วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 02:06  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=28



กลับไปยังกระทู้  [ 13 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 10:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


ดิฉันหาดูบทสวดทั้ง 12 หน้าในห้องสวดมนต์แล้ว

ไม่มีบทสวดมนต์ในคัมภีร์มหาปัฏฐาน ดิฉันจึงทำกระทู้ขึ้นมาค่ะ เพราะยังมีผู้ไม่รู้จักบทสวดนี้เยอะมาก

เป็นบทสวดที่เป็นมหา คือยิ่งใหญ่ พระพุทธองค์พิจารณาคัมภีร์มหาปัฏฐานนี้แล้วเกิดฉัพพรรณรังสีค่ะ

การที่นำมาลงไว้ให้คนสนใจได้สวดนั้น เป็นการสืบทอดการสวดคัมภีร์มหาปัฏฐาน
เป็นการรักษาคัมภีร์มหาปัฏฐาน ให้อันตธานช้าลงไป

เพราะคัมภีร์มหาปัฏฐานเป็นคัมภีร์แรกที่จะอันตธานหายไปก่อนลำดับแรกค่ะ

การสวดคัมภีร์มหาปัฏฐาน ก็มีส่วนในการรักษาให้อันตธานช้าลงไปค่ะ

การสวดคัมภีร์มหาปัฏฐาน ก็คือการรักษาคัมภีร์นี้ไว้ด้วยอย่างหนึ่ง

ครั้งใดที่ท่านสวดคัมภีร์นี้ ขอท่านจงทราบเถิดว่าขณะนั้นท่านเป็นผู้หนึ่งที่ช่วยรักษาคัมภีร์นี้ค่ะ

:b42: ฟังสาธยายคัมภีร์มหาปัฏฐาน จากกระทู้คุณ analaya

http://www.analaya.com/index.php?option ... Itemid=105

:b47: :b47: :b47: :b47: :b47:

:b42: พร้อมด้วยบทสวดคัมภีร์มหาปัฏฐาน จากเวปพลังจิตที่ลุงหมานทำกระทู้ไว้ค่ะ

:b8: ขออนุโมทนาสาธุกับทั้งสองท่านที่เผยแผ่คัมภีร์มหาปัฏฐานค่ะ

เพื่อความสะดวกในการสวดคัมภีร์มหาปัฏฐาน ขอรวบรวมทั้งสองกระทู้นี้ไว้ด้วยกันค่ะ

๑. ปจฺจยุทฺเทส


เหตุปจฺจโย... อารมฺมณปจฺจโย... อธิปติปจฺจโย...

อนนฺตรปจฺจโย...สมนนฺตรปจฺจโย...สหชาตปจฺจโย...

อญฺญมญฺญปจฺจโย... นิสฺสยปจฺจโย...อุปนิสฺสยปจฺจโย...

ปุเรชาตปจฺจโย... ปจฺฉาชาตปจฺจโย... อาเสวนปจฺจโย...

กมฺมปจฺจโย... วิปากปจฺจโย... อาหารปจฺจโย...

อินฺทฺริยปจฺจโย...ฌานปจฺจโย... มคฺคปจฺจโย...

สมฺปยุตฺตปจฺจโย... วิปฺปยุตฺตปจฺจโย...อตฺถิปจฺจโย...

นตฺถิปจฺจโย... วิคตปจฺจโย... อวิคตปจฺจโยติ.


ปจฺจยุทฺเทโส... นิฏฐิโยติ

:b49: :b49: :b49:

พระบาลีและคำแปล

เหตุปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นเหตุ
อารมฺมณปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นอารมณ์
อธิปติปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นอธิบดี
อนนฺตรปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความติดต่อกันไม่มีระหว่างคั่น
สมนนฺตรปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความติดต่อกันไม่มีระหว่างคั่นที่เดียว
สหชาตปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเกิดพร้อมกัน
อญฺญมญฺญปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความแก่กันและกัน
นิสฺสยปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นที่อาศัย
อุปนิสฺสยปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นที่อาศัยที่มีกำลังมาก
ปุเรชาตปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเกิดก่อน
ปจฺฉาชาตปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเกิดทีหลัง
อาเสวนปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเสพบ่อยๆ
กมฺมปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความปรุงแต่งเพื่อให้กิจต่างๆสำเร็จลง
วิปากปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นวิบาก คือเข้าถึงความสุกและหมดกำลังลง
อาหารปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นผู้นำ
อินฺทฺริยปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นผู้ปกครอง
ฌานปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นผู้เพ่งอารมณ์
มคฺคปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นหนทาง
สมฺปยุตฺตปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นผู้ประกอบ
วิปฺปยุตฺตปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นผู้ไม่ประกอบ
อตฺถิปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นผู้ยังมีอยู่
นตฺถิปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นผู้ไม่มี
วิคตปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็นผู้ปราศจากไป
อวิคตปจฺจโย ธรรมที่ช่วยอุปการะ โดยความเป็น ผู้ยังไม่ปราศจากไป
__________________

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 10:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


๒. ปจฺจยนิทฺเทส


๑. เหตุปจฺจโยติ

เหตู เหตุสมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฐานานญฺจ รูปานํ เหตุปจฺจเยน ปจฺจโย.

เหตุ ๖ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่สเหตุกจิต ๗๑ เจตสิก ๕๒ ที่ประกอบกับเหตุ ๖ เท่านั้น
( เว้นโมหเจตสิกที่ในโมหมูลจิต ๒) และสเหตุกจิตตชรูป สเหตุกปฏิสนธิกัมมชรูป ที่มีเหตุ ๖ และสเหตุกจิตตุปบาท เป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจเหตุปัจจัย

๒. อารมฺมณปจฺจโยติ

๑. รูปายตนํ จกฺขุวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย.

รูปารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย

๒. สทฺทายตนํ โสตวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย.

สัททารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่โสตวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย

๓. คนฺธายตนํ ฆานวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย.

คันธารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ฆานวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย

๔. รสายตนํ ชิวฺหาวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย.

รสารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ชิวหาวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย

๕. โผฏฺฐพฺพายตนํ กายวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย.

โผฏฐัพพารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กายวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย

๖. รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺฐพฺพายตนํ มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย.

รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ คือ ปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คืออุปการะ แก่มโนธาตุ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับมโนธาตุ (เว้นวิริยะ ปิติ ฉันทะ) ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย

๗. สพฺเพ ธมฺมา มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย.

อารมณ์ ๖ ที่เป็นปัจจุบัน อดีต อนาคต และกาลวิมุต เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ และเจตสิก ๕๒ ที่ประกอบกับมโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย

๘. ยํ ยํ ธมฺมํ อารพฺภ เย เย ธมฺมา อุปฺปชฺชนฺติ จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา เต เต ธมฺมา, เตสํ เตสํ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺเยน ปจฺจโย.

ธรรมทั้งหลายใดๆ คือจิตและเจตสิก ย่อมเกิดขึ้นเพราะอาศัยอารมณ์อันใดอันหนึ่งในบรรดาอารมณ์ ๖ บรรดาอารมณ์ ๖ อันใดอันหนึ่งเหล่านั้นเป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จิตเจตสิกทั้งหลายนั้นๆ ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 10:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


๓. อธิปติปจฺจโยติ

๑. ฉนฺทาธิปติ ฉนฺทาสมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฺฐานานญฺจ รูปานํ อธิปติปจฺจเยน ปจฺจโย.

ฉันทาธิปติ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่สาธิปติชวนะ ๕๒ เจตสิก ๕๐ ที่ประกอบกับฉันทาธิปติ (เว้น โมหมูล หสิตุปปาทะ ฉันทะ วิจิกิจฉา) และสาธิปติจิตตชรูป ที่มีสาธิปติชวนจิตตุปบาท พร้อมด้วย ฉันทาธิปติเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจสหชาตาธิปติปัจจัย

๒. วีริยาธิปติ วีริยาสมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฺฐานานญฺจ รูปานํ อธิปติปจฺจเยน ปจฺจโย.

วิริยาธิปติ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่สาธิปติชวนะ ๕๒ เจตสิก ๕๐ ที่ประกอบกับวิริยาธิปติ (เว้นโมหมูล หสิตุปปาทะ ฉันทะ วิจิกิจฉา) และสาธิปติจิตตชรูป ที่มีสาธิปติชวนจิตตุปบาท พร้อมด้วย วิริยาธิปติเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจสหชาตาธิปติปัจจัย

๓. จิตฺตาธิปติ จิตฺตสมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฺฐานานญฺจ รูปานํ อธิปติปจฺจเยน ปจฺจโย.

จิตตาธิปติ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่เจตสิก ๕๑ ที่ประกอบกับจิตตาธิปติ (เว้น วิจิกิจฉา) และสาธิปติจิตตชรูป ที่มีสาธิปติชวนจิตตุปบาท พร้อมด้วย ฉันทาธิปติเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจสหชาตาธิปติปัจจัย

๔. วีมํสาธิปติ วีมํสสมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฺฐานานญฺจ รูปานํ อธิปติปจฺจเยน ปจฺจโย.

วีมังสาธิปติ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ติเหตุกชวนะ ๓๔ เจตสิก ๓๗ ที่ประกอบกับ วีมังสาธิปติ (เว้นปัญญา) และสาธิปติจิตตชรูป ที่มีติเหตุกชวนจิตตุปบาท พร้อมด้วย วีมังสาธิปติเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจสหชาตาธิปติปัจจัย

๕. ยํ ยํ ธมฺมํ ครุ ํ กตฺวา เย เย ธมฺมา อุปฺปชฺชนฺติ จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา, เต เต ธมฺมา เตสํ เตสํ ธมฺมานํ อธิปติปจฺจเยน ปจฺจโย.

อารัมมณิกธรรมเหล่าใด คือจิตเจตสิกทั้งหลาย กระทำสิ่งใดๆ ให้เป็นอารมณ์ด้วยความฝักใฝ่หนักแน่นแล้วเกิดขึ้น สิ่งทั้งหลายเหล่านั้นๆ เป็นปัจจัย คืออุปการะ แก่อารัมมณิกธรรม คือ จิตเจตสิกทั้งหลายเหล่านั้นๆ ด้วยอำนาจอารัมมณาธิปติปัจัย

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 11:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


๔. อนนฺตรปจฺจโยติ

๑. จกฺขุวิญญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

จักขุวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๒. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๓. โสตวิญญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

โสตวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๔. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๕ . ฆานวิญญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

ฆานวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๖. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๗. ชิวหาวิญญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

ชิวหาวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๘. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๙. กายวิญญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

กายวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๑๐. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๑๑. ปุริมา ปุริมา กุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

โลกียกุศลชวนะ ๑๗ ที่เกิดก่อนๆ (เว้นชวนะดวงสุดท้าย) เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กุศลชวนะ ๒๑ ที่เกิดหลังๆ (เว้นชวนะดวงที่๑) ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๑๒. ปุริมา ปุริมา กุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อพฺยากตานํ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

กุศลชวนะ ๒๑ ดวงสุดท้ายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่อพยากตธรรม คือสันตีรณจิต ๓ มหาวิปากจิต ๘ มหัคคตวิปากจิต ๙ ผลจิต ๔ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๑๓. ปุริมา ปุริมา อกุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อกุศลชวนะ ๑๒ ที่เกิดก่อนๆ(เว้นชวนดวงสุดท้าย) เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่อกุศลชวนะ ๑๒ ที่เกิดหลังๆ (เว้นชวนะดวงที่ ๑) ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๑๔. ปุริมา ปุริมา อกุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อพฺยากตานํ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อกุศลชวนะ ๑๒ ดวงสุดท้ายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่อพยากตธรรม คือสันตีรณจิต ๓ มหาวิปากจิต ๘ มหัคคตวิปากจิต ๙ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๑๕. ปุริมา ปุริมา อพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อพฺยากตานํ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อพยากตธรรม คือ วิปากจิต ๓๖ กิริยาจิต ๒๐ ที่เกิดก่อนๆ (เว้นจุติของพระอรหันต์) เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่อพยากตธรรม คือ วิปากจิต ๓๖ กิริยาจิต ๒๐ พร้อมด้วยจุติของพระอรหันต์ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๑๖. ปุริมา ปุริมา อพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อพยากตธรรม คือโวฏฐัพพนจิต หรือมโนทวาราวัชชนจิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะแก่มหากุศลดวงที่ ๑ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๑๗. ปุริมา ปุริมา อพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อพยากตธรรม คือโวฏฐัพพนจิต หรือมโนทวาราวัชชนจิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะแก่อกุศลชวนะดวงที่ ๑ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

๑๘. เยสํ เยสํ ธมฺมานํ อนนฺตรา เย เย ธมฺมา อุปฺปชฺชนฺติ จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา, เต เต ธมฺมา เตสํ เตสํ ธมฺมานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

ธรรมทั้งหลาย คือ จิตเจตสิก พร้อมด้วยจุติจิตของพระอรหันต์ที่เกิดหลังๆ ใดๆ ย่อมเกิดขึ้นติดต่อกันในลำดับแห่งนามขันธ์ทั้งหลายใดๆ (เว้นจุติจิตของพระอรหันต์)นามขันธ์ทั้งหลาย (เว้นจุติจิตของพระอรหันต์) นั้นๆ เป็นปัจจัย คือ ช่วยอุปการะ แก่จิตเจตสิกพร้อมด้วยจุติจิตของพระอรหันต์ที่เกิดหลังๆ นั้นๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 11:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


๕ . สมนนฺตรปจฺจโยติ

๑. จกฺขุวิญฺญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

จักขุวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๒. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๓. โสตวิญฺญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

โสตวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๔. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๕ . ฆานวิญฺญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

ฆานวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๖. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๗. ชิวหาวิญฺญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

ชิวหาวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๘. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๙. กายวิญฺญาณธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

กายวิญญาณธาตุก็ดี สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุก็ดี เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๑๐. มโนธาตุ ตํสมฺปยุตฺตกา จ ธมฺมา มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ คือสัมปฏิจฉนจิต ๒ ก็ดี อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับสัมปฏิจฉนจิตก็ดี คือ ช่วยอุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ คือสันตีรณจิต ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๑ ที่ประกอบสันตีรณจิต ๓ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๑๑. ปุริมา ปุริมา กุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

โลกียกุศลชวนะ ๑๗ ที่เกิดก่อนๆ (เว้นชวนะดวงสุดท้าย) เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กุศลชวนะ ๒๑ ที่เกิดหลังๆ (เว้นชวนะดวงที่๑) ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๑๒. ปุริมา ปุริมา กุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อพฺพยากตานํ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

กุศลชวนะ ๒๑ ดวงสุดท้ายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่อพยากตธรรม คือสันตีรณจิต ๓ มหาวิปากจิต ๘ มหัคคตวิปากจิต ๙ ผลจิต ๔ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๑๓. ปุริมา ปุริมา อกุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อกุศลชวนะ ๑๒ ที่เกิดก่อนๆ(เว้นชวนดวงสุดท้าย) เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่อกุศลชวนะ ๑๒ ที่เกิดหลังๆ (เว้นชวนะดวงที่ ๑) ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๑๔. ปุริมา ปุริมา อกุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อพฺยากตานํ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อกุศลชวนะ ๑๒ ดวงสุดท้ายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่อพยากตธรรม คือสันตีรณจิต ๓ มหาวิปากจิต ๘ มหัคคตวิปากจิต ๙ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๑๕. ปุริมา ปุริมา อพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อพฺยากตานํ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อพยากตธรรม คือ วิปากจิต ๓๖ กิริยาจิต ๒๐ ที่เกิดก่อนๆ (เว้นจุติของพระอรหันต์) เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่อพยากตธรรม คือ วิปากจิต ๓๖ กิริยาจิต ๒๐ พร้อมด้วยจุติของพระอรหันต์ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๑๖. ปุริมา ปุริมา อพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อพยากตธรรม คือโวฏฐัพพนจิต หรือมโนทวาราวัชชนจิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะแก่มหากุศลดวงที่ ๑ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๑๗. ปุริมา ปุริมา อพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

อพยากตธรรม คือโวฏฐัพพนจิต หรือมโนทวาราวัชชนจิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะแก่อกุศลชวนะดวงที่ ๑ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

๑๘. เยสํ เยสํ ธมฺมานํ สมนนฺตรา เย เย ธมฺมา อุปฺปชฺชนฺติ จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา, เต เต ธมฺมา เตสํ เตสํ ธมฺมานํ สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย.

ธรรมทั้งหลาย คือ จิตเจตสิก พร้อมด้วยจุติจิตของพระอรหันต์ที่เกิดหลังๆ ใดๆ ย่อมเกิดขึ้นติดต่อกันในลำดับแห่งนามขันธ์ทั้งหลายใดๆ (เว้นจุติจิตของพระอรหันต์)นามขันธ์ทั้งหลาย (เว้นจุติจิตของพระอรหันต์) นั้นๆ เป็นปัจจัย คือ ช่วยอุปการะ แก่จิตเจตสิกพร้อมด้วยจุติจิตของพระอรหันต์ที่เกิดหลังๆ นั้นๆ ด้วยอำนาจสมนันตรปัจจัย

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 17:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


๖. สหชาตปจฺจโยติ

๑. จตฺตาโร ขนฺธา อรูปิโน อญฺญมญฺญํ สหชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย

๒. จตฺตาโร มหาภูตา อญฺญมญฺญํ สหชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มหาภูตรูป ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย

๓. โอกฺกนฺติขเณ นามรูปํ อญฺญมญฺญํ สหชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ และหทัยวัตถุในขณะปฏิสนธิกาล ในปัญจโวการภูมิ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย

๔. จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา จิตฺตสมุฏฺฐานานํ รูปานํ สหชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

ธรรมทั้งหลาย คือ จิต ๗๕ เจตสิก ๕๒ (เว้นทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ อรูปวิบากจิต ๔ และจุติจิตของพระอรหันต์) เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่รูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย

๕. มหาภูตา อุปาทารูปานํ สหชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มหาภูตรูป เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่อุปาทายรูป ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย

๖. รูปิโน ธมฺมา อรูปีนํ ธมฺมานํ กิญฺจิ กาเล สหชาตปจฺจเยน ปจฺจโย, กิญฺจิ กาเล น สหชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

ในขณะปฏิสนธิกาล หทัยวัตถุรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ปัญจโวการปฏิสนธินามขันธ์ ๔ ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย
แต่ในปวัตติกาลเป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่นามขันธ์ ๔ ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย

๗. อญฺญมญฺญปจฺจโยติ

๑. จตฺตาโร ขนฺธา อรูปิโน อญฺญมญฺญปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ(อญฺญมญฺญ) ซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจอัญญมัญญปัจจัย

๒. จตฺตาโร มหาภูตา อญฺญมญฺญปจฺจเยน ปจฺจโย.

มหาภูตรูป ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ(อญฺญมญฺญ)ซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจอัญญมัญญปัจจัย

๓. โอกฺกนฺติขเณ นามรูปํ อญฺญมญฺญปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ และหทัยวัตถุในขณะปฏิสนธิกาล ในปัญจโวการภูมิ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ(อญฺญมญฺญ) ซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจอัญญมัญญปัจจัย

๘. นิสฺสยปจฺจโยติ

๑. จตฺตาโร ขนฺธา อรูปิโน อญฺญมญฺญํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตนิสสยปัจจัย

๒. จตฺตาโร มหาภูตา อญฺญมญฺญํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มหาภูตรูป ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตนิสสยปัจจัย

๓. โอกฺกนฺติกฺขเณ นามรูปํ อญฺญมญฺญํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ และหทัยวัตถุในขณะปฏิสนธิกาล ในปัญจโวการภูมิ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตนิสสยปัจจัย

๔. จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา จิตฺตสมุฏฺฐานานํ รูปานํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

ธรรมทั้งหลาย คือ จิต ๗๕ เจตสิก ๕๒ (เว้นทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ อรูปวิบากจิต ๔ และจุติจิตของพระอรหันต์) เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่รูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจสหชาตนิสสยปัจจัย

๕. มหาภูตา อุปาทารูปานํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มหาภูตรูป เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่อุปาทายรูป ด้วยอำนาจสหชาตนิสสยปัจจัย

๖. จกฺขายตนํ จกฺขุวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย

๗. โสตายตนํ โสตวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่โสตวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย

๘. ฆานายตนํ ฆานวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ฆานวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย

๙. ชิวฺหายตนํ ชิวฺหาวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ชิวหาวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย

๑๐. กายายตนํ กายวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กายวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย

๑๑. ยํ รูปํ นิสฺสาย มโนธาตุ จ มโนวิญญาณธาตุ จ วตฺตนฺติ, ตํ รูปํ มโนธาตุยา จ มโนวิญฺญาณธาตุยา จ ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ นิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ ๓ และมโนวิญญาณธาตุ ๗๒ เจตสิก ๕๒ (เว้นอรูปวิปากจิต ๔) อาศัยหทัยวัตถุใดเกิดขึ้น หทัยวัตถุนั้นเป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ ๓ และมโนวิญญาณธาตุ ๗๒ (เว้นอรูปวิปากจิต ๔ ) เจตสิก ๕๒ ที่ประกอบกับมโนธาตุ และมโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย และวัตถารัมณปุเรชาตนิสสยปัจจัย

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


แก้ไขล่าสุดโดย SOAMUSA เมื่อ 08 มี.ค. 2013, 21:16, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 18:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


๙. อุปนิสฺสยปจฺจโยติ

๑. ปุริมา ปุริมา กุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ ธมฺมานํ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ คือ กุศลจิตตุปบาท ๒๐ ที่เกิดก่อนๆ (เว้นอรหันต์มรรค)เป็นปัจจัยคือ ช่วยอุปการะ แก่นามขันธ์ คือ กุศลจิตตุปบาท ๒๑ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย

๒. ปุริมา ปุริมา กุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ เกสญฺจิ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ คือ โลกียกุศลจิตตุปบาท ๑๗ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย ช่วย คืออุปการะ แก่นามขันธ์ คือ อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ บางอย่างที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอารัมมณูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย

๓. ปุริมา ปุริมา กุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อพฺยากตานํ ธมฺมานํ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ คือ กุศลจิตตุปบาท ๒๑ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย คือ ช่วยอุปการะ แก่อพฺพยากตนามขันธ์ คือ วิบาก ๓๖ กิริยา ๒๐ จิตตุปบาทที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย

๔. ปุริมา ปุริมา อกุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ คือ อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย คือ ช่วยอุปการะ แก่นามขันธ์ คือ อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย

๕. ปุริมา ปุริมา อกุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ ธมฺมานํ เกสญฺจิ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ คือ อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย คือ ช่วยอุปการะ แก่นามขันธ์ คือ กุศลจิตตุปบาท ๒๑บางอย่าง ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ ปกตูปนิสสยปัจจัย

๖. ปุริมา ปุริมา อกุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อพฺยากตานํ ธมฺมานํ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ คือ อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย คือ ช่วยอุปการะ แก่อพยากตนามขันธ์ คือ วิบากจิต ๓๖ กิริยาจิต ๒๐ จิตตุปบาท ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย

๗. ปุริมา ปุริมา อพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อพฺยากตานํ ธมฺมานํ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

อพยากตขันธ์ ๕ คือ วิบากจิต ๓๖ กิริยาจิต ๒๐ จิตตุปบาท รูป ๒๘ ที่เกิดก่อนๆ และนิพพาน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่อพยากตนามขันธ์ คือ วิบาก ๓๖ กิริยาจิต ๒๐ จิตตุปบาทที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ อารัมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย

๘. ปุริมา ปุริมา อพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ ธมฺมานํ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

อพยากตขันธ์ ๕ คือ วิบากจิต ๓๕ จิตตุปบาทภายในของตน(เว้นอรหันตผลจิต) หรือวิบาก ๓๖ จิตตุปบาทที่เป็นของคนอื่นกิริยา๒๐ จิตตุปบาท รูป ๒๘ ที่เกิดก่อนๆและนิพพาน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่นามขันธ์ คือ กุศลจิตตุปบาท ๒๑ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ อารัมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย

๙. ปุริมา ปุริมา อพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

อพยากตขันธ์ ๕ คือ โลกียวิบากจิต ๓๒ กิริยาจิต ๒๐ จิตตุปบาท (เว้นวิรตี) รูป ๒๘ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่นามขันธ์ คือ อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ ที่เกิดหลังๆ
ด้วยอำนาจ อารัมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย

๑๐. อุตุโภชนมฺปิ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

อุตุ คือ เย็น ร้อน และโภชนาหารต่างๆ อันเป็นที่สบาย เป็นปัจจัย คืออุปการะ แก่ กาย ใจ คือ รูปขันธ์ กุศลอกุศลนามขันธ์ ด้วยอำนาจ ปกตูปนิสสยปัจจัย

๑๑. ปุคฺคโลปิ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

บุคคล คือ กัลยานิมิต ปาปมิตร บิดา มารดา บุตร ธิดา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ สัทธิวิหาริก และอันเตวาสิก เป็นปัจจัย คืออุปการะ แก่ กาย ใจ คือ กุศลอกุศลนามขันธ์ ด้วยอำนาจ
ปกตูปนิสสยปัจจยุปบัน โดยอภิธัมมนัย หรือกายใจ ปกตูนิสสยปัจจยุปบัน โดย สุตตันตนัย ด้วยอำนาจปกตูปนิสสยปัจจัย

๑๒. เสนาสนมฺปิ อุปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย.

เสนาสนะ คือ วัด บ้าน ที่นอน ที่นั่งก็ดี ป่า ภูเขา ต้นไม้ เครื่องนุ่งห่มก็ดี เป็นปัจจัย คืออุปการะ แก่ กาย ใจ คือ กุศลอกุศลนามขันธ์ ด้วยอำนาจ ปกตูปนิสสยปัจจยุปบัน
โดยอภิธัมมนัย หรือกายใจ ปกตูนิสสยปัจจยุปบัน โดย สุตตันตนัย ด้วยอำนาจปกตูปนิสสยปัจจัย

๑๐. ปุเรชาตปจฺจโยติ

๑. จฺกฺขายตนํ จกฺขุวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตปัจจัย

๒. โสตายตนํ โสตวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่โสตวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตปัจจัย

๓. ฆานายตนํ ฆานวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ฆานวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตปัจจัย

๔. ชิวฺหายตนํ ชิวฺหาวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ชิวหาวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตปัจจัย

๕. กายายตนํ กายวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุยตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กายวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตปัจจัย

๖. รูปายตนํ จกฺขุวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

รูปารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตปัจจัย

๗. สทฺทายตนํ โสตวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

สัททารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่โสตวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตปัจจัย

๘. คนฺธายตนํ ฆานวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

คันธารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ฆานวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตปัจจัย

๙. รสายตนํ ชิวฺหาวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

รสารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ชิวหาวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตปัจจัย

๑๐. โผฏฺฐพฺพายตนํ กายวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

โผฏฐัพพารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กายวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตปัจจัย

๑๑. รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺฐพฺพายตนํ มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ คือ ปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คืออุปการะ แก่มโนธาตุ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับมโนธาตุ (เว้นวิริยะ ปิติ ฉันทะ) ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตปัจจัย

๑๒. ยํ รูปํ นิสฺสาย มโนธาตุ จ มโนวิญฺญาณธาตุ จ วตฺตนฺติ, ตํ รูปํ มโนธาตุยา จ ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มโนธาตุ ๓ และมโนวิญญาณธาตุ ๗๒ เจตสิก ๕๒ (เว้นอรูปวิปากจิต ๔) อาศัยหทัยวัตถุใดเกิดขึ้น หทัยวัตถุนั้นเป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ ๓ อัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับมโนธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตปัจจัย

๑๓. มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ กิญฺจิ กาเล ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย,
กิญฺจิ กาเล น ปุเรชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.


ในปวัตติกาลหทัยวัตถุรูปนี้ เป็นปัจจัย คืออุปการะ แก่มโนวิญญาณธาตุ ๗๒ เจตสิก ๕๒ ที่ประกอบกับมโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตปัจจัย และวัตถารัมมณปุเรชาตปัจจัย
สำหรับในปฏิสนธิกาลนั้น หทัยวัตถุรูปนี้ เป็นปัจจัย คือช่วย อุปการะ แก่ปฏิสนธิวิญญาณ ๑๕ เจตสิก ๓๕ ที่ประกอบกับปฏิสนธิวิญญาณ (เว้นอรูปปฏิสนธิวิญญาณ) ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตปัจจัย และ วัตถารัมมณปุเรชาตปัจจัยไม่ได้

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


แก้ไขล่าสุดโดย SOAMUSA เมื่อ 11 มี.ค. 2013, 16:24, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 18:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


๑๑. ปจฺฉาชาตปจฺจโยติ

๑. ปจฺฉาชาตา จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา ปุเรชาตสฺส อิมสฺส กายสฺส ปจฺฉาชาตปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ ในปัญจโวการภูมิ คือ จิต ๘๕ เจตสิก ๕๒ (เว้นอรูปวิปาก ๔) ที่เกิดขึ้นภายหลัง เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะแก่ เอกชกาย ทวิชกาย ติชกาย จตุชกาย หรืออีกนัยหนึ่ง ได้แก่ เอกสมุฏฐานิกรูป ทวิสมุฏฐานิกรูป ติสมุฏฐานิกรูป จตุสมุฏฐานิกรูป ที่เกิดขึ้นก่อน ด้วยอำนาจปัจฉาชาตปัจจัย

๑๒. อาเสวนปจฺจโยติ

๑. ปุริมา ปุริมา กุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ ธมฺมานํ อาเสวนปจฺจเยน ปจฺจโย.

โลกียกุศลชวนะ ๑๗ ที่เกิดก่อนๆ (เว้นชวนะดวงสุดท้าย) เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กุศลชวนะ ๒๑ ที่เกิดหลังๆ (เว้นชวนะดวงที่๑) ด้วยอำนาจอาเสวนปัจจัย

๒. ปุริมา ปุริมา อกุสลา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ อาเสวนปจฺจเยน ปจฺจโย.

อกุศลชวนะ ๑๒ ที่เกิดก่อนๆ(เว้นชวนดวงสุดท้าย) เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่อกุศลชวนะ ๑๒ ที่เกิดหลังๆ (เว้นชวนะดวงที่ ๑) ด้วยอำนาจอาเสวนปัจจัย

๓. ปุริมา ปุริมา กิริยาพฺยากตา ธมฺมา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กิริยาพฺยากตานํ ธมฺมานํ อาเสวนปจฺจเยน ปจฺจโย.

กิริยาชวนะ ๑๘ ที่เกิดก่อนๆ (เว้นชวนะดวงสุดท้าย) เป็นปัจจัยคือช่วยอุปการะ แก่ กิริยาชวนะ ๑๘ ที่เกิดหลังๆ (เว้นชวนะดวงที่๑) ด้วยอำนาจอาเสวนปัจจัย

๑๓. กมฺมปจฺจโยติ

๑. กุสลากุสลํ กมฺมํ วิปากานํ ขนฺธานํ กฏตฺตา จ รูปานํ กมฺมปจฺจเยน ปจฺจโย.

กุศล อกุศลกรรม คือ กุศล อกุศลนานักขณิกเจตนา เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่วิบากนามขันธ์ ๔
และปฏิสนธิกัมมชรูป ปวัตติกัมมชรูป อสัญญสัตตกัมมชรูป ด้วยอำนาจนานักขณิกกัมมปัจัย

๒. เจตนา สมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฐานานญฺจ รูปานํ กมฺมปจฺจเยน ปจฺจโย.

เจตนาเจตสิก ๘๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จิต ๘๙ เจตสิก ๕๑ ที่ประกอบกับตน และตังสมุฏฐานิกรูป คือ จิตตชรูป ปฏิสนธิกัมมชรูป ด้วยอำนาจสหชาตกัมมปัจจัย

๑๔. วิปากปจฺจโยติ

๑. วิปากา จตฺตาโร ขนฺธา อรูปิโน อญฺญมญฺญํ วิปากปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจวิปากปัจจัย

๑๕. อาหารปจฺจโยติ

๑. กพฬีกาโร อาหาโร อิมสฺส กายสฺส อาหารปจฺจเยน ปจฺจโย.

อาหาที่คล้ายกับปั้นให้เป็นคำๆ หรืออาหารที่กระทำให้เป็นของกินเป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ร่างกายที่มี กรรม จิต อุตุ อาหาร เป็นสมุฏฐานซึ่งตั้งอยู่ในกลาปอันเดียวกัน และตั้งอยู่ในกลาปอื่นๆ ด้วยอำนาจรูปอาหารปัจจัย

๒. อรูปิโน อาหารา สมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฺฐานานญฺจ รูปานํ อาหารปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามอาหาร ๓ คือ ผัสสะ เจตนา วิญญาณ เหล่านี้ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จิต ๘๙ เจตสิก ๕๒ ที่ประกอบ และจิตตชรูป ปฏิสนธิกัมมชรูป ที่มีนามอาหาร ๓ และสัมปยุตตธรรมเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจรูปอาหารปัจจัย

๑๖. อินฺทฺริยปจฺจโยติ

๑. จกฺขุนทฺริยํ จกฺขุวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อินฺทฺริยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขุนทรีย์ คือ จักขุปสาทที่มีอายุเท่ากันกับรูปารมณ์ที่มากระทบ ได้แก่ จักขุปสาทที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือ ฐีติปัตตจักขุนทรีย์ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุและสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบจักขุวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจปุเรชาตินทริยปัจจัย

๒. โสตินฺทฺริยํ โสตวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อินฺทฺริยปจฺจเยน ปจฺจโย

มัชฌิมายุกโสตินทรีย์ คือ โสตปสาทที่มีอายุเท่ากันกับสัททารมณ์ที่มากระทบ ได้แก่ โสตปสาทที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือ ฐีติปัตตจักขุนทรีย์ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุและสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบโสตวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจปุเรชาตินทริยปัจจัย

๓. ฆานินฺทฺริยํ ฆานวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อินฺทฺริยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกฆานินทรีย์ คือ ฆานปสาทที่มีอายุเท่ากันกับคันธารมณ์ที่มากระทบ ได้แก่ ฆานปสาทที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือ ฐีติปัตตจักขุนทรีย์ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ฆานวิญญาณธาตุและสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบฆานวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจปุเรชาตินทริยปัจจัย

๔. ชิวฺหินฺทฺริยํ ชิวฺหาวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อินฺทฺริยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกชิวหาทรีย์ คือ ชิวหาปสาทที่มีอายุเท่ากันกับรสารมณ์ที่มากระทบ ได้แก่ ชิวหาปสาทที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือ ฐีติปัตตจักขุนทรีย์ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ชิวหาวิญญาณธาตุและสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบชิวหาวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจปุเรชาตินทริยปัจจัย

๕. กายินฺทฺริยํ กายวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อินฺทฺริยปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกกายินทรีย์ คือ กายปสาทที่มีอายุเท่ากันกับรูปารมณ์ที่มากระทบ ได้แก่ กายปสาทที่เกิดพร้อมกันกับอตีตภวังค์ดวงแรก หรือ ฐีติปัตตจักขุนทรีย์ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กายวิญญาณธาตุและสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกายวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจปุเรชาตินทริยปัจจัย

๖. รูปชีวิตินฺทฺริยํ กฏตฺตารูปานํ อินฺทฺริยปจฺจเยน ปจฺจโย.

รูปชีวิตินฺทฺริยํ ที่เกิดขึ้นในปวัตติกาล และปฏิสนธิกาล เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กัมมชรูปที่เหลือ ๙ หรือ ๘ ที่อยู่ในกลาปอันเดียวกันกับตน ด้วยอำนาจรูปชีวิตินทริยปัจจัย

๗. อรูปิโน อินฺทฺริยา สมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฺฐานานญฺจ รูปานํ อินฺทฺริยปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามอินทรีย์ ๘ คือ ชีวิตินทรีย์ จิต เวทนา สัททา วิริยะ สติ เอกัคคตา ปัญญา เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จิต ๘๙ เจตสิก ๕๒ ที่ประกอบกับอินทรีย์ ๘ และจิตตรูป ปฏิสนธิกัมมชรูป ซึ่งมีนามอินทรีย์ ๘ และสัมปยุตตธรรมเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจสหชาตินทริยปัจจัย

๑๗. ฌานปจฺจโยติ

๑. ฌานงฺคานิ ฌานสมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฺฐานานญฺจ รูปานํ ฌานปจฺจเยน ปจฺจโย.

องค์ฌาน ๕ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จิต ๗๙ (เว้นทวิปัญจวิญญาณจิต๑๐) เจตสิก ๕๒ ทีประกอบกับองค์ฌาน และจิตตชรูป ปฏิสนธิกัมมชรูป ที่มีองค์ฌาน ๕
และสัมปยุตตธรรมเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจฌานปัจจัย

๑๘. มคฺคปจฺจโยติ

๑. มคฺคงฺคานิ มคฺคสมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ ตํสมุฏฺฐานานญฺจ รูปานํ มคฺคปจฺจเยน ปจฺจโย.

องค์มรรค ๙ ที่ในสเหตุกจิต ๗๑ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่สเหตุกจิต ๗๑ เจตสิก ๕๒ ทีประกอบกับองค์มรรค ๙ และสเหกจิตตชรูป สเหตุกปฏิสนธิกัมมชรูป ที่มีองค์มรรค ๙ และสัมปยุตตธรรมเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจมัคคปัจจัย

๑๙. สมฺปยุตฺตปจฺจโยติ

๑. จตฺตาโร ขนฺธา อรูปิโน อญฺญมญฺญํ สมฺปยุตฺตปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสัมปยุตตปัจจัย

๒๐. วิปฺปยุตฺตปจฺจโยติ

๑. รูปีโน ธมฺมา อรูปีนํ ธมฺมานํ วิปฺปยุตฺตปจฺจเยน ปจฺจโย.

วัตถุรูป ๖ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่วิญญาณธาตุ ๗ เจตสิก ที่ประกอบ (เว้นอรูปวิปาก ๔) ด้วยอำนาจสหชาตวิปปยุตตะ และปัจฉาชาตวิปปยุตตปัจจัย

๒. อรูปีโน ธมฺมา รูปีนํ ธมฺมานํ วิปฺปยุตฺตปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ (เว้นอรูปวิปากจิต ๔) เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จตุสมุฏฐานิกรูป ด้วยอำนาจสหชาตวิปปยุตตะ และปัจฉาชาตวิปปยุตตปัจจัย

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


แก้ไขล่าสุดโดย SOAMUSA เมื่อ 11 มี.ค. 2013, 17:50, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 18:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


๒๑. อตฺถิปจฺจโยติ

๑. จตฺตาโร ขนฺธา อรูปิโน อญฺญมญฺญํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตัตถิปัจจัย

๒.จตฺตาโร มหาภูตา อญฺญมญฺญํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

มหาภูตรูป ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตัตถิปัจจัย

๓. โอกฺกนฺติขเณ นามรูปํ อญฺญมญฺญํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ และหทัยวัตถุในขณะปฏิสนธิกาล ในปัญจโวการภูมิ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตัตถิปัจจัย

๔. จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา จิตฺตสมุฏฺฐานานํ รูปานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

ธรรมทั้งหลาย คือ จิต ๗๕ เจตสิก ๕๒ (เว้นทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ อรูปวิบากจิต ๔ และจุติจิตของพระอรหันต์) เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่รูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจสหชาตัตถิปัจจัย

๕. มหาภูตา อุปาทารูปานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

มหาภูตรูป เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่อุปาทายรูป ด้วยอำนาจสหชาตัตถิปัจจัย

๖. จกฺขายตนํ จกฺขุวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตัตถิปัจจัย

๗. โสตายตนํ โสตวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่โสตวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตัตถิปัจจัย

๘. ฆานายตนํ ฆานวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ฆานวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตัตถิปัจจัย

๙. ชิวฺหายตนํ ชิวฺหาวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ชิวหาวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตัตถิปัจจัย

๑๐. กายายตนํ กายวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กายวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตัตถิปัจจัย

๑๑. รูปายตนํ จกฺขุวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

รูปารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุ และสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตัตถิปัจจัย

๑๒ . สทฺทายตนํ โสตวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

สัททารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่โสตวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตัตถิปัจจัย

๑๓. คนฺธายตนํ ฆานวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

คันธารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ฆานวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตัตถิปัจจัย

๑๔. รสายตนํ ชิวฺหาวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

รสารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ชิวหาวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก
๗ ดวง ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตัตถิปัจจัย

๑๕. โผฏฺฐพฺพายตนํ กายวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

โผฏฐัพพารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กายวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตัตถิปัจจัย

๑๖. รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺฐพฺพายตนํ มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ คือ ปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คืออุปการะ แก่มโนธาตุ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับมโนธาตุ (เว้นวิริยะ ปิติ ฉันทะ) ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตัตถิปัจจัย

๑๗. ยํ รูปํ นิสฺสาย มโนธาตุ จ มโนวิญฺญาณธาตุ จ วตฺตนฺติ, ตํ รูปํ มโนธาตุยา จ
มโนวิญฺญาณธาตุยา จ ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.


มโนธาตุ ๓ และมโนวิญญาณธาตุ ๗๒ เจตสิก ๕๒ (เว้นอรูปวิปากจิต ๔) อาศัยหทัยวัตถุใดเกิดขึ้น หทัยวัตถุนั้นเป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ ๓ และมโนวิญญาณธาตุ ๗๒ (เว้นอรูปวิปากจิต ๔ )เจตสิก ๕๒ ที่ประกอบกับมโนธาตุ และมโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตัตถิ และวัตถารัมมณปุเรชาตัตถิปัจจัย

๒๒. นตฺถิปจฺจโยติ

๑. สมนนฺตรนิรุทฺธา จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา ปฏุปฺปนฺนานํ จิตฺตเจตสิกานํ ธมฺมานํ นตฺถิปจฺจเยน ปจฺจโย.

จิตเจตสิกนามขันธ์ ๔ ทั้งหลาย ที่นอกจากจุติจิตของพระอรหันต์ที่ดับไปแล้ว โดยไม่มีเหลือในลำดับของตนที่เป็นปัจจัย เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ ที่เกิดขึ้นต่อจากตน ด้วยอำนาจนัตถิปัจจัย

๒๓. วิคตปจฺจโยติ

๑. สมนนฺตรวิคตา จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา ปฏุปฺปนฺนานํ จิตฺตเจตสิกานํ ธมฺมานํ วิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.
( ปฏุปฺ .....เวลาสวดนั้นตัว ฏ มี ุ พิมพ์แล้วตัวสระอุมันไม่เห็นค่ะ )

จิตเจตสิกนามขันธ์ ๔ ทั้งหลาย ที่นอกจากจุติจิตของพระอรหันต์ที่ปราศจากไปแล้ว โดยไม่มีเหลือในลำดับของตนที่เป็นปัจจัย เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จิตเจตสิกนามขันธ์ ๔ ทั้งหลาย
ที่นอกจากจุติจิตของพระอรหันต์ที่เกิดขึ้นต่อจากตน ด้วยอำนาจวิคตปัจจัย

๒๔. อวิคตปจฺจโยติ

๑. จตฺตาโร ขนฺธา อรูปิโน อญฺญมญฺญํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตอวิคตปัจจัย

๒. จตฺตาโร มหาภูตา อญฺญมญฺญํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มหาภูตรูป ๔ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตอวิคตถิปัจจัย

๓. โอกฺกนฺติขเณ นามรูปํ อญฺญมญฺญํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

นามขันธ์ ๔ และหทัยวัตถุในขณะปฏิสนธิกาล ในปัญจโวการภูมิ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะซึ่งกันและกัน หรือแก่กันและกัน ด้วยอำนาจสหชาตอวิคตปัจจัย

๔. จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา จิตฺตสมุฏฺฐานานํ รูปานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

ธรรมทั้งหลาย คือ จิต ๗๕ เจตสิก ๕๒ (เว้นทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ อรูปวิบากจิต ๔ และจุติจิตของพระอรหันต์) เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่รูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ด้วยอำนาจสหชาตอวิคตปัจจัย

๕. มหาภูตา อุปาทารูปานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มหาภูตรูป เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่อุปาทายรูป ด้วยอำนาจสหชาตอวิคตปัจจัย

๖. จกฺขายตนํ จกฺขุวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๗. โสตายตนํ โสตวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่โสตวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๘. ฆานายตนํ ฆานวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ฆานวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๙. ชิวฺหายตนํ ชิวฺหาวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ชิวหาวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตวิคตปัจจัย

๑๐. กายายตนํ กายวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

มัชฌิมายุกจักขายตนะ ที่เกิดพร้อมกันกับอดีตภวังค์ดวงแรก หรือฐีติปัตตจักขายตนะ ๔๙ เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กายวิญญาณธาตุและสัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๑๑. รูปายตนํ จกฺขุวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

รูปารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่จักขุวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับจักขุวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๑๒. สทฺทายตนํ โสตวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

สัททารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่โสตวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับโสตวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๑๓. คนฺธายตนํ ฆานวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

คันธารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ฆานวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับฆานวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๑๔. รสายตนํ ชิวฺหาวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

รสารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่ชิวหาวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับชิวหาวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๑๕. โผฏฺฐพฺพายตนํ กายวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

โผฏฐัพพารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่กายวิญญาณธาตุ และสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ที่ประกอบกับกายวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๑๖. รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺฐพฺพายตนํ มโนธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.

รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ คือ ปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย คืออุปการะ แก่มโนธาตุ และอัญญสมานเจตสิก ๑๐ ที่ประกอบกับมโนธาตุ (เว้นวิริยะ ปิติ ฉันทะ) ด้วยอำนาจอารัมมณปุเรชาตอวิคตปัจจัย

๑๗. ยํ รูปํ นิสฺสาย มโนธาตุ จ มโนวิญฺญาณธาตุ จ วตฺตนฺติ, ตํ รูปํ มโนธาตุยา จ
มโนวิญฺญาณธาตุยา ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ อวิคตปจฺจเยน ปจฺจโย.


มโนธาตุ ๓ และมโนวิญญาณธาตุ ๗๒ เจตสิก ๕๒ (เว้นอรูปวิปากจิต ๔) อาศัยหทัยวัตถุใดเกิดขึ้น หทัยวัตถุนั้นเป็นปัจจัย คือช่วยอุปการะ แก่มโนธาตุ ๓ และมโนวิญญาณธาตุ ๗๒ (เว้นอรูปวิปากจิต ๔ ) เจตสิก ๕๒ ที่ประกอบกับมโนธาตุ และมโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจวัตถุปุเรชาตัตถิ และวัตถารัมมณปุเรชาตอวิคตปัจจัย


ปจฺจยนิทฺเทโส นิฏฺฐิโต.


:b44: :b44: :b44:
สหชาตกัมมปัจจัยของข้าพเจ้าในวันนี้ ขอจงเป็นพลวนานักขณิกกัมมปัจจัยด้วยเทอญ สาธุ :b8:

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


แก้ไขล่าสุดโดย SOAMUSA เมื่อ 11 มี.ค. 2013, 17:46, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มี.ค. 2013, 19:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


:b48: ขอเชิญอ่านปัฏฐานในชีวิตประจำวันค่ะ :b48:

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=66&t=41814

มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับการสวดคัมภีร์ปัฏฐานมาให้อ่านค่ะ
นำมาจาก หน้าที่ ๓ เขียนโดย พระคันธสาราภิวงศ์ วัดท่ามะโอ ลำปาง
ในหนังสือที่ระลึกงานสมโภชน์พระสุพรรณบัฏ
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙)
วันที่ ๔-๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

:b44: :b44: :b44:

เมื่อข้าพเจ้าเรียนคัมภีร์ปัฏฐานที่พม่านั้น ท่านอาจารย์ผู้สอนคือ พระนันโทภาสาภิวงศ์
อัครมหาบัณฑิต ได้พูดถึงอานิสงส์ในการป้องกันภยันตรายของคัมภีร์นี้ว่า สมัยก่อนมี
พระพม่าสองรูปเดินทางไปเยี่ยมญาติหลังสอบบาลีเสร็จสิ้นแล้ว น่าจะอยู่ในระหว่าง
เดือนมีนาคมถึงเมษายน แต่ท่านทั้งสองหลงทางอยู่ในป่า เพราะสมัยก่อนต้องเดินทางเท้า
เท่านั้น พอค่ำลงพบป่าใหญ่แ่ห่งหนึ่ง มีชายคนหนึ่งร่างกายสูงใหญ่ ผิวดำคล้ำ หน้าตาอัปลักษณ์
นุ่งห่มผ้าขาวเหมือนชีปะขาว ที่คอห้อยลูกประคำเส้นโต กำลังเกินไปมานับลูกประคำอีกเส้นหนึ่้ง
และท่านทั้งสองได้เห็นกระท่อมหลังหนึ่งไม่่ไกลนัก จึงเอ่ยปากขอพักแรมคืนหนึ่ง ชายร่างใหญ่
ผู้นั้นก็พูดเสียงห้วนๆ เหมือนไม่ค่อยอยากพูดว่า อยากนอนก็นอนเถอะ

พระรูปหนึ่งหลับสนิทพอหัวถึงหมอน แต่อีกรุปหนึ่งสวดมนต์ก่อนนอน พอได้ยินเสียงสวดมนต์
ชายผู้นั้นร้องบอกว่า พอทีอย่าสวด แต่ท่านก็ไม่ยอมหยุด ครั้นสวดไปเรื่อยๆ จนถึงปัฏฐาน
ปัจจยนิเทศที่จัดพิมพ์ในหนังสือเล่มนี้ ก็ได้ยินเสียงร้องด้วยความเจ็บปวด แล้วทุกอย่าง
ก็หายไปหมด ทั้งกระท่อม เตียงนอน ฯลฯ ที่พบมีเพียงป่างิ้วใหญ่เท่านั้น สันนิษฐานว่า
ชายคนนั้นน่าจะเป็นยักษ์ที่จับคนเข้ามาในป่างิ้วกิน แต่ต้องหนีไปด้วยอานุภาพของคัมภีร์ปัฏฐาน
นี้เอง พระทั้งสองรูปเห็นดังนั้นก็ตกใจ รีบหนีออกจากป่างิ้ว พอรุ่งเช้าจึงมาถึงหมู่บ้านของตน
แล้วเล่าเรื่องนี้ให้คนรู้จักฟังจนเรื่องนี้สืบทอดมาถึงปัจจุบัน

:b47: :b47: :b47:

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ย. 2018, 06:43 
 
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 30 ก.ย. 2013, 07:16
โพสต์: 2374

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b39: :b44: ขออนุโมทนา สาธุๆๆ ค่ะ
:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ม.ค. 2021, 08:58 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 เม.ย. 2015, 09:43
โพสต์: 702

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขออนุโมทนาสาธุนะครับ
:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2024, 13:50 
 
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.ย. 2012, 15:32
โพสต์: 2863


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 13 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 8 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร