วันเวลาปัจจุบัน 19 เม.ย. 2024, 18:17  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 19 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2009, 22:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




0012.jpg
0012.jpg [ 52.18 KiB | เปิดดู 4326 ครั้ง ]
นิโรธสมาปัตติญาณ [ญาณในนิโรธสมาบัติ]

นิโรธสมาปัตติญาณ [ญาณในนิโรธสมาบัติ] เป็นปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญ …….

…….ด้วยความเป็นผู้ประกอบด้วยพละ ๒
…….ด้วยความระงับสังขาร ๓
…….ด้วยญาณจริยา ๑๖
…….ด้วยสมาธิจริยา ๙



เจริญในธรรมครับ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2009, 22:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นิโรธสมาปัตติญาณ [ญาณในนิโรธสมาบัติ]

ปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญ ด้วยความเป็นผู้ประกอบ ด้วยพละ ๒ ด้วยความระงับสังขาร ๓ ด้วยญาณจริยา ๑๖ และด้วยสมาธิจริยา ๙ เป็นนิโรธสมาปัตติญาณอย่างไร ?

ด้วยความเป็นผู้ประกอบ ด้วยพละ ๒

พละ ๒ หมายความถึง ……
…….สมถพละ
…….วิปัสนาพละ



สมถพละเป็นไฉน ?
สมถพละ เป็นความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียวไม่ฟุ้งซ่าน
…..ด้วยสามารถแห่งเนกขัมมะ
…..ด้วยสามารถแห่งความไม่พยาบาท
…..ด้วยสามารถแห่งอาโลกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งความไม่ฟุ้งซ่าน
…..ด้วยสามารถแห่งการหายใจออกยาว
…..ด้วยสามารถแห่งการหายใจเข้ายาว
…..ด้วยสามารถแห่งการหายใจออกสั้น
…..ด้วยสามารถแห่งการหายใจเข้าสั้น
…..ด้วยสามารถแห่งความเป็นผู้รู้แจ้งกองลมทั้งปวงหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความ เป็นผู้รู้แจ้งกองลมทั้งปวงหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความระงับกายสังขารหาย ใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความระงับกายสังขารหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งปีติหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งปีติหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งสุขหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งสุขหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งจิตตสังขารหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งจิตตสังขารหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความระงับจิตตสังขารหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความระงับจิตตสังขารหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งจิตหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งจิตหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความทำจิตให้บันเทิงหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความทำจิตให้บันเทิงหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความตั้งจิตไว้หายใจออก
…..ด้วยสามารถ แห่งความตั้งจิตไว้หายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความเปลื้องจิตหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความเปลื้องจิตหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความคลายกำหนัดหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความคลายกำหนัดหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความดับหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความดับหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งการ พิจารณาเห็นความสละคืนหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความสละคืนหายใจเข้า

แต่ละอย่างๆ เป็นสมถพละ




เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2009, 23:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ด้วยความเป็นผู้ประกอบ ด้วยพละ ๒

พละ ๒ หมายความถึง ……
…….สมถพละ
…….วิปัสนาพละ

สมถพละ (ต่อ)

คำว่า สมถพลํ

เพราะอรรถ ชื่อว่าสมถพละ หมายความว่าอย่างไร???

ชื่อว่าสมถพละ เพราะอรรถว่า ………..
……ไม่หวั่นไหวเพราะนิวรณ์ ด้วยปฐมฌาน
……ไม่หวั่นไหวเพราะวิตกวิจาร ด้วยทุติยฌาน
……ไม่หวั่นไหวเพราะปีติ ด้วยตติยฌาน
……ไม่หวั่นไหวเพราะสุขและทุกข์ ด้วยจตุตถฌาน
……ไม่หวั่นไหว เพราะรูปสัญญา ปฏิฆสัญญานานัตตสัญญา ด้วยอากาสานัญจายตนสมาบัติ
……ไม่หวั่นไหวเพราะ อากาสานัญจายตนสัญญา ด้วยวิญญาณัญจายตนสมาบัติ
……ไม่หวั่นไหวเพราะ อากิญจัญญายตนสัญญา ด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ
……ไม่หวั่นไหว ไม่กวัดแกว่งไม่คลอนแคลน…………..
…… เพราะอุทธัจจะ
…… เพราะกิเลสอันสหรคตด้วยอุทธัจจะ
…… เพราะขันธ์



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2009, 23:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญ ด้วยความเป็นผู้ประกอบ ด้วยพละ ๒

พละ ๒ หมายความถึง ……
…….สมถพละ
…….วิปัสนาพละ

*******************************
วิปัสนาพละ

วิปัสนาพละเป็นไฉน
วิปัสนาพละ เป็นความที่จิตพิจารณาเข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ไม่หวั่นไหว

…..อนิจจานุปัสนา
…..ทุกขานุปัสนา
…..อนัตตานุปัสนา
…..นิพพิทานุปัสนา
…..วิราคานุปัสนา
…..นิโรธานุปัสนา
…..ปฏินิสสัคคานุปัสนา



เจริญในธรรมครับ
....มีต่อ...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2009, 23:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกใหม่
สมาชิกใหม่
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ย. 2009, 22:01
โพสต์: 9

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เคยฟังพระเทศน์ว่า พระที่จะเข้านโรธสมาบติได้ต้องไม่มีความโกรธระหว่างที่เข้าฌาน เป็นเวลากี่วันนะจะไม่ได้แล้ว ทราบเพียงว่าพระที่ปฏิบัติดี มีศีล จะสามารถก้าวล่วงเข้าสู่นโรธสมาบัติได้ จริงหรือเปล่า ขอความรู้หน่อยเถอะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 พ.ย. 2009, 22:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


วิปัสนาพละเป็นไฉน
วิปัสนาพละ เป็นความที่จิตพิจารณาเข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ไม่หวั่นไหว



การพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง….
…..ในรูป
…..ในเวทนา
…..ในสัญญา
…..ในสังขาร
…..ในวิญญาณ

การพิจารณาเห็นความสละคืน….
…..ในรูป
…..ในเวทนา
…..ในสัญญา
…..ในสังขาร
…..ในวิญญาณ



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 พ.ย. 2009, 22:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


วิปัสนาพละเป็นไฉน
วิปัสนาพละ เป็นความที่จิตพิจารณาเข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ไม่หวั่นไหว

วิปัสนาพละ (ต่อ)


การพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง
…..ในจักษุ
…..ในโสต
…..ในฆาน
…..ในชิวหา
…..ในกาย
…..ในมโน
…..ในชราและมรณะ


การพิจารณาเห็นความสละคืน
…..ในจักษุ
…..ในโสต
…..ในฆาน
…..ในชิวหา
…..ในกาย
…..ในมโน
…..ในชราและมรณะ



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 พ.ย. 2009, 22:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คำว่า "วิปสฺสนาพลํ" ความว่า

ชื่อว่า "วิปัสนาพละ" เพราะอรรถว่ากระไร ?

.....ชื่อว่าวิปัสนาพละ เพราะอรรถว่า .......

ไม่หวั่นไหวเพราะนิจจสัญญาด้วยอนิจจานุปัสนา
ไม่หวั่นไหวเพราะสุขสัญญา ด้วยทุกขานุปัสนา
ไม่หวั่นไหวเพราะอัตตสัญญา ด้วยอนัตตานุปัสนา
ไม่หวั่นไหวเพราะความเพลิดเพลิน ด้วยนิพพิทานุปัสนา
ไม่หวั่นไหวเพราะความกำหนัด ด้วยวิราคานุปัสนา
ไม่หวั่นไหวเพราะสมุทัย ด้วยนิโรธานุปัสนา
ไม่หวั่นไหวเพราะความถือมั่น ด้วยปฏินิสสัคคานุปัสนา
ไม่หวั่นไหว ไม่กวัดแกว่ง ไม่คลอนแคลน .......
......เพราะอวิชชา
......เพราะกิเลสอันสหรคตด้วยอวิชชา และ
......เพราะขันธ์

นี้ชื่อว่าวิปัสนาพละ



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ธ.ค. 2009, 20:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นิโรธสมาปัตติญาณ เป็นปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญ ด้วยความเป็นผู้ประกอบด้วย
....พละ ๒
.... ความระงับสังขาร ๓
....ญาณจริยา ๑๖
....สมาธิจริยา ๙

****************************
ความระงับสังขาร ๓

การระงับสังขาร ๓ เป็นไฉน ?
การระงับสังขาร ๓ เป็นการระงับใน .........
วิตก วิจาร เป็นวจีสังขารของท่านผู้เข้าทุติยฌานระงับไป
ลมอัสสาสปัสสาสะ เป็นกายสังขารของท่านผู้เข้าจตุตถฌาน ระงับไป
สัญญาและเวทนา เป็นจิตตสังขารของท่านผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ระงับไป


************************************************
อธิบาย / ขยายความ

คฤ : ...........ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็กายสังขารเป็นไฉน วจีสังขารเป็นไฉน จิตตสังขารเป็นไฉน ฯ
กา : ดูกรคฤหบดี
…………..ลมหายใจเข้าและลมหายใจออกแลชื่อว่ากายสังขาร
…………..วิตกวิจารชื่อว่าวจีสังขาร
…………..สัญญาและเวทนาชื่อว่าจิตตสังขาร


สังขาร ๓ หมายถึง สภาพที่ปรุงแต่ง ประกอบด้วย
๑. กายสังขาร เป็น สภาพที่ปรุงแต่งกาย ได้แก่ อัสสาสะ ปัสสาสะ คือ ลมหายใจเข้า ลมหายใจออก
๒. วจีสังขาร เป็น สภาพที่ปรุงแต่งวาจา ได้แก่ วิตกและวิจาร
๓. จิตตสังขาร เป็น สภาพที่ปรุงแต่งใจ ได้แก่ สัญญา และเวทนา

ผู้เข้านิโรธสมาบัติ วจีสังขาร กายสังขาร และจิตตสังขาร จะดับไปตามลำดับ


************************************************

สัญญาเวทยิตนิโรธ เรียกอีกอย่างว่า “นิโรธสมาบัติ” ....
เป็นธรรมในอนุบุพพวิหาร ๙ ซึ่งหมายถึงธรรมเครื่องอยู่ที่ประณีตต่อกันขึ้นไปโดยลำดับ เป็นสมาบัติที่ดับสัญญาและเวทนา



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ธ.ค. 2009, 00:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นิโรธสมาปัตติญาณ เป็นปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญ ด้วยความเป็นผู้ประกอบด้วย
....พละ ๒
.... ความระงับสังขาร ๓
....ญาณจริยา ๑๖
....สมาธิจริยา ๙

****************************

ญาณจริยา ๑๖


คำว่า “ด้วยญาณจริยา ๑๖ “

ความว่า “ด้วยญาณจริยา ๑๖” เป็นไฉน .........???

ญาณจริยาแต่ละอย่าง ๆ มีดังนี้
.....อนิจจานุปัสนา
.....ทุกขานุปัสนา
.....อนัตตานุปัสนา
.....นิพพิทานุปัสนา
.....วิราคานุปัสนา
.....นิโรธานุปัสนา
.....ปฏินิสสัคคานุปัสนา
.....วิวัฏฏนานุปัสนา
.....โสดาปัตติมรรค
.....โสดาปัตติผลสมาบัติ
.....สกทาคามิมรรค
.....สกทาคามิผลสมาบัติ
.....อนาคามิมรรค
.....อนาคามิผลสมาบัติ
.....อรหัตมรรค
.....อรหัตผลสมาบัติ

เป็นญาณจริยาแต่ละอย่าง ๆ ด้วยญาณจริยา ๑๖ นี้ ฯ



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ธ.ค. 2009, 19:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นิโรธสมาปัตติญาณ เป็นปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญ ด้วยความเป็นผู้ประกอบด้วย ..........
....พละ ๒
.... ความระงับสังขาร ๓
....ญาณจริยา ๑๖
....สมาธิจริยา ๙

****************************

สมาธิจริยา ๙

คำว่า ด้วยสมาธิจริยา ๙
ความว่า ด้วยสมาธิจริยา ๙ เป็นไฉน
…..ปฐมฌานสมาบัติ
…..ทุติยฌานสมาบัติ
…..ตติยฌานสมาบัติ
…..จตุตถฌานสมาบัติ
…..อากาสานัญจายตนสมาบัติ
…..วิญญาณัญจายตนสมาบัติ
…..อากิญจัญญายตนสมาบัติ
…..เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ
…..สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ธ.ค. 2009, 19:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สมาธิจริยา ๙ (ต่อ)


…..วิตกวิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้ปฐมฌานสมาบัติ
…..วิตกวิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้ทุติยฌานสมาบัติ
…..วิตกวิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้ตติยฌานสมาบัติ
…..วิตกวิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้จตุตถฌานสมาบัติ
…..วิตกวิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้อากาสานัญจายตนสมาบัติ
…..วิตกวิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้วิญญาณัญจายตนสมาบัติ
…..วิตกวิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้อากิญจัญญายตนสมาบัติ
…..วิตกวิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ
…..วิตกวิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ

…..วิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาจิต เพื่อประโยชน์ แก่การได้ด้วยสมาธิจริยา ๙ นี้ ฯ



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ธ.ค. 2009, 19:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สมาธิจริยา ๙ (ต่อ)

คำว่า วสี …….
ความว่า วสี ๕ ประการ ดังนี้…...

๑. อาวัชชนาวสี
๒. สมาปัชชนาวสี
๓. อธิษฐานวสี
๔. วุฏฐานวสี
๕. ปัจจเวกขณวสี

อาวัชชนาวสี…….

สมาปัตติลาภีบุคคล คำนึงถึง…….
…..ปฐมฌานสมาบัติ
…..ทุติยฌานสมาบัติ
…..ตติยฌานสมาบัติ
…..จตุตถฌานสมาบัติ
…..อากาสานัญจายตนสมาบัติ
…..วิญญาณัญจายตนสมาบัติ
…..อากิญจัญญายตนสมาบัติ
…..เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ
…..สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ

ได้ ณ สถานที่และขณะตามที่ ปรารถนา ไม่มีความเนิ่นช้าในการคำนึงถึง

เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า..”อาวัชชนาวสี”


เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ธ.ค. 2009, 19:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สมาปัชชนาวสี…….

สมาปัตติลาภีบุคคล เข้า…….
…..ปฐมฌานสมาบัติ
…..ทุติยฌานสมาบัติ
…..ตติยฌานสมาบัติ
…..จตุตถฌานสมาบัติ
…..อากาสานัญจายตนสมาบัติ
…..วิญญาณัญจายตนสมาบัติ
…..อากิญจัญญายตนสมาบัติ
…..เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ
…..สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ
ได้ ณ สถานที่และขณะตามที่ ปรารถนา ไม่มีความเนิ่นช้าใน การเข้า
เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า..”สมาปัชชนาวสี”




เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ธ.ค. 2009, 19:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อธิษฐานวสี …….

สมาปัตติลาภีบุคคล อธิษฐาน …….
…..ปฐมฌานสมาบัติ
…..ทุติยฌานสมาบัติ
…..ตติยฌานสมาบัติ
…..จตุตถฌานสมาบัติ
…..อากาสานัญจายตนสมาบัติ
…..วิญญาณัญจายตนสมาบัติ
…..อากิญจัญญายตนสมาบัติ
…..เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ
…..สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ
ได้ ณ สถานที่และขณะตามที่ ปรารถนา ไม่มีความเนิ่นช้าใน การอธิษฐาน
เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า.. “อธิษฐานวสี”



เจริญในธรรมครับ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 19 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 19 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร