วันเวลาปัจจุบัน 25 เม.ย. 2024, 19:35  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 19 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.ค. 2009, 23:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 มิ.ย. 2009, 09:55
โพสต์: 4062

แนวปฏิบัติ: มรณานุสสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: ตรงปลายจมูก

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
มีตัวอย่างโยคีผู้ปฏิบัติจริงๆ แล้วประสบภาวะจริงๆต่อหน้า ดูครับ ->


การฝึกสมาธิ ด้วยการภาวนาคำ หายใจเข้า พุทธ และหายใจออก โธ จนลมละเอียด จนจับลมไม่ได้
พุทธ - โธ ก็หายไป กายก็หายไป ควรทำอย่างไรต่อ
เพราะ มาถึง ขั้นนี้แล้วไม่กล้าทำต่อ ขอความคิดเห็นทุกๆท่านได้โปรดชี้แนะด้วยครับ เพื่อที่จะก้าวหน้าต่อไป
ในช่วงเข้าพรรษานี้

http://larndham.net/index.php?showtopic=35213&st=0

:b53: :b54: :b54: :b53: :b54: :b54: :b53: :b54: :b53: :b53: :b54: :b54: :b53: :b54: :b54:
เคยเสวยความสูขภายหลังจากนี้บ้างหรือไม่ เช่น อาการ สูข สงบ โปร่ง โล่ง เบา สบาย สงัด .... ไม่มีคำเขียน หรือคำพูดใดจะบรรยายได้ ผมเสวยอาการนี้ ๗ วัน หลังจากนั้น ๒ ปี จึงรู้ตัวเองทั้งหมด (เราเป็นใคร มาจากใหน มาเพื่ออะไร มาทำใม แล้วจะไปใหน ไปเมื่อไหร่ ไปอย่างไร ฯลฯ จบปัญหา)

คือว่าอาการต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้รู้ว่าใกล้จะเสวย ผล แล้วหรือยัง แค่เท่านั้น

การนั่งสมาธิเพื่อเพิ่มกำลังฌาน เป็นสิ่งที่เพิ่มความเร็วในการ เสวยผล ได้

ความลับ ในช่วงถอนสมาธิเล็กน้อย อาจมีตัวช่วยมากมาย (เขียนไม่ได้)

ยินดีเสมอ

สิ่งที่ผมได้คือรู้ว่าบุญคุณของพระพุทธเจ้าช่างยิ่งใหญ่สุดที่จะประมาณ ทั่วหล้านี้ไม่มีใครจะยิ่งใหญ่ไปกว่าพระองค์อีกแล้ว


:b44: :b44: :b44: :b44: :b44: :b44: :b44: :b44: :b44: :b44: :b44: :b44: :b44:

โอ๊ย..โอ๊ย...อยากรู้ อยากเห็น....บ้างรูปภาพ

.....................................................
~ นิพพานัง ปัจจโยโหตุ ~


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2009, 17:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 พ.ย. 2008, 12:29
โพสต์: 814

ที่อยู่: กรุงเทพฯ

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
อันนั้นคงเป็นมุตโตทัยใช่ไหมครับ
:b40:
จะว่าอีกก็ถูกอีก :b39: ดูในนี้เพิ่ม
http://thai.mindcyber.com/buddha/why2/1123.php

.....................................................
"มีสติเป็นเรือนจิต ใช้ชีวิตเป็นเรือนใจ ใช้ปัญญาเป็นแสงสว่างส่องทางเดินไปเถิด จะได้ล้ำเลิศในชีวิตของท่าน มีความหมายอย่างแท้จริง"
ในการปฏิบัติธรรม หลวงพ่อท่านบอกว่า ให้ตัดปลิโพธกังวลใจทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น ลูก สามี ภรรยา ความวุ่นวายทั้งหลายทั้งปวง อย่าเอามาเป็นอารมณ์ จากหนังสือ: เจริญกรรมฐาน7วันได้ผลแน่นอน หัวข้อ12: ระงับเวรด้วยการแผ่เมตตา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ค. 2009, 10:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 เม.ย. 2009, 22:00
โพสต์: 406

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


moddam เขียน:

ไม่ใช่คิดเอา หรือเดาเอา หรือคาดคะเนเอาได้

ตั้งสติตามกำหนดจิตจนกว่าจิตนั้นจะหยุด : อันนี้ต้องใช้สติอย่างมากคือฝึกสมาธิมามากพอแล้ว จนจิตนั้นสามารถตามกำหนดสิ่งที่ปรากฏในปัจจุบันนั้น ๆ ได้และเห็นตามเป็นจริงว่ามันเกิดขึ้นแล้วมันก็ดับไปเป็นธรรมดา ซึ่งส่วนใหญ่ที่เห็นจะเป็นความคิดของเรานั่นเองครับ จะเห็นได้ชัดเจนที่สุด เมื่อกำหนดตามอยู่าอย่างนี้ จนถึงสภาวะที่เรียกว่า ความคิดความนึกต่างๆ นั้นมันหยุดลงไปเองโดยธรรมชาติของมัน แต่ต้องไม่ลืมว่า เราต้องมีกำลังสติมากเพียงพอที่ตามดู จนจิตนั้นหยุด ที่จริงแล้วจิตไม่ได้หยุด แต่ความคิดนึกทั้งหลายหยุดลงต่างหาก เกิดสภาวะที่เรียกว่า ว่าง ให้จิตนั้นกำหนดเอาที่ความว่างนั้นเป็นอารมณ์ต่อไป

:b8:


อาการตอนนี้คือ เมือคำบริกรรมหายไป ถ้ามีความคิดก็ดูตามไปจนความคิดหาย ถ้าไม่มีความคิดก็ดูที่ความสุขที่เกิดขึ้นจากอารมณ์กรรมฐานเมตตา แต่พอดูตามความสุขไปความสุขก็หาย เหลือจิตว่างๆ ซักพักก็มีความคิดมากอีก ความสุขมาอีกสลับกันไป สภาวะก็แช่อยู่ประมาณนี้ อาจเป็นเพราะไม่ได้ลงมือทำสมถะจริงจังอย่างเดียว โดยส่วนใหญ่ 90% ของการปฏิบัติจะเจริญสติปัฎฐานสี่เนื่องจากรู้สึกว่าทำให้สติเพิ่มขึ้นได้อย่างรวดเร็ว


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ค. 2009, 20:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2009, 08:46
โพสต์: 405

แนวปฏิบัติ: ดูจิต-อานา
ชื่อเล่น: ขวานผ่าซาก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อายะ เขียน:
moddam เขียน:

ไม่ใช่คิดเอา หรือเดาเอา หรือคาดคะเนเอาได้

ตั้งสติตามกำหนดจิตจนกว่าจิตนั้นจะหยุด : อันนี้ต้องใช้สติอย่างมากคือฝึกสมาธิมามากพอแล้ว จนจิตนั้นสามารถตามกำหนดสิ่งที่ปรากฏในปัจจุบันนั้น ๆ ได้และเห็นตามเป็นจริงว่ามันเกิดขึ้นแล้วมันก็ดับไปเป็นธรรมดา ซึ่งส่วนใหญ่ที่เห็นจะเป็นความคิดของเรานั่นเองครับ จะเห็นได้ชัดเจนที่สุด เมื่อกำหนดตามอยู่าอย่างนี้ จนถึงสภาวะที่เรียกว่า ความคิดความนึกต่างๆ นั้นมันหยุดลงไปเองโดยธรรมชาติของมัน แต่ต้องไม่ลืมว่า เราต้องมีกำลังสติมากเพียงพอที่ตามดู จนจิตนั้นหยุด ที่จริงแล้วจิตไม่ได้หยุด แต่ความคิดนึกทั้งหลายหยุดลงต่างหาก เกิดสภาวะที่เรียกว่า ว่าง ให้จิตนั้นกำหนดเอาที่ความว่างนั้นเป็นอารมณ์ต่อไป

:b8:


อาการตอนนี้คือ เมือคำบริกรรมหายไป ถ้ามีความคิดก็ดูตามไปจนความคิดหาย ถ้าไม่มีความคิดก็ดูที่ความสุขที่เกิดขึ้นจากอารมณ์กรรมฐานเมตตา แต่พอดูตามความสุขไปความสุขก็หาย เหลือจิตว่างๆ ซักพักก็มีความคิดมากอีก ความสุขมาอีกสลับกันไป สภาวะก็แช่อยู่ประมาณนี้ อาจเป็นเพราะไม่ได้ลงมือทำสมถะจริงจังอย่างเดียว โดยส่วนใหญ่ 90% ของการปฏิบัติจะเจริญสติปัฎฐานสี่เนื่องจากรู้สึกว่าทำให้สติเพิ่มขึ้นได้อย่างรวดเร็ว


ยังไม่เรียกว่าสุขหรอกครับ เพราะสุขที่แท้จริงน่ะ มันลึกกว่านั้นต้องเลยจุดนี้ไปก่อน แต่อย่าไม่สนเลยครับ ปฏิบัติต่อไปน่ะดีแล้วครับ ความจริงที่บอกว่า เหลือจิตว่างๆ ซักพักก็มีความคิดมากอีก ความสุขมาอีกสลับกันไป ตรงนี้น่ะถ้าสติพอก็เห็นไตรลักษณ์แล้วครับ เพียงแต่ยังไม่เข้าใจเท่านั้น ต้องกำหนดจิตไว้ที่ใดที่หนึ่งแล้วดู อาการต่าง ๆ ที่ปรากฏ จะเห็นเกิดดับของนามขันธ์

ส่วนใหญ่อย่าไปคิดว่าเราทำวิปัสสนา มันเป็นสมถะซะมากกว่า เพราะแค่การรู้สึกหรือเห็นการเกิดดับนี้ก็เป็นแค่่สมถะเท่านั้น การเห็นไตรลักษณ์ที่แท้จริงนั้นเห็น แป๊บเดียวกับ เร็วกว่าการดีดนิ้วมืออีก ที่เหลือตามมาคือการเห็นโดยสัญญา แต่ก็หล่อเลี้ยงการเห็นด้วยสมาธิอ่อน ๆ ครับ

:b8:

.....................................................
สุ จิ ปุ ลิ...(หัวใจนักปราชญ์)

ปัจจุบันธรรม

โยนิโส มนสิการ
สติ สัมปชัญญะ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 19 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 52 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร