ลานธรรมจักร
http://www.dhammajak.net/forums/

โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=57502
หน้า 1 จากทั้งหมด 2

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 19 เม.ย. 2019, 12:27 ]
หัวข้อกระทู้:  โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

ตอบคำถามที่ว่า :-

๑. เพราะเหตุใด โลกุตตรจิต จึงนับเป็น ๘ ? และเพราะเหตุใด จึงนับเป็น ๔๐
๒. โลกุตตรจิต ที่ไม่จัดเป็นฌานจิต มีหรือไม่ ? อย่างไร ?

– เราเรียกว่า มรรคจิต ๔ เป็นการเรียกตามการเกิดขึ้นนของมรรค เพราะมรรค เกิดได้เพียง ๔ ครั้ง คือ

๑. เกิดขึ้นครั้งแรก เรียกว่า โสดาปัตติมรรค
๒. เกิดขึ้นครั้งที่ ๒ เรียกว่า สกทาคามิมรรค
๓. เกิดขึ้นครั้งที่ ๓ เรียกว่า อนาคามิมรรค
๔. เกิดขึ้นครั้งที่ ๔ เรียกว่า อรหัตตมรรค
(ไม่มีเกิดขึ้นเป็นครั้งที่ ๕.๖.๗…)
เพราะการทำกิจในการประหาณอนุสัยกิเลส ได้สิ้นสุดลงพร้อมกับอรหัตตมรรค เพราะฉะนั้น จึงไม่มีกิเลสต้องให้ละอีก … ดังที่พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า “…อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว, กระทำให้ถึงซึ่งที่สุดทุกข์แล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำให้ยิ่งไปกว่านี้ ไม่มีอีกแล้ว”

ฌาน มี ๒ อย่าง

๑. อารัมมณูปนิชฌาน ฌาน คือการเข้าไปเพ่งอารมณ์สมถกรรมฐาน ๔๐, (สามัญญผลแห่งอารัมมณูปนิชฌาน คือ รูปาวจร/อรูปาวจรกุศล-กิริยา)

๒. ลักขณูปนิชฌาน ฌาน คือการเพ่งลักษณะของรูป-นาม โดย อนิจจลักขณะ,ทุกขลักขณะ,และอนัตตลักขณะ…เป็นบุรพภาคแห่ง มรรคจิต-ผลจิต (สามัญญผลของลักขณูปนิชฌาน ก็คือ มรรค-ผล, นิพพาน) // มรรคจิตที่เกิดขึ้น จึงประกอบด้วยองค์ฌาน คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เวทนา และเอกัคคตา / มรรคจิต-ผลจิต จัดเป็นอัปปนาชวนะ ดังนั้นองค์ฌานคือ เอกัคคตาที่ประกอบ จึงจัดว่าเป็นอัปปนาสมาธิ / (เอกัคคตา เป็นได้ทั้งองค์ฌาน และองค์มรรค)
– หากองค์ฌานทั้ง ๕ เกิดพร้อมกับการบรรลุโสดาปัตติมรรค / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๔ (เว้น วิตก) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ทุติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๓ (เว้น วิตก, วิจาร) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ตติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๒ คือ สุข, เอกัคคตา (เว้น วิตก,วิจาร,ปีติ) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า จตุตถฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๒ คือ อุเบกขา, เอกัคคตา (เว้น วิตก,วิจาร,ปีติ) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ปัญจมฌานโสดาปัตติมรรคจิต
ในมรรคที่เหลือ ก็ทำนองเดียวกัน

* ส่วนในผลจิต ก็มีคติเป็นไปตามมรรคจิต

เพราะฉะนั้น การนับโลกุตตรโดยความเป็นจิต ควรนับเป็น มรรคจิต ๒๐, ผลจิต ๒๐ ตามการเกิดขององค์ฌาน (เหมือนกับการนับรูปวจรกุศล-วิบาก-กิริยา เป็นอย่างละ ๕ ก็เพราะนับด้วยอำนาจขององค์ฌานที่ประกอบ)
การนับโลกุตตรจิตเพียง ๘ คือ มรรคจิต ๔, ผลจิต ๔ เป็นการนับแบบการเกิดขึ้นทำกิจของมรรค ไม่ใช่นับตามการเกิดขึ้นของจิตที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง

แต่โดยภาวะแล้ว
– ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ทุติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ตติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, จตุตถฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ปัญจมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ทั้งหมด ย่อมถึงการนับเป็น ๑ เพราะเกิดได้เพียงครั้งเดียว, ไม่ใช่เกิดครั้งแรกเป็นปฐมฌานโสดาปัตติมรรคแล้ว ครั้งที่สองเป็นทุติยฌานโสดาปัตติมรรค…อย่างนี้ไม่ใช่ / การเกิดเพียงครั้งเดียวในบุคคล คนหนึ่ง ๆ นั้น เป็นการเพ่งถึงกิจของมรรค ที่ทำหน้าที่ประหาณอนุสัยกิเลสเป็นสมุจเฉทปหาณ, ไม่ได้เพ่งถึงการเกิดขึ้นของจิตและธรรมที่ประกอบร่วม ทั้งธรรมที่เป็นองค์มรรค, ธรรมที่เป็นองค์ฌาน, และเจตสิกธรรมอื่น ๆ

* ในสกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค ก็ทำนองเดียวกัน ….ฯ

การนับมรรคจิต เป็น ๒๐, ผลจิตเป็น ๒๐ นั้น ถือว่าถูกต้อง เพราะเวลาเอามรรคจิตผลจิตไปจำแนกโดยอริยสัจจ์ ๔ แล้ว จะต้องมีการบอกด้วยว่า-

องค์มรรค ๘ ที่ใน ปฐมฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค เป็นมรรคสัจจ์, องค์มรรค ๗ (เว้นวิตก) ที่ใน ทุติยฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค…..ปัญจมฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค เป็นมรรคสัจจ์,
หรือแม้จะกล่าวสั้น ๆว่า องค์มรรค ๘ หรือ ๗ (เว้นวิตก) ที่ในมรรคจิต จัดเป็นมรรคสัจจ์ ก็ยังทำให้เห็นว่า มีการนับมรรคจิตตามฌานจิตทั้ง ๕
มรรคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๙ (จิต๑+เจตสิก ๒๘) เป็นสัจจะวิมุตติ (มาถึงตอนนี้ มรรคจิตนับรวมเป็น ๑)

มรรคจิต และผลจิต ที่พ้นจากความเป็นฌานจิต จึงไม่มี

—————–/////——————

ภาคผนวก

ข้อความจาก :- พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม ของท่าน ปอ. ปยุตฺโต (ประยุทธ์ อารยางกูร ปยุตฺโต)

[7] ฌาน 2 (การเพ่ง, การเพ่งพินิจด้วยจิตที่เป็นสมาธิแน่วแน่ – meditation; scrutiny; examination)
1. อารัมมณูปนิชฌาน (การเพ่งอารมณ์ ได้แก่ สมาบัติ 8 คือ รูปฌาน 4 และ อรูปฌาน 4 – object-scrutinizing Jhana)
2. ลักขณูปนิชฌาน (การเพ่งลักษณะ ได้แก่ วิปัสสนา มรรค และผล – characteristic-examining Jhana)

วิปัสสนา ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะพินิจสังขารโดยไตรลักษณ์
มรรค ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะยังกิจแห่งวิปัสสนานั้นให้สำเร็จ
ผล ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะเพ่งนิพพานอันมีลักษณะเป็นสุญญตะ อนิมิตตะ และอัปปณิหิตะ อย่างหนึ่ง และเพราะเห็นลักษณะอันเป็นสัจจภาวะของนิพพาน อย่างหนึ่ง

ฌานที่แบ่งเป็น 2 อย่างนี้ มีมาในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา.

ไฟล์แนป:
loguttra.jpg
loguttra.jpg [ 25.62 KiB | เปิดดู 3739 ครั้ง ]

เจ้าของ:  Love J. [ 19 เม.ย. 2019, 21:44 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 เม.ย. 2019, 00:20 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


ก็ไม่ใช่อยู่ดีๆจะเห็นได้ง่ายๆหรอกค่ะ

แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นอาไร

จะให้เห็นชัด ก็ทำได้จากโลกียะฌาน ทั้งในรูปฌาน และอรูปฌานได้
จาก เอกคัคตาจิตในรูปฌาน กับจาก อรูปฌาน

ขนะที่เมื่อสัญญา ไม่ปรากฎ

ก็จะเห็นได้ชัดเอง ว่าไม่มีสภาพใดๆ ของสัตว์ บุคคล ที่ปรากฎเกิดขึ้นจาก สัญญา

จึงเริ่มเป็นบาทฐานแท้จริง ของสติปัฎฐานค่ะ

tongue

เจ้าของ:  Love J. [ 20 เม.ย. 2019, 04:59 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


ก็ไม่ใช่อยู่ดีๆจะเห็นได้ง่ายๆหรอกค่ะ

แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นอาไร

จะให้เห็นชัด ก็ทำได้จากโลกียะฌาน ทั้งในรูปฌาน และอรูปฌานได้
จาก เอกคัคตาจิตในรูปฌาน กับจาก อรูปฌาน

ขนะที่เมื่อสัญญา ไม่ปรากฎ

ก็จะเห็นได้ชัดเอง ว่าไม่มีสภาพใดๆ ของสัตว์ บุคคล ที่ปรากฎเกิดขึ้นจาก สัญญา

จึงเริ่มเป็นบาทฐานแท้จริง ของสติปัฎฐานค่ะ

tongue


ใช่หรอครับ สัตว์ในรูปพรหมภูมิ อรูปพรหมภูมิ ไม่มีหรอครับ

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 เม.ย. 2019, 11:05 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


ก็ไม่ใช่อยู่ดีๆจะเห็นได้ง่ายๆหรอกค่ะ

แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นอาไร

จะให้เห็นชัด ก็ทำได้จากโลกียะฌาน ทั้งในรูปฌาน และอรูปฌานได้
จาก เอกคัคตาจิตในรูปฌาน กับจาก อรูปฌาน

ขนะที่เมื่อสัญญา ไม่ปรากฎ

ก็จะเห็นได้ชัดเอง ว่าไม่มีสภาพใดๆ ของสัตว์ บุคคล ที่ปรากฎเกิดขึ้นจาก สัญญา

จึงเริ่มเป็นบาทฐานแท้จริง ของสติปัฎฐานค่ะ

tongue


ใช่หรอครับ สัตว์ในรูปพรหมภูมิ อรูปพรหมภูมิ ไม่มีหรอครับ


สภาพสัตว์ บุคคล มีอยู่ทุกภพภูมิแหละค่ะ
ทั้งในสมมุติ และปรมัตถ์ ประกอบกันล้อเกวียน กงเกวียน ส่วนต่างๆรวมเป็น เป็นรถเกวียน

จากเอกคัตตาจิต นั้น สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงจำแนกให้เห็น ได้
คือ จิต ที่เกิดพร้อมเจตสิก เรียกว่า เป็นเอกคัคคาจิต
ที่เห็นเพียงรูปสี

โดยปราศจากสัญญา สังขาร เข้าไปแต่งไปเติม เป็นสัตว์อะไร บุคคลอะไร
ที่หลงอยู่ในสมมุติธรรม
ที่แท้จริง โดยสัมมาทิฎฐิอันเป็นปรมัตถ์นั้น สัตว์นั้น บุคคลนั้น เวียนว่ายตายเกิดจนไม่รู้ว่าเป็นตัวอะไรที่แท้จริงค่ะ

เจ้าของ:  Rosarin [ 20 เม.ย. 2019, 11:51 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


ก็ไม่ใช่อยู่ดีๆจะเห็นได้ง่ายๆหรอกค่ะ

แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นอาไร

จะให้เห็นชัด ก็ทำได้จากโลกียะฌาน ทั้งในรูปฌาน และอรูปฌานได้
จาก เอกคัคตาจิตในรูปฌาน กับจาก อรูปฌาน

ขนะที่เมื่อสัญญา ไม่ปรากฎ

ก็จะเห็นได้ชัดเอง ว่าไม่มีสภาพใดๆ ของสัตว์ บุคคล ที่ปรากฎเกิดขึ้นจาก สัญญา

จึงเริ่มเป็นบาทฐานแท้จริง ของสติปัฎฐานค่ะ

tongue


ใช่หรอครับ สัตว์ในรูปพรหมภูมิ อรูปพรหมภูมิ ไม่มีหรอครับ


สภาพสัตว์ บุคคล มีอยู่ทุกภพภูมิแหละค่ะ
ทั้งในสมมุติ และปรมัตถ์ ประกอบกันล้อเกวียน กงเกวียน ส่วนต่างๆรวมเป็น เป็นรถเกวียน

จากเอกคัตตาจิต นั้น สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงจำแนกให้เห็น ได้
คือ จิต ที่เกิดพร้อมเจตสิก เรียกว่า เป็นเอกคัคคาจิต
ที่เห็นเพียงรูปสี

โดยปราศจากสัญญา สังขาร เข้าไปแต่งไปเติม เป็นสัตว์อะไร บุคคลอะไร
ที่หลงอยู่ในสมมุติธรรม
ที่แท้จริง โดยสัมมาทิฎฐิอันเป็นปรมัตถ์นั้น สัตว์นั้น บุคคลนั้น เวียนว่ายตายเกิดจนไม่รู้ว่าเป็นตัวอะไรที่แท้จริงค่ะ

นี่เธอแค่ความเป็นมนุษย์ปกติที่คิดตามคำสอนได้ตามปกติยังทำไม่ได้
ไม่มีทางถึงนิพพานหรอกจ้ะเพราะปัญญาเกิดจากสัมมาทิฏฐิตามรู้ตรงสัจจะที่กายตัวมี
เนี่ยคิดนอกตัวหมดจำตัวอักษรตีความตามความคิดตนเองตามตัวอักษร555ชาติหน้าเป็นมดจะอ่านออกไหม
คำสอนของพระพุทธเจ้าคิดถูกตัวตนตามได้ตอนกำลังฟังนะคะไม่ใช่ไปนั่งใบ้ไม่ฟังที่คิดเองปัญญามีไม่พอค่ะ
:b32: :b32:
ฟังเหมือนเรียนหนังสืออ่ะค่ะทำตามปกตินั่งฟังลืมตาดูความจริงให้มันเข้าถึงใจคร่า
https://youtu.be/SWK6CMc9S3U
:b12: :b12:

เจ้าของ:  Love J. [ 20 เม.ย. 2019, 12:15 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

ผู้ที่เขารู้จริงเห็นจริงก็มีนะครับ จะกล่าวอะไรก็ให้มีสติ หิริ โอตัปปะ อย่าให้ถูกผู้รู้ท่านตำหนิติเตียน

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 เม.ย. 2019, 17:38 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

Rosarin เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


ก็ไม่ใช่อยู่ดีๆจะเห็นได้ง่ายๆหรอกค่ะ

แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นอาไร

จะให้เห็นชัด ก็ทำได้จากโลกียะฌาน ทั้งในรูปฌาน และอรูปฌานได้
จาก เอกคัคตาจิตในรูปฌาน กับจาก อรูปฌาน

ขนะที่เมื่อสัญญา ไม่ปรากฎ

ก็จะเห็นได้ชัดเอง ว่าไม่มีสภาพใดๆ ของสัตว์ บุคคล ที่ปรากฎเกิดขึ้นจาก สัญญา

จึงเริ่มเป็นบาทฐานแท้จริง ของสติปัฎฐานค่ะ

tongue


ใช่หรอครับ สัตว์ในรูปพรหมภูมิ อรูปพรหมภูมิ ไม่มีหรอครับ


สภาพสัตว์ บุคคล มีอยู่ทุกภพภูมิแหละค่ะ
ทั้งในสมมุติ และปรมัตถ์ ประกอบกันล้อเกวียน กงเกวียน ส่วนต่างๆรวมเป็น เป็นรถเกวียน

จากเอกคัตตาจิต นั้น สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงจำแนกให้เห็น ได้
คือ จิต ที่เกิดพร้อมเจตสิก เรียกว่า เป็นเอกคัคคาจิต
ที่เห็นเพียงรูปสี

โดยปราศจากสัญญา สังขาร เข้าไปแต่งไปเติม เป็นสัตว์อะไร บุคคลอะไร
ที่หลงอยู่ในสมมุติธรรม
ที่แท้จริง โดยสัมมาทิฎฐิอันเป็นปรมัตถ์นั้น สัตว์นั้น บุคคลนั้น เวียนว่ายตายเกิดจนไม่รู้ว่าเป็นตัวอะไรที่แท้จริงค่ะ

นี่เธอแค่ความเป็นมนุษย์ปกติที่คิดตามคำสอนได้ตามปกติยังทำไม่ได้
ไม่มีทางถึงนิพพานหรอกจ้ะเพราะปัญญาเกิดจากสัมมาทิฏฐิตามรู้ตรงสัจจะที่กายตัวมี
เนี่ยคิดนอกตัวหมดจำตัวอักษรตีความตามความคิดตนเองตามตัวอักษร555ชาติหน้าเป็นมดจะอ่านออกไหม
คำสอนของพระพุทธเจ้าคิดถูกตัวตนตามได้ตอนกำลังฟังนะคะไม่ใช่ไปนั่งใบ้ไม่ฟังที่คิดเองปัญญามีไม่พอค่ะ
:b32: :b32:
ฟังเหมือนเรียนหนังสืออ่ะค่ะทำตามปกตินั่งฟังลืมตาดูความจริงให้มันเข้าถึงใจคร่า
https://youtu.be/SWK6CMc9S3U
:b12: :b12:


คริคริ

นี่คือความต่างกันค่ะ

ปกติของคุณยัยโรส และคุณยัยยู๊ทู๊ป เป็นมิจฉาทิฎฐฺิ
เพราะไม่มีมรรคเป็นแก่นสาร เพราะอำนาจแห่งอนันตริยกรรมไม่เสื่อมคลาย ห้ามมรรคผล
เรยไม่มีมรรคปรากฎขึ้นในกมลสันดาน
เรยแสดงแต่ความเลอะเทอะตามปกติของตน



แต่ปกติ ในองค์ฌาน เอกกัคคาเป็นองค์ธรรมสำคัญของสมาธิ เป็นสัมมาทิฎฐิ

เพราะคุณยัยโรส ไร้ความละอายใจ ที่ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ฟังแต่ศาสดายู๊ทู๊ป
และปฎิบัติตามอริยะมรรคไม่เป็น

tongue

เจ้าของ:  Love J. [ 20 เม.ย. 2019, 21:23 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

โลกสวย เขียน:
Rosarin เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


ก็ไม่ใช่อยู่ดีๆจะเห็นได้ง่ายๆหรอกค่ะ

แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นอาไร

จะให้เห็นชัด ก็ทำได้จากโลกียะฌาน ทั้งในรูปฌาน และอรูปฌานได้
จาก เอกคัคตาจิตในรูปฌาน กับจาก อรูปฌาน

ขนะที่เมื่อสัญญา ไม่ปรากฎ

ก็จะเห็นได้ชัดเอง ว่าไม่มีสภาพใดๆ ของสัตว์ บุคคล ที่ปรากฎเกิดขึ้นจาก สัญญา

จึงเริ่มเป็นบาทฐานแท้จริง ของสติปัฎฐานค่ะ

tongue


ใช่หรอครับ สัตว์ในรูปพรหมภูมิ อรูปพรหมภูมิ ไม่มีหรอครับ


สภาพสัตว์ บุคคล มีอยู่ทุกภพภูมิแหละค่ะ
ทั้งในสมมุติ และปรมัตถ์ ประกอบกันล้อเกวียน กงเกวียน ส่วนต่างๆรวมเป็น เป็นรถเกวียน

จากเอกคัตตาจิต นั้น สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงจำแนกให้เห็น ได้
คือ จิต ที่เกิดพร้อมเจตสิก เรียกว่า เป็นเอกคัคคาจิต
ที่เห็นเพียงรูปสี

โดยปราศจากสัญญา สังขาร เข้าไปแต่งไปเติม เป็นสัตว์อะไร บุคคลอะไร
ที่หลงอยู่ในสมมุติธรรม
ที่แท้จริง โดยสัมมาทิฎฐิอันเป็นปรมัตถ์นั้น สัตว์นั้น บุคคลนั้น เวียนว่ายตายเกิดจนไม่รู้ว่าเป็นตัวอะไรที่แท้จริงค่ะ

นี่เธอแค่ความเป็นมนุษย์ปกติที่คิดตามคำสอนได้ตามปกติยังทำไม่ได้
ไม่มีทางถึงนิพพานหรอกจ้ะเพราะปัญญาเกิดจากสัมมาทิฏฐิตามรู้ตรงสัจจะที่กายตัวมี
เนี่ยคิดนอกตัวหมดจำตัวอักษรตีความตามความคิดตนเองตามตัวอักษร555ชาติหน้าเป็นมดจะอ่านออกไหม
คำสอนของพระพุทธเจ้าคิดถูกตัวตนตามได้ตอนกำลังฟังนะคะไม่ใช่ไปนั่งใบ้ไม่ฟังที่คิดเองปัญญามีไม่พอค่ะ
:b32: :b32:
ฟังเหมือนเรียนหนังสืออ่ะค่ะทำตามปกตินั่งฟังลืมตาดูความจริงให้มันเข้าถึงใจคร่า
https://youtu.be/SWK6CMc9S3U
:b12: :b12:


คริคริ

นี่คือความต่างกันค่ะ

ปกติของคุณยัยโรส และคุณยัยยู๊ทู๊ป เป็นมิจฉาทิฎฐฺิ
เพราะไม่มีมรรคเป็นแก่นสาร เพราะอำนาจแห่งอนันตริยกรรมไม่เสื่อมคลาย ห้ามมรรคผล
เรยไม่มีมรรคปรากฎขึ้นในกมลสันดาน
เรยแสดงแต่ความเลอะเทอะตามปกติของตน



แต่ปกติ ในองค์ฌาน เอกกัคคาเป็นองค์ธรรมสำคัญของสมาธิ เป็นสัมมาทิฎฐิ

เพราะคุณยัยโรส ไร้ความละอายใจ ที่ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ฟังแต่ศาสดายู๊ทู๊ป
และปฎิบัติตามอริยะมรรคไม่เป็น

tongue

ทำไมบางคนอัคติกับพระอภิธรรมตำรา
เพราะผู้ศึกษาบางคนหยิบยกพระอภิธรรมมา ดูถูก ดูหมิ่น ดูแคลน คนที่เขาไม่ได้เรียนอย่างอย่างหนึ่ง
เพราะผู้ศึกษาบางคนหยิบยกพระอภิธรรมซึ่งส่วนใหญ่แสดงโดยปรมัตถ์ ซึ่งหลายอย่างมันมันขัดกับโลกมากล่าวอ้างถกเถียงกับโลกอีกอย่างหนึ่ง คนที่เค้ายังไม่ศรัทธาเค้าถึงอัคติกับพระอภิธรรม

ธรรมวาทีไม่เคยขัดกับโลก
เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะความเกิดขึ้นของสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ เพราะความดับของสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับด้วย

อนุโลม ปฏิโลม ปฏิสมุปบาทนั่นทางพ้นทุกข์

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 เม.ย. 2019, 22:10 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Rosarin เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


ก็ไม่ใช่อยู่ดีๆจะเห็นได้ง่ายๆหรอกค่ะ

แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นอาไร

จะให้เห็นชัด ก็ทำได้จากโลกียะฌาน ทั้งในรูปฌาน และอรูปฌานได้
จาก เอกคัคตาจิตในรูปฌาน กับจาก อรูปฌาน

ขนะที่เมื่อสัญญา ไม่ปรากฎ

ก็จะเห็นได้ชัดเอง ว่าไม่มีสภาพใดๆ ของสัตว์ บุคคล ที่ปรากฎเกิดขึ้นจาก สัญญา

จึงเริ่มเป็นบาทฐานแท้จริง ของสติปัฎฐานค่ะ

tongue


ใช่หรอครับ สัตว์ในรูปพรหมภูมิ อรูปพรหมภูมิ ไม่มีหรอครับ


สภาพสัตว์ บุคคล มีอยู่ทุกภพภูมิแหละค่ะ
ทั้งในสมมุติ และปรมัตถ์ ประกอบกันล้อเกวียน กงเกวียน ส่วนต่างๆรวมเป็น เป็นรถเกวียน

จากเอกคัตตาจิต นั้น สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงจำแนกให้เห็น ได้
คือ จิต ที่เกิดพร้อมเจตสิก เรียกว่า เป็นเอกคัคคาจิต
ที่เห็นเพียงรูปสี

โดยปราศจากสัญญา สังขาร เข้าไปแต่งไปเติม เป็นสัตว์อะไร บุคคลอะไร
ที่หลงอยู่ในสมมุติธรรม
ที่แท้จริง โดยสัมมาทิฎฐิอันเป็นปรมัตถ์นั้น สัตว์นั้น บุคคลนั้น เวียนว่ายตายเกิดจนไม่รู้ว่าเป็นตัวอะไรที่แท้จริงค่ะ

นี่เธอแค่ความเป็นมนุษย์ปกติที่คิดตามคำสอนได้ตามปกติยังทำไม่ได้
ไม่มีทางถึงนิพพานหรอกจ้ะเพราะปัญญาเกิดจากสัมมาทิฏฐิตามรู้ตรงสัจจะที่กายตัวมี
เนี่ยคิดนอกตัวหมดจำตัวอักษรตีความตามความคิดตนเองตามตัวอักษร555ชาติหน้าเป็นมดจะอ่านออกไหม
คำสอนของพระพุทธเจ้าคิดถูกตัวตนตามได้ตอนกำลังฟังนะคะไม่ใช่ไปนั่งใบ้ไม่ฟังที่คิดเองปัญญามีไม่พอค่ะ
:b32: :b32:
ฟังเหมือนเรียนหนังสืออ่ะค่ะทำตามปกตินั่งฟังลืมตาดูความจริงให้มันเข้าถึงใจคร่า
https://youtu.be/SWK6CMc9S3U
:b12: :b12:


คริคริ

นี่คือความต่างกันค่ะ

ปกติของคุณยัยโรส และคุณยัยยู๊ทู๊ป เป็นมิจฉาทิฎฐฺิ
เพราะไม่มีมรรคเป็นแก่นสาร เพราะอำนาจแห่งอนันตริยกรรมไม่เสื่อมคลาย ห้ามมรรคผล
เรยไม่มีมรรคปรากฎขึ้นในกมลสันดาน
เรยแสดงแต่ความเลอะเทอะตามปกติของตน



แต่ปกติ ในองค์ฌาน เอกกัคคาเป็นองค์ธรรมสำคัญของสมาธิ เป็นสัมมาทิฎฐิ

เพราะคุณยัยโรส ไร้ความละอายใจ ที่ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ฟังแต่ศาสดายู๊ทู๊ป
และปฎิบัติตามอริยะมรรคไม่เป็น

tongue

ทำไมบางคนอัคติกับพระอภิธรรมตำรา
เพราะผู้ศึกษาบางคนหยิบยกพระอภิธรรมมา ดูถูก ดูหมิ่น ดูแคลน คนที่เขาไม่ได้เรียนอย่างอย่างหนึ่ง
เพราะผู้ศึกษาบางคนหยิบยกพระอภิธรรมซึ่งส่วนใหญ่แสดงโดยปรมัตถ์ ซึ่งหลายอย่างมันมันขัดกับโลกมากล่าวอ้างถกเถียงกับโลกอีกอย่างหนึ่ง คนที่เค้ายังไม่ศรัทธาเค้าถึงอัคติกับพระอภิธรรม

ธรรมวาทีไม่เคยขัดกับโลก
เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะความเกิดขึ้นของสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ เพราะความดับของสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับด้วย

อนุโลม ปฏิโลม ปฏิสมุปบาทนั่นทางพ้นทุกข์


ตอบง่ายๆค่ะ

ในพระอภิธรรม แจง เบื้องต้น
พื้นฐานสำคัญ 3 ประการ

เจตสิก ที่เป็น กุศล อกุศล อัพพยา

คนเหล่านั้น ไม่รู้ว่า การมีอคติต่อพระอภิธรรม เป็นอกุศลจิต เกิดขึ้นแล้ว

และเพราะความไม่เอาไหน ในการศึกษา
ไม่เอาไหน ในการปฎิบัติ

ก็เรยหาทางกลบเกลื่อน อกุศลจิต นั้นไป
โดยเที่ยวหาวาทะ หาธรรมอื่นๆมาแสดงเพื่อ กลบเกลื่อน อกุศลจิตนั้น

นี่แหละ เพราะอกุศลจิตนั้นมี ไงค๊ะ สิ่งนี้จึงมี เรยอคติต่อพระอภิธรรม

tongue

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 20 เม.ย. 2019, 22:11 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

ลุงหมาน เขียน:
ตอบคำถามที่ว่า :-

๑. เพราะเหตุใด โลกุตตรจิต จึงนับเป็น ๘ ? และเพราะเหตุใด จึงนับเป็น ๔๐
๒. โลกุตตรจิต ที่ไม่จัดเป็นฌานจิต มีหรือไม่ ? อย่างไร ?

– เราเรียกว่า มรรคจิต ๔ เป็นการเรียกตามการเกิดขึ้นนของมรรค เพราะมรรค เกิดได้เพียง ๔ ครั้ง คือ

๑. เกิดขึ้นครั้งแรก เรียกว่า โสดาปัตติมรรค
๒. เกิดขึ้นครั้งที่ ๒ เรียกว่า สกทาคามิมรรค
๓. เกิดขึ้นครั้งที่ ๓ เรียกว่า อนาคามิมรรค
๔. เกิดขึ้นครั้งที่ ๔ เรียกว่า อรหัตตมรรค
(ไม่มีเกิดขึ้นเป็นครั้งที่ ๕.๖.๗…)
เพราะการทำกิจในการประหาณอนุสัยกิเลส ได้สิ้นสุดลงพร้อมกับอรหัตตมรรค เพราะฉะนั้น จึงไม่มีกิเลสต้องให้ละอีก … ดังที่พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า “…อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว, กระทำให้ถึงซึ่งที่สุดทุกข์แล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำให้ยิ่งไปกว่านี้ ไม่มีอีกแล้ว”

ฌาน มี ๒ อย่าง

๑. อารัมมณูปนิชฌาน ฌาน คือการเข้าไปเพ่งอารมณ์สมถกรรมฐาน ๔๐, (สามัญญผลแห่งอารัมมณูปนิชฌาน คือ รูปาวจร/อรูปาวจรกุศล-กิริยา)

๒. ลักขณูปนิชฌาน ฌาน คือการเพ่งลักษณะของรูป-นาม โดย อนิจจลักขณะ,ทุกขลักขณะ,และอนัตตลักขณะ…เป็นบุรพภาคแห่ง มรรคจิต-ผลจิต (สามัญญผลของลักขณูปนิชฌาน ก็คือ มรรค-ผล, นิพพาน) // มรรคจิตที่เกิดขึ้น จึงประกอบด้วยองค์ฌาน คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เวทนา และเอกัคคตา / มรรคจิต-ผลจิต จัดเป็นอัปปนาชวนะ ดังนั้นองค์ฌานคือ เอกัคคตาที่ประกอบ จึงจัดว่าเป็นอัปปนาสมาธิ / (เอกัคคตา เป็นได้ทั้งองค์ฌาน และองค์มรรค)
– หากองค์ฌานทั้ง ๕ เกิดพร้อมกับการบรรลุโสดาปัตติมรรค / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๔ (เว้น วิตก) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ทุติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๓ (เว้น วิตก, วิจาร) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ตติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๒ คือ สุข, เอกัคคตา (เว้น วิตก,วิจาร,ปีติ) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า จตุตถฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๒ คือ อุเบกขา, เอกัคคตา (เว้น วิตก,วิจาร,ปีติ) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ปัญจมฌานโสดาปัตติมรรคจิต
ในมรรคที่เหลือ ก็ทำนองเดียวกัน

* ส่วนในผลจิต ก็มีคติเป็นไปตามมรรคจิต

เพราะฉะนั้น การนับโลกุตตรโดยความเป็นจิต ควรนับเป็น มรรคจิต ๒๐, ผลจิต ๒๐ ตามการเกิดขององค์ฌาน (เหมือนกับการนับรูปวจรกุศล-วิบาก-กิริยา เป็นอย่างละ ๕ ก็เพราะนับด้วยอำนาจขององค์ฌานที่ประกอบ)
การนับโลกุตตรจิตเพียง ๘ คือ มรรคจิต ๔, ผลจิต ๔ เป็นการนับแบบการเกิดขึ้นทำกิจของมรรค ไม่ใช่นับตามการเกิดขึ้นของจิตที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง

แต่โดยภาวะแล้ว
– ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ทุติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ตติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, จตุตถฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ปัญจมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ทั้งหมด ย่อมถึงการนับเป็น ๑ เพราะเกิดได้เพียงครั้งเดียว, ไม่ใช่เกิดครั้งแรกเป็นปฐมฌานโสดาปัตติมรรคแล้ว ครั้งที่สองเป็นทุติยฌานโสดาปัตติมรรค…อย่างนี้ไม่ใช่ / การเกิดเพียงครั้งเดียวในบุคคล คนหนึ่ง ๆ นั้น เป็นการเพ่งถึงกิจของมรรค ที่ทำหน้าที่ประหาณอนุสัยกิเลสเป็นสมุจเฉทปหาณ, ไม่ได้เพ่งถึงการเกิดขึ้นของจิตและธรรมที่ประกอบร่วม ทั้งธรรมที่เป็นองค์มรรค, ธรรมที่เป็นองค์ฌาน, และเจตสิกธรรมอื่น ๆ

* ในสกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค ก็ทำนองเดียวกัน ….ฯ

การนับมรรคจิต เป็น ๒๐, ผลจิตเป็น ๒๐ นั้น ถือว่าถูกต้อง เพราะเวลาเอามรรคจิตผลจิตไปจำแนกโดยอริยสัจจ์ ๔ แล้ว จะต้องมีการบอกด้วยว่า-

องค์มรรค ๘ ที่ใน ปฐมฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค เป็นมรรคสัจจ์, องค์มรรค ๗ (เว้นวิตก) ที่ใน ทุติยฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค…..ปัญจมฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค เป็นมรรคสัจจ์,
หรือแม้จะกล่าวสั้น ๆว่า องค์มรรค ๘ หรือ ๗ (เว้นวิตก) ที่ในมรรคจิต จัดเป็นมรรคสัจจ์ ก็ยังทำให้เห็นว่า มีการนับมรรคจิตตามฌานจิตทั้ง ๕
มรรคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๙ (จิต๑+เจตสิก ๒๘) เป็นสัจจะวิมุตติ (มาถึงตอนนี้ มรรคจิตนับรวมเป็น ๑)

มรรคจิต และผลจิต ที่พ้นจากความเป็นฌานจิต จึงไม่มี

—————–/////——————

ภาคผนวก

ข้อความจาก :- พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม ของท่าน ปอ. ปยุตฺโต (ประยุทธ์ อารยางกูร ปยุตฺโต)

[7] ฌาน 2 (การเพ่ง, การเพ่งพินิจด้วยจิตที่เป็นสมาธิแน่วแน่ – meditation; scrutiny; examination)
1. อารัมมณูปนิชฌาน (การเพ่งอารมณ์ ได้แก่ สมาบัติ 8 คือ รูปฌาน 4 และ อรูปฌาน 4 – object-scrutinizing Jhana)
2. ลักขณูปนิชฌาน (การเพ่งลักษณะ ได้แก่ วิปัสสนา มรรค และผล – characteristic-examining Jhana)

วิปัสสนา ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะพินิจสังขารโดยไตรลักษณ์
มรรค ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะยังกิจแห่งวิปัสสนานั้นให้สำเร็จ
ผล ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะเพ่งนิพพานอันมีลักษณะเป็นสุญญตะ อนิมิตตะ และอัปปณิหิตะ อย่างหนึ่ง และเพราะเห็นลักษณะอันเป็นสัจจภาวะของนิพพาน อย่างหนึ่ง

ฌานที่แบ่งเป็น 2 อย่างนี้ มีมาในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา.


:b8: :b8: :b8:

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 เม.ย. 2019, 22:21 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

แค่อากาศ เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
ตอบคำถามที่ว่า :-

๑. เพราะเหตุใด โลกุตตรจิต จึงนับเป็น ๘ ? และเพราะเหตุใด จึงนับเป็น ๔๐
๒. โลกุตตรจิต ที่ไม่จัดเป็นฌานจิต มีหรือไม่ ? อย่างไร ?

– เราเรียกว่า มรรคจิต ๔ เป็นการเรียกตามการเกิดขึ้นนของมรรค เพราะมรรค เกิดได้เพียง ๔ ครั้ง คือ

๑. เกิดขึ้นครั้งแรก เรียกว่า โสดาปัตติมรรค
๒. เกิดขึ้นครั้งที่ ๒ เรียกว่า สกทาคามิมรรค
๓. เกิดขึ้นครั้งที่ ๓ เรียกว่า อนาคามิมรรค
๔. เกิดขึ้นครั้งที่ ๔ เรียกว่า อรหัตตมรรค
(ไม่มีเกิดขึ้นเป็นครั้งที่ ๕.๖.๗…)
เพราะการทำกิจในการประหาณอนุสัยกิเลส ได้สิ้นสุดลงพร้อมกับอรหัตตมรรค เพราะฉะนั้น จึงไม่มีกิเลสต้องให้ละอีก … ดังที่พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า “…อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว, กระทำให้ถึงซึ่งที่สุดทุกข์แล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำให้ยิ่งไปกว่านี้ ไม่มีอีกแล้ว”

ฌาน มี ๒ อย่าง

๑. อารัมมณูปนิชฌาน ฌาน คือการเข้าไปเพ่งอารมณ์สมถกรรมฐาน ๔๐, (สามัญญผลแห่งอารัมมณูปนิชฌาน คือ รูปาวจร/อรูปาวจรกุศล-กิริยา)

๒. ลักขณูปนิชฌาน ฌาน คือการเพ่งลักษณะของรูป-นาม โดย อนิจจลักขณะ,ทุกขลักขณะ,และอนัตตลักขณะ…เป็นบุรพภาคแห่ง มรรคจิต-ผลจิต (สามัญญผลของลักขณูปนิชฌาน ก็คือ มรรค-ผล, นิพพาน) // มรรคจิตที่เกิดขึ้น จึงประกอบด้วยองค์ฌาน คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เวทนา และเอกัคคตา / มรรคจิต-ผลจิต จัดเป็นอัปปนาชวนะ ดังนั้นองค์ฌานคือ เอกัคคตาที่ประกอบ จึงจัดว่าเป็นอัปปนาสมาธิ / (เอกัคคตา เป็นได้ทั้งองค์ฌาน และองค์มรรค)
– หากองค์ฌานทั้ง ๕ เกิดพร้อมกับการบรรลุโสดาปัตติมรรค / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๔ (เว้น วิตก) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ทุติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๓ (เว้น วิตก, วิจาร) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ตติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๒ คือ สุข, เอกัคคตา (เว้น วิตก,วิจาร,ปีติ) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า จตุตถฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๒ คือ อุเบกขา, เอกัคคตา (เว้น วิตก,วิจาร,ปีติ) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ปัญจมฌานโสดาปัตติมรรคจิต
ในมรรคที่เหลือ ก็ทำนองเดียวกัน

* ส่วนในผลจิต ก็มีคติเป็นไปตามมรรคจิต

เพราะฉะนั้น การนับโลกุตตรโดยความเป็นจิต ควรนับเป็น มรรคจิต ๒๐, ผลจิต ๒๐ ตามการเกิดขององค์ฌาน (เหมือนกับการนับรูปวจรกุศล-วิบาก-กิริยา เป็นอย่างละ ๕ ก็เพราะนับด้วยอำนาจขององค์ฌานที่ประกอบ)
การนับโลกุตตรจิตเพียง ๘ คือ มรรคจิต ๔, ผลจิต ๔ เป็นการนับแบบการเกิดขึ้นทำกิจของมรรค ไม่ใช่นับตามการเกิดขึ้นของจิตที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง

แต่โดยภาวะแล้ว
– ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ทุติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ตติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, จตุตถฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ปัญจมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ทั้งหมด ย่อมถึงการนับเป็น ๑ เพราะเกิดได้เพียงครั้งเดียว, ไม่ใช่เกิดครั้งแรกเป็นปฐมฌานโสดาปัตติมรรคแล้ว ครั้งที่สองเป็นทุติยฌานโสดาปัตติมรรค…อย่างนี้ไม่ใช่ / การเกิดเพียงครั้งเดียวในบุคคล คนหนึ่ง ๆ นั้น เป็นการเพ่งถึงกิจของมรรค ที่ทำหน้าที่ประหาณอนุสัยกิเลสเป็นสมุจเฉทปหาณ, ไม่ได้เพ่งถึงการเกิดขึ้นของจิตและธรรมที่ประกอบร่วม ทั้งธรรมที่เป็นองค์มรรค, ธรรมที่เป็นองค์ฌาน, และเจตสิกธรรมอื่น ๆ

* ในสกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค ก็ทำนองเดียวกัน ….ฯ

การนับมรรคจิต เป็น ๒๐, ผลจิตเป็น ๒๐ นั้น ถือว่าถูกต้อง เพราะเวลาเอามรรคจิตผลจิตไปจำแนกโดยอริยสัจจ์ ๔ แล้ว จะต้องมีการบอกด้วยว่า-

องค์มรรค ๘ ที่ใน ปฐมฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค เป็นมรรคสัจจ์, องค์มรรค ๗ (เว้นวิตก) ที่ใน ทุติยฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค…..ปัญจมฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค เป็นมรรคสัจจ์,
หรือแม้จะกล่าวสั้น ๆว่า องค์มรรค ๘ หรือ ๗ (เว้นวิตก) ที่ในมรรคจิต จัดเป็นมรรคสัจจ์ ก็ยังทำให้เห็นว่า มีการนับมรรคจิตตามฌานจิตทั้ง ๕
มรรคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๙ (จิต๑+เจตสิก ๒๘) เป็นสัจจะวิมุตติ (มาถึงตอนนี้ มรรคจิตนับรวมเป็น ๑)

มรรคจิต และผลจิต ที่พ้นจากความเป็นฌานจิต จึงไม่มี

—————–/////——————

ภาคผนวก

ข้อความจาก :- พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม ของท่าน ปอ. ปยุตฺโต (ประยุทธ์ อารยางกูร ปยุตฺโต)

[7] ฌาน 2 (การเพ่ง, การเพ่งพินิจด้วยจิตที่เป็นสมาธิแน่วแน่ – meditation; scrutiny; examination)
1. อารัมมณูปนิชฌาน (การเพ่งอารมณ์ ได้แก่ สมาบัติ 8 คือ รูปฌาน 4 และ อรูปฌาน 4 – object-scrutinizing Jhana)
2. ลักขณูปนิชฌาน (การเพ่งลักษณะ ได้แก่ วิปัสสนา มรรค และผล – characteristic-examining Jhana)

วิปัสสนา ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะพินิจสังขารโดยไตรลักษณ์
มรรค ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะยังกิจแห่งวิปัสสนานั้นให้สำเร็จ
ผล ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะเพ่งนิพพานอันมีลักษณะเป็นสุญญตะ อนิมิตตะ และอัปปณิหิตะ อย่างหนึ่ง และเพราะเห็นลักษณะอันเป็นสัจจภาวะของนิพพาน อย่างหนึ่ง

ฌานที่แบ่งเป็น 2 อย่างนี้ มีมาในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา.


:b8: :b8: :b8:


และจากภาคผนวกนี้
ก็แสดงได้ ลึกลงไป
ถึงในนิวรณ์ 5 และ นิวรณ์ 6

โดยนิวรณ์ 5 นั้นจะเป็นเครื่องกั้นของฌาน เป็นธรรมที่เป็นปฏิปักษ์กับองค์ฌาน

และนิวรณ์ 6 นั้น เป็นอวิชชานิวรณ์เป็นอกุศลเจตสิก โมหะเจตสิก เป็นปฎิปักษ์
ที่กางกั้นการเจริญวิปัสสนาเพื่อการเจริญปัญญาในการ รู้แจ้งสภาพธรรมตามความเป็นจริงค่ะ

smiley

เจ้าของ:  Love J. [ 20 เม.ย. 2019, 22:23 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Rosarin เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


ก็ไม่ใช่อยู่ดีๆจะเห็นได้ง่ายๆหรอกค่ะ

แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นอาไร

จะให้เห็นชัด ก็ทำได้จากโลกียะฌาน ทั้งในรูปฌาน และอรูปฌานได้
จาก เอกคัคตาจิตในรูปฌาน กับจาก อรูปฌาน

ขนะที่เมื่อสัญญา ไม่ปรากฎ

ก็จะเห็นได้ชัดเอง ว่าไม่มีสภาพใดๆ ของสัตว์ บุคคล ที่ปรากฎเกิดขึ้นจาก สัญญา

จึงเริ่มเป็นบาทฐานแท้จริง ของสติปัฎฐานค่ะ

tongue


ใช่หรอครับ สัตว์ในรูปพรหมภูมิ อรูปพรหมภูมิ ไม่มีหรอครับ


สภาพสัตว์ บุคคล มีอยู่ทุกภพภูมิแหละค่ะ
ทั้งในสมมุติ และปรมัตถ์ ประกอบกันล้อเกวียน กงเกวียน ส่วนต่างๆรวมเป็น เป็นรถเกวียน

จากเอกคัตตาจิต นั้น สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงจำแนกให้เห็น ได้
คือ จิต ที่เกิดพร้อมเจตสิก เรียกว่า เป็นเอกคัคคาจิต
ที่เห็นเพียงรูปสี

โดยปราศจากสัญญา สังขาร เข้าไปแต่งไปเติม เป็นสัตว์อะไร บุคคลอะไร
ที่หลงอยู่ในสมมุติธรรม
ที่แท้จริง โดยสัมมาทิฎฐิอันเป็นปรมัตถ์นั้น สัตว์นั้น บุคคลนั้น เวียนว่ายตายเกิดจนไม่รู้ว่าเป็นตัวอะไรที่แท้จริงค่ะ

นี่เธอแค่ความเป็นมนุษย์ปกติที่คิดตามคำสอนได้ตามปกติยังทำไม่ได้
ไม่มีทางถึงนิพพานหรอกจ้ะเพราะปัญญาเกิดจากสัมมาทิฏฐิตามรู้ตรงสัจจะที่กายตัวมี
เนี่ยคิดนอกตัวหมดจำตัวอักษรตีความตามความคิดตนเองตามตัวอักษร555ชาติหน้าเป็นมดจะอ่านออกไหม
คำสอนของพระพุทธเจ้าคิดถูกตัวตนตามได้ตอนกำลังฟังนะคะไม่ใช่ไปนั่งใบ้ไม่ฟังที่คิดเองปัญญามีไม่พอค่ะ
:b32: :b32:
ฟังเหมือนเรียนหนังสืออ่ะค่ะทำตามปกตินั่งฟังลืมตาดูความจริงให้มันเข้าถึงใจคร่า
https://youtu.be/SWK6CMc9S3U
:b12: :b12:


คริคริ

นี่คือความต่างกันค่ะ

ปกติของคุณยัยโรส และคุณยัยยู๊ทู๊ป เป็นมิจฉาทิฎฐฺิ
เพราะไม่มีมรรคเป็นแก่นสาร เพราะอำนาจแห่งอนันตริยกรรมไม่เสื่อมคลาย ห้ามมรรคผล
เรยไม่มีมรรคปรากฎขึ้นในกมลสันดาน
เรยแสดงแต่ความเลอะเทอะตามปกติของตน



แต่ปกติ ในองค์ฌาน เอกกัคคาเป็นองค์ธรรมสำคัญของสมาธิ เป็นสัมมาทิฎฐิ

เพราะคุณยัยโรส ไร้ความละอายใจ ที่ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ฟังแต่ศาสดายู๊ทู๊ป
และปฎิบัติตามอริยะมรรคไม่เป็น

tongue

ทำไมบางคนอัคติกับพระอภิธรรมตำรา
เพราะผู้ศึกษาบางคนหยิบยกพระอภิธรรมมา ดูถูก ดูหมิ่น ดูแคลน คนที่เขาไม่ได้เรียนอย่างอย่างหนึ่ง
เพราะผู้ศึกษาบางคนหยิบยกพระอภิธรรมซึ่งส่วนใหญ่แสดงโดยปรมัตถ์ ซึ่งหลายอย่างมันมันขัดกับโลกมากล่าวอ้างถกเถียงกับโลกอีกอย่างหนึ่ง คนที่เค้ายังไม่ศรัทธาเค้าถึงอัคติกับพระอภิธรรม

ธรรมวาทีไม่เคยขัดกับโลก
เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะความเกิดขึ้นของสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ เพราะความดับของสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับด้วย

อนุโลม ปฏิโลม ปฏิสมุปบาทนั่นทางพ้นทุกข์


ตอบง่ายๆค่ะ

ในพระอภิธรรม แจง เบื้องต้น
พื้นฐานสำคัญ 3 ประการ

เจตสิก ที่เป็น กุศล อกุศล อัพพยา

คนเหล่านั้น ไม่รู้ว่า การมีอคติต่อพระอภิธรรม เป็นอกุศลจิต เกิดขึ้นแล้ว

และเพราะความไม่เอาไหน ในการศึกษา
ไม่เอาไหน ในการปฎิบัติ

ก็เรยหาทางกลบเกลื่อน อกุศลจิต นั้นไป
โดยเที่ยวหาวาทะ หาธรรมอื่นๆมาแสดงเพื่อ กลบเกลื่อน อกุศลจิตนั้น

นี่แหละ เพราะอกุศลจิตนั้นมี ไงค๊ะ สิ่งนี้จึงมี เรยอคติต่อพระอภิธรรม

tongue


เพราะอย่างนั้นแหละครับ จึงควรระมัดระวังใหนการแสดงหยิบยกกล่าวอ้างพระอภิธรรม
เอาลุงหมานเป็นแบบอย่างก็ได้ หากอยากเผยแผ่ให้ผู้อื่นสนใจศึกษาพระอภิธรรม

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 เม.ย. 2019, 22:39 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Rosarin เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


ก็ไม่ใช่อยู่ดีๆจะเห็นได้ง่ายๆหรอกค่ะ

แต่ก็ไม่ได้ยากเย็นอาไร

จะให้เห็นชัด ก็ทำได้จากโลกียะฌาน ทั้งในรูปฌาน และอรูปฌานได้
จาก เอกคัคตาจิตในรูปฌาน กับจาก อรูปฌาน

ขนะที่เมื่อสัญญา ไม่ปรากฎ

ก็จะเห็นได้ชัดเอง ว่าไม่มีสภาพใดๆ ของสัตว์ บุคคล ที่ปรากฎเกิดขึ้นจาก สัญญา

จึงเริ่มเป็นบาทฐานแท้จริง ของสติปัฎฐานค่ะ

tongue


ใช่หรอครับ สัตว์ในรูปพรหมภูมิ อรูปพรหมภูมิ ไม่มีหรอครับ


สภาพสัตว์ บุคคล มีอยู่ทุกภพภูมิแหละค่ะ
ทั้งในสมมุติ และปรมัตถ์ ประกอบกันล้อเกวียน กงเกวียน ส่วนต่างๆรวมเป็น เป็นรถเกวียน

จากเอกคัตตาจิต นั้น สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงจำแนกให้เห็น ได้
คือ จิต ที่เกิดพร้อมเจตสิก เรียกว่า เป็นเอกคัคคาจิต
ที่เห็นเพียงรูปสี

โดยปราศจากสัญญา สังขาร เข้าไปแต่งไปเติม เป็นสัตว์อะไร บุคคลอะไร
ที่หลงอยู่ในสมมุติธรรม
ที่แท้จริง โดยสัมมาทิฎฐิอันเป็นปรมัตถ์นั้น สัตว์นั้น บุคคลนั้น เวียนว่ายตายเกิดจนไม่รู้ว่าเป็นตัวอะไรที่แท้จริงค่ะ

นี่เธอแค่ความเป็นมนุษย์ปกติที่คิดตามคำสอนได้ตามปกติยังทำไม่ได้
ไม่มีทางถึงนิพพานหรอกจ้ะเพราะปัญญาเกิดจากสัมมาทิฏฐิตามรู้ตรงสัจจะที่กายตัวมี
เนี่ยคิดนอกตัวหมดจำตัวอักษรตีความตามความคิดตนเองตามตัวอักษร555ชาติหน้าเป็นมดจะอ่านออกไหม
คำสอนของพระพุทธเจ้าคิดถูกตัวตนตามได้ตอนกำลังฟังนะคะไม่ใช่ไปนั่งใบ้ไม่ฟังที่คิดเองปัญญามีไม่พอค่ะ
:b32: :b32:
ฟังเหมือนเรียนหนังสืออ่ะค่ะทำตามปกตินั่งฟังลืมตาดูความจริงให้มันเข้าถึงใจคร่า
https://youtu.be/SWK6CMc9S3U
:b12: :b12:


คริคริ

นี่คือความต่างกันค่ะ

ปกติของคุณยัยโรส และคุณยัยยู๊ทู๊ป เป็นมิจฉาทิฎฐฺิ
เพราะไม่มีมรรคเป็นแก่นสาร เพราะอำนาจแห่งอนันตริยกรรมไม่เสื่อมคลาย ห้ามมรรคผล
เรยไม่มีมรรคปรากฎขึ้นในกมลสันดาน
เรยแสดงแต่ความเลอะเทอะตามปกติของตน



แต่ปกติ ในองค์ฌาน เอกกัคคาเป็นองค์ธรรมสำคัญของสมาธิ เป็นสัมมาทิฎฐิ

เพราะคุณยัยโรส ไร้ความละอายใจ ที่ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ฟังแต่ศาสดายู๊ทู๊ป
และปฎิบัติตามอริยะมรรคไม่เป็น

tongue

ทำไมบางคนอัคติกับพระอภิธรรมตำรา
เพราะผู้ศึกษาบางคนหยิบยกพระอภิธรรมมา ดูถูก ดูหมิ่น ดูแคลน คนที่เขาไม่ได้เรียนอย่างอย่างหนึ่ง
เพราะผู้ศึกษาบางคนหยิบยกพระอภิธรรมซึ่งส่วนใหญ่แสดงโดยปรมัตถ์ ซึ่งหลายอย่างมันมันขัดกับโลกมากล่าวอ้างถกเถียงกับโลกอีกอย่างหนึ่ง คนที่เค้ายังไม่ศรัทธาเค้าถึงอัคติกับพระอภิธรรม

ธรรมวาทีไม่เคยขัดกับโลก
เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะความเกิดขึ้นของสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ เพราะความดับของสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับด้วย

อนุโลม ปฏิโลม ปฏิสมุปบาทนั่นทางพ้นทุกข์


ตอบง่ายๆค่ะ

ในพระอภิธรรม แจง เบื้องต้น
พื้นฐานสำคัญ 3 ประการ

เจตสิก ที่เป็น กุศล อกุศล อัพพยา

คนเหล่านั้น ไม่รู้ว่า การมีอคติต่อพระอภิธรรม เป็นอกุศลจิต เกิดขึ้นแล้ว

และเพราะความไม่เอาไหน ในการศึกษา
ไม่เอาไหน ในการปฎิบัติ

ก็เรยหาทางกลบเกลื่อน อกุศลจิต นั้นไป
โดยเที่ยวหาวาทะ หาธรรมอื่นๆมาแสดงเพื่อ กลบเกลื่อน อกุศลจิตนั้น

นี่แหละ เพราะอกุศลจิตนั้นมี ไงค๊ะ สิ่งนี้จึงมี เรยอคติต่อพระอภิธรรม

tongue


เพราะอย่างนั้นแหละครับ จึงควรระมัดระวังใหนการแสดงหยิบยกกล่าวอ้างพระอภิธรรม
เอาลุงหมานเป็นแบบอย่างก็ได้ หากอยากเผยแผ่ให้ผู้อื่นสนใจศึกษาพระอภิธรรม


ป่าว เมไม่ได้จะไปก๊อบมาเผยแพ่ แบบคุณลุงหมาน


แต่ชี้แนะให้เห็นอกุศลจิต แท้ๆ
โดยเฉพาะกับผู้ที่ตั้งใจปฎิบัติธรรม

ที่เมื่ออกุศลจิตเกิด อคติเกิด และคนโดยมาก เที่ยวแสวงหาธรรมมากลบเกลื่อน อกุศลจิต อคติของตนเอง

กลบไปแล้ว เรยไม่เห็น

ต่อเมื่อรู้วันใด

ก็จะได้ไม่เที่ยวไปสรรหาธรรมอื่นๆ มากลบเกลื่อน มาย้อมใจ แบบคุณเจ้ไงคะ

tongue

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 20 เม.ย. 2019, 22:46 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: โลกุตตรจิต นับเป็น ๘ บ้าง นับเป็น ๔๐ บ้าง เพราะเหตุใด ?

Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


:b8: :b8: :b8:

ผมก็ดู อ่าน แค่เพื่อรู้เท่านั้น แต่ไม่เอามาใคร่ครวญเป็นที่ตั้งของจิต

การเข้าไปเห็นโดยบังคับ ท่องจำ ซ้ำๆ มันเป็นการสะกดจิตตนเอง ซึ่งต่างจากการเข้าไปรู้เห็นตามจริง แต่มันเป็นการสะกดจิตตนให้ใคร่ครวญเห็นอย่างนั้น ดังนั้นแค่รู้แล้วก็ปล่อยผ่านไปครับท่านเจ

การปฏิบัติที่จะเข้าไปเห็นได้นั้น มันอยู่ที่การสะสมเหตุ การสะสมเหตุนั้นเป็นการทำทั้งอิทธิบาท ๔ และอบรมจิต โดยส่วนตัวผมแล้วการอบรมจิตของผม..จะทำตามที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า..พระโมคคัลลานะอบรมอิทธิบาท ๔ อย่างไรจึงมีฤทธิ์มาก อิทธิ คือ ฤทธิ์ แต่ในอีกความหมายหนึ่งคือฤทธิ์ในความสำเร็จ สำเร็จคือเข้าถึง ทำกิจเสร็จสิ้น เพราะอิทธิบาท ๔ บทนี้ จะรวมครบกรรมฐานและมหาสติ เมื่อมันแก่กล้า เต็มกำลัง จะเรียกว่าอินทรีย์แก่กล้าด้วยประการดังนั้นก็ได้ ทำให้จิตมีกำลัง ไม่ต้องไปบังคับ ไม่ต้องไปสะกดจิต เมื่อมันเต็มจิตมันเดินเอง หากเราปฏิบัติสะสมให้ดีแล้ว

- จิตจะไม่ข้องแวะสิ่งใดๆง่าย
- เจตนาจะเป็นศีลอัตโนมัติ
- จิตจะตั้งมั่นมีกำลังรู้ สมมติน้อย ไม่คิดฟุ้งซ่าน คือ จิตมันทำแค่รู้มากกว่าจะรู้แล้วเสพย์ความสืบต่อ

- ที่สำคัญขณะใดก็ตามที่เข้าสมาธิก็ดี หรือขณะที่ทำกิจใดๆแล้วเกิดจิตแล่นไปก็ดี ขณะที่จิตมันใครครวญ คือ โยนิโส อย่าไปบังคับจิตให้จดจำ หรือพยายามจดจำ พยายามให้มันทำอย่างไร ให้ปล่อยมันแล้ว เพราะขณะที่เกิดสภาวะที่จิตมันทำกาใคร่ครวญ ขณะนั้น ความพิจารณาของมันเกิดขึ้นอยู่ ตัวรู้ที่รู้การกระทำของมันก็เกิดขึ้นรู้การกระทำนั้นอีกครั้งหนึ่ง เหมือนจะแยกกันก็ไม่ใช้ จะเป็นอันเดียวกันก็ไม่ใช่ จำไว้ว่าอย่าไปบังคับจิตเด็ดขาด หรืออย่าไปพยายามจะจำจะบังคับมันเด็ดขาด ไม่อย่างนั้นจิตจะหลุดออกมาทันที การจะเข้าไปใหม่ในสภาวะนั้นของคนที่เดินจิตไม่คล่องหรือจับพลัดจัะบผลูเข้าไปได้ เป็นเรื่องยากมากที่เข้าไปได้อีก ปล่อยมันไปให้มันเป็นไปของมัน ก็จะได้รู้ของมันเอง โดยเมื่อกายใจเราถึงความบริสุทธิ์ มันจะเกิดของมันเอง สภาวะที่เข้าสู่มหาสติ

- แต่ผมไม่เร่งนะ เพราะของเก่าผมไม่มีพอไปไวไปแบบสุกขวิปัสสกซึ่งไม่ใช่แนวทางที่ผมตั้งอธิษฐานจิตไว้ครับ :b1: :b1:

หน้า 1 จากทั้งหมด 2 เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group
http://www.phpbb.com/