงมาวันนี้. ครั้งนั้น ลูกหงส์สองตัวเป็นน้องเล็กของพระมหาสัตว์
ปรึกษากันว่า เราจักบินแข่งกับพระอาทิตย์ บอกแก่พระมหาสัตว์ว่า ฉันจัก
บินแข่งกับดวงอาทิตย์. พระมหาสัตว์กล่าวว่า พ่อเอ๋ย อันความเร็วของดวง
อาทิตย์เร็วพลัน เธอทั้งสองจักไม่สามารถบินแข่งกับดวงอาทิตย์ได้ดอก จัก
ต้องย่อยยับเสียในระหว่างทีเดียว อย่าพากันไปเลยนะ. หงส์เหล่านั้นพากัน

อ้อนวอนถึงสองครั้งสามครั้ง. แม้พระโพธิสัตว์ก็คงห้ามหงส์ทั้งสองนั้นตลอด
สามครั้งเหมือนกัน หงส์ทั้งสองนั้น ดื้อดันด้วยมานะ ไม่รู้กำลังของตน ไม่
บอกแก่พระมหาสัตว์เลย คิดว่า เราจักบินแข่งกับดวงอาทิตย์ เมื่อดวงอาทิตย์
ยังไม่ทันขึ้นไปเลย พากันบินไปจับอยู่ ณ ยอดเขายุคนธร. พระมหาสัตว์
ไม่เห็นหงส์ทั้งสองนั้น ถามว่า หงส์ทั้งสองนั้นไปไหนกันเล่า ได้ฟังเรื่องนั้น


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 14:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
แล้วคิดว่า หงส์ทั้งสองนั้น ไม่อาจแข่งกับดวงอาทิตย์ จักพากันย่อยยับเสีย
ระหว่างทางเป็นแม่นมั่น เราต้องให้ชีวิตทานแก่หงส์ทั้งสองนั้น. แม้พระ-
มหาสัตว์ก็บินไปจับอยู่ที่ยอดเขายุคนธรเช่นเดียวกัน ครั้นเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้น
แล้ว หงส์ทั้งคู่ก็บินถลาขึ้นไปกับดวงอาทิตย์. ฝ่ายพระมหาสัตว์เล่าก็บินไปกับ
หงส์ทั้งสองนั้น. น้องเล็กแข่งไปได้เพียงเวลาสายก็อิดโรย ได้เป็นดุจเวลาที่
จุดไฟขึ้นที่ข้อต่อแห่งปีกทั้งหลาย. น้องเล็กนั้นจึงให้สัญญาแก่พระโพธิสัตว์ให้
ทราบว่า พี่จ๋า ฉันบินไม่ไหวแล้ว.

ลำดับนั้น พระโพธิสัตว์ปลอบเธอว่าอย่ากลัวเลยนะ ฉันจักให้ชีวิต
แก่เธอ ประคองไว้ด้วยอ้อมปีก ให้เบาใจไปสู่เขาจิตตกูฏ มอบไว้ท่าม
กลางฝูงหงส์ บินไปอีกทันดวงอาทิตย์ แล้วบินชลอไปกับน้องกลาง. บิน
แข่งกับดวงอาทิตย์ไปจนถึงเวลาจวนเที่ยง ก็อิดโรย. ได้เป็นดุจเวลาที่

จุดไฟขึ้นที่ข้อต่อแห่งปีกทั้งหลาย ลำดับนั้นก็ให้สัญญาแก่พระโพธิสัตว์
ให้ทราบว่า พี่จ๋า ฉันไปไม่ไหวละ. พระมหาสัตว์ปลอบโยนหงส์แม้นั้นโดย
ทำนองเดียวกัน ประคองด้วยอ้อมปีก ไปสู่เขาจิตตกูฏ. ขณะนั้นดวงอาทิตย์
ถึงท่ามกลางฟ้าพอดี ลำดับนั้น พระมหาสัตว์ดำริว่า วันนี้เราจักทดลองกำลัง

แห่งสรีระของเราดู แล้วบินไปด้วยความเร็วรวดเดียวเท่านั้น จับยอดเขายุคนธร
ถลาขึ้นจากนั้น ใช้กำลังรวดเดียวเหมือนกันทันดวงอาทิตย์ บางคราวก็แข่งไป
ข้างหน้า บางคราวก็ไล่หลัง ได้คิดว่า อันการบินแข่งกับดวงอาทิตย์ของเรา
ไร้ประโยชน์ เกิดประดังจากการทำในใจโดยไม่แยบคาย เราจะต้องการอะไร

ด้วยประการนี้ เราจักไปสู่พระนครพาราณสี กล่าวถ้อยคำประกอบด้วยอรรถ
ประกอบด้วยธรรม แก่พระราชาสหายของเรา. พระมหาสัตว์นั้นหันกลับ เมื่อ
ดวงอาทิตย์ยังไม่ทันโคจรผ่านท่ามกลางฟ้าไปเลย บินเลียบตามท้องจักรวาล


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 19:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ทั้งสิ้น โดยที่สุดถึงที่สุดลดความเร็วลง บินเลียบชมพูทวีปทั้งสิ้น โดยที่สุด
ถึงที่สุด ถึงกรุงพาราณสี. พระนครทั้งสิ้นอันมีบริเวณได้ ๑๒ โยชน์ ได้เป็น
ดุจหงส์กำบังไว้ ชื่อว่าระยะทางไม่ปรากฏเลย ครั้นความเร็วลดลงโดยลำดับ
ช่องในอากาศจึงปรากฏได้. พระมหาสัตว์ผ่อนความเร็วลง ร่อนลงจากอากาศ
ได้จับอยู่ ณ ที่เฉพาะช่องพระสีหบัญชร. พระราชาตรัสว่า สหายของเรามา
ตรัสสั่งให้จัดตั้งตั่งทอง เพื่อให้พระโพธิสัตว์เกาะ ตรัสว่า สหายเอ๋ย เชิญ
ท่านเข้ามาเถิด เกาะที่ตรงนี้เถิด ดังนี้ตรัสพระคาถาที่ ๑ ว่า

ดูก่อนหงส์ เชิญเกาะที่ตั่งทองนี้เถิด การได้เห็น
ท่านชื่นใจฉันจริง ท่านเป็นอิสระในสถานที่นี้ ท่าน
มาถึงแล้ว รังเกียจสิ่งใดที่มีอยู่ในนิเวศน์นี้ จงบอก
สิ่งนั้นให้ทราบเถิด.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อิธ แปลว่า ที่ตรงนี้พระราชาตรัสหมายเอา
ตั่งทอง. บทว่า นิปต แปลว่า เชิญจับอยู่. ด้วยบทว่า อิสฺสโรสิ นี้
พระราชาตรัสว่า ท่านเป็นผู้ใหญ่ เป็นเจ้าของที่นี้มาแล้ว. บทว่า ยํ อิธตฺถิ
ความว่า สิ่งใดมีอยู่ในนิเวศน์นี้ ท่านไม่ต้องเกรงใจ จงบอกแก่ฉันถึงสิ่งนั้น
เถิด.

พระมหาสัตว์จับอยู่ที่ตั่งทอง. พระราชารับสั่งให้คนทาช่องปีกของ
พระมหาสัตว์นั้น ด้วยน้ำมันที่หุงซ้ำๆ ได้แสนครั้ง รับสั่งให้เอาข้าวตอกคลุก
ด้วยน้ำผึ้งและน้ำตาลกรวด ใส่จานทองพระราชทาน ทรงกระทำปฏิสันถาร
อันอ่อนหวาน ตรัสถามว่า สหายเอ๋ย ท่านมาลำพังผู้เดียวไปไหนมาเล่า.

พระมหาสัตว์นั้นเล่าเรื่องนั้นโดยพิสดาร. ลำดับนั้น พระราชาตรัสกะพระ-
มหาสัตว์นั้นว่า สหายเอ๋ย เชิญท่านแสดงความเร็วชนิดที่แข่งกับดวงอาทิตย์
ให้ฉันดูบ้างเถิด. พระมหาสัตว์จึงทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช หม่อมฉันไม่สามารถ
ที่จะแสดงความเร็วชนิดนั้นได้. พระราชาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้นเชิญเธอแสดง
เพียงขนาดที่พอเห็นสมกันแก่ฉันเถิด. พระมหาสัตว์ทูลว่า ได้ซิ มหาราช


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 19:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
หม่อมฉันจักแสดงความเร็วขนาดที่พอเห็นสมถวาย พระองค์โปรดดำรัสสั่งให้
นายขมังธนูผู้ยิงรวดเร็วประชุมกันเถิด. พระราชาทรงให้นายขมังธนูประชุม
กันแล้ว. พระมหาสัตว์คัดนายขมังธนูได้ ๔ นาย ซึ่งเป็นเยี่ยมกว่าทุก ๆ คน
ลงจากพระราชนิเวศน์ ให้ฝังเสาศิลา ณ ท้องพระลานหลวง ให้ผูกลูกศรที่คอ

ของตนจับอยู่ที่ยอดเสา ส่วนนายขมังธนูทั้ง ๔ นาย ให้ยืนพิงเสาศิลาผินหน้าไป
๔ ทิศ ทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช คน ๔ คนเหล่านี้ จงยิงลูกศร ๔ ลูก
ตรงไปทางทิศทั้ง ๔ โดยประดังพร้อมกัน หม่อมฉันจะเก็บลูกศรเหล่านั้นมา
มิให้ทันตกดินเลย แล้วทิ้งลงแทบเท้าของคนเหล่านั้น พระองค์พึงทรงทราบ
การที่หม่อมฉันไปเก็บลูกศรด้วยสัญญาแห่งเสียงลูกศร แต่หม่อมฉันจักไม่

ปรากฏเลย แล้วเก็บลูกศรที่นายขมังธนูทั้ง ๔ ยิงไปพร้อมกันทันทีหลุดพ้นไป
จากสายแล้ว มาทิ้งลงตรงใกล้ ๆ เท้าของนายขมังธนูเหล่านั้น แสดงตนจับอยู่
ณ ยอดแห่งเสาศิลานั้นเอง กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช ความเร็วของ
หม่อมฉันนี้ มิใช่ความเร็วอย่างสูงสุดดอก มิใช่ความเร็วปานกลาง เป็นความ
ขนาดเลวชั้นโหล่ ข้าแต่มหาราช ความเร็วของหม่อมฉันพึงเป็นเช่นนี้นะ
พระเจ้าข้า.

ลำดับนั้น พระราชาทรงถามว่า สหายเอ๋ย ก็และความเร็วอย่างอื่น
ที่เร็วกว่าความเร็วของท่านน่ะ ยังมีหรือ. พระมหาสัตว์ กราบทูลว่า พระเจ้าข้า
ข้าแต่พระมหาราชเจ้า อายุสังขารของสัตว์เหล่านี้ ย่อมสิ้น ย่อมสลาย ย่อมถึง
ความสิ้น เร็วพลันกว่าแม้แต่ความเร็วขนาดสูงสุดของหม่อมฉัน ตั้งร้อยเท่า

พันทวีแสนทวี พระมหาสัตว์แสดงความสลายแห่งอรูปธรรมทั้งหลาย ด้วย
สามารถความดับอันเป็นไปทุก ๆ ขณะด้วยประการฉะนี้. พระราชาทรงสดับ
คำของพระมหาสัตว์ทรงกลัวต่อมรณภัย ไม่สามารถดำรงพระสติไว้ได้ ชวน
พระกายล้มเหนือแผ่นดิน. มหาชนพากันถึงความสยดสยอง. พวกอำมาตย์

ต้องเอาน้ำสรงพระพักตร์พระราชา ช่วยให้พระองค์ทรงกลับฟื้นคืนพระสติ.
ลำดับนั้น พระมหาสัตว์กราบทูลเตือนว่า ข้าแต่พระมหาราช พระองค์อย่า
ได้ทรงหวาดเกรงเลย เชิญทรงเจริญมรณสติไว้เถิด ทรงประพฤติธรรมไว้เถิด
ทรงกระทำบุญมีให้ทานเป็นต้นไว้เถิด พระองค์อย่าประมาทเถิด พระเจ้าข้า.

ลำดับนั้น พระราชาเมื่อทรงอ้อนวอนว่า ฉันจักไม่สามารถที่จะอยู่แยกกับ
อาจารย์ผู้สมบูรณ์ด้วยญาณเช่นท่าน ชั่วระยะกาลอันใกล้ได้ ท่านไปต้องไปสู่
เขาจิตตกูฎ ชี้แจงธรรมแก่ฉัน เป็นอาจารย์ให้โอวาทอยู่ ณ ที่นี้เลยเถิดนะ
จึงตรัสพระคาถา ๒ คาถาว่า

คนบางพวก ย่อมเป็นที่รักของบุคคลบางคน
เพราะได้ฟัง อนึ่ง ความรักของบุคคลบางคน ย่อม
หมดสิ้นไปเพราะได้เห็น คนบางพวกย่อมเป็นที่รัก
เพราะได้เห็นและเพราะได้ฟัง ท่านรักใคร่ฉันเพราะได้
เห็นบ้างไหม.


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2019, 19:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ท่านเป็นที่รักของฉันเพราะได้ฟัง และเป็นที่รัก
ของฉันยิ่งนัก เพราะอาศัยการเห็น ดูก่อนพญาหงส์
ท่านน่ารักน่าดูอย่างนี้ เชิญอยู่ในสำนักของฉันเถิด.

คาถาเหล่านั้นมีอธิบายว่า ดูก่อนสหายพญาหงส์ บุคคลจำพวกหนึ่ง
ย่อมน่ารักด้วยการฟัง คือดูดดื่มใจด้วยได้ฟัง เพราะได้ยินว่า มีคุณอย่างนี้
แต่จำพวกหนึ่งพอเห็นเท่านั้น ความพอใจหมดไปเลย คือความรักหายไปหมด
ปรากฏเหมือนพวกยักษ์ที่มากันมาเพื่อกัดกิน จำพวกหนึ่งเล่า เป็นผู้น่ารักได้

ทั้งสถาน คือทั้งได้เห็น ทั้งได้ฟัง เหตุนั้นฉันขอถามท่าน เพราะเห็นฉัน
ท่านจึงรักฉันบ้างหรือไร คือท่านยังจะพึงใจฉันบ้างหรือไม่ แต่สำหรับฉัน
ท่านเป็นที่รักด้วยได้ยิน แน่ละ ยิ่งมาเห็นยิ่งรักนักเทียว ท่านเป็นที่รักน่าดูของ
ฉันเช่นนี้ อย่าไปสู่เขาจิตตกูฏ จงอยู่ในสำนักของฉันนี้เถิด.
พระโพธิสัตว์กราบทูลด้วยคาถาว่า

ข้าพระองค์ทั้งหลายได้รับการสักการบูชาแล้ว
เป็นนิตย์ พึงอยู่ในพระราชนิเวศน์ของพระองค์ แต่
บางครั้งพระองค์ทรงเมาน้ำจัณฑ์แล้ว จะพึงตรัสสั่งว่า
จงย่างพญาหงส์ให้ฉันที.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มตฺโต จ เอกทา ความว่า ข้าแต่
พระมหาราช พวกหม่อมฉันได้รับบูชาเป็นนิตย์ ก็น่าจะอยู่ในพระราชวัง
ของพระองค์ แต่บางครั้งพระองค์ทรงเมาสุราแล้ว พึงตรัสได้ว่า จงย่าง
พญาหงส์ให้ข้าเถิด ดังนี้ เพื่อจะได้เสวยมังสะ ที่นั้นพวกข้าเฝ้าของพระองค์
ก็จะพึงฆ่าหม่อมฉันย่างเสียด้วยประการฉะนั้น ครั้งนั้นหม่อมฉันจักกระทำ
อย่างไรได้.

ลำดับนั้น พระราชาเพื่อจะประทานพระปฏิญญาแก่พระโพธิสัตว์นั้นว่า
ถ้าเช่นนั้น ฉันจักไม่ดื่มน้ำเมาเป็นเด็ดขาด จึงตรัสพระคาถานี้ว่า


* เกิดเป็นหลีกไม่พ้นความหิวกระหาย รู้จักอายชั่วกลัวบาปบ้างก็จะดี
* รู้ผิดชอบชั่วดี ย่อมยังชีวิตตนให้ดีให้เจริญเมื่อได้ปฏิบัติ
* อดีตไม่ควรคิดอาไร แต่ควรใช้เพื่อเป็นครูคอยเตือนมิให้หลงทำผิดช้ำอีก
* ยิ่งให้จิตก็ยิ่งเบา ยิ่งอยากเอาจิตก็ยิ่งหนัก
* จิตที่คิดจะเอากิเลสย่อมจะเผารนจิต
จิตที่คิดแต่จะให้ ย่อมยังจิตให้ชุ่มเย็นเป็นสุข
* รับมาก็มากแล้ว ให้บ้างจะเป็นไรไป
* พ่อแม่มีแต่ให้ แล้วเราล่ะได้ให้อะไรแด่ท่านบ้างหรือยัง
* ความประมาทเป็นพิษ อาจดับชีวิตเราได้

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 30, 31, 32, 33, 34, 35, 36 ... 179  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 7 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron