วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 20:06  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 18 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2019, 22:56 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


:b8: :b8: :b8:

ผมก็ดู อ่าน แค่เพื่อรู้เท่านั้น แต่ไม่เอามาใคร่ครวญเป็นที่ตั้งของจิต

การเข้าไปเห็นโดยบังคับ ท่องจำ ซ้ำๆ มันเป็นการสะกดจิตตนเอง ซึ่งต่างจากการเข้าไปรู้เห็นตามจริง แต่มันเป็นการสะกดจิตตนให้ใคร่ครวญเห็นอย่างนั้น ดังนั้นแค่รู้แล้วก็ปล่อยผ่านไปครับท่านเจ

การปฏิบัติที่จะเข้าไปเห็นได้นั้น มันอยู่ที่การสะสมเหตุ การสะสมเหตุนั้นเป็นการทำทั้งอิทธิบาท ๔ และอบรมจิต โดยส่วนตัวผมแล้วการอบรมจิตของผม..จะทำตามที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า..พระโมคคัลลานะอบรมอิทธิบาท ๔ อย่างไรจึงมีฤทธิ์มาก อิทธิ คือ ฤทธิ์ แต่ในอีกความหมายหนึ่งคือฤทธิ์ในความสำเร็จ สำเร็จคือเข้าถึง ทำกิจเสร็จสิ้น พราะอิทธิบาท ๔ นี้รวมครบกรรมฐานและมหาสติ เมื่อมันแก่กล้า เต็มกำลัง จะเรียกว่าอินทรีย์แก่กล้าด้วยประการดังนั้นก็ได้ ทำให้จิตมีกำลัง ไม่ต้องไปบังคับ ไม่ต้องไปสะกดจิต เมื่อมันเต็มจิตมันเดินเอง หากเราปฏิบัติสะสมให้ดีแล้ว

- จิตจะไม่ข้องแวะสิ่งใดๆง่าย
- เจตนาจะเป็นศีลอัตโนมัติ
- จิตจะตั้งมั่นมีกำลังรู้ สมมติน้อย ไม่คิดฟุ้งซ่าน คือ จิตมันทำแค่รู้มากกว่าจะรู้แล้วเสพย์ความสืบต่อ

- ที่สำคัญขณะใดก็ตามที่เข้าสมาธิก็ดี หรือขณะที่ทำกิจใดๆแล้วเกิดจิตแล่นไปก็ดี ขณะที่จิตมันใครครวญ คือ โยนิโส อย่าไปบังคับจิตให้จดจำ หรือพยายามจดจำ พยายามให้มันทำอย่างไร ให้ปล่อยมันแล้ว เพราะขณะที่เกิดสภาวะที่จิตมันทำกาใคร่ครวญ ขณะนั้น ความพิจารณาของมันเกิดขึ้นอยู่ ตัวรู้ที่รู้การกระทำของมันก็เกิดขึ้นรู้การกระทำนั้นอีกครั้งหนึ่ง เหมือนจะแยกกันก็ไม่ใช้ จะเป็นอันเดียวกันก็ไม่ใช่ จำไว้ว่าอย่าไปบังคับจิตเด็ดขาด หรืออย่าไปพยายามจะจำจะบังคับมันเด็ดขาด ไม่อย่างนั้นจิตจะหลุดออกมาทันที การจะเข้าไปใหม่ในสภาวะนั้นของคนที่เดินจิตไม่คล่องหรือจับพลัดจัะบผลูเข้าไปได้ เป็นเรื่องยากมากที่เข้าไปได้อีก ปล่อยมันไปให้มันเป็นไปของมัน ก็จะได้รู้ของมันเอง โดยเมื่อกายใจเราถึงความบริสุทธิ์ มันจะเกิดของมันเอง สภาวะที่เข้าสู่มหาสติ

- แต่ผมไม่เร่งนะ เพราะของเก่าผมไม่มีพอไปไวไปแบบสุกขวิปัสสกซึ่งไม่ใช่แนวทางที่ผมตั้งอธิษฐานจิตไว้ครับ :b1: :b1:


ค่อนข้างเห็นด้วยตามนั้นครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2019, 22:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
การเข้าไปเห็นรูปนามขันธ์ ๕ โดยปรมัตถ์ ว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เห็นความเป็นทุกข์ว่าไ่มใช่ตัวใช่ตน เห็นแล้วดับกิเลสแล้วพ้นส่วนนั้นไปแล้ว มันก็ไม่กลับไปพิจารณาสิ่งที่เห็นแจ้งแล้วอีก มีแต่สัญญาในใจให้นึกถืงใคร่ครวญถึงสิ่งที่เคยได้รู้ได้เห็นนั้น เพื่ออบรมใจ เพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

อยู่ดี ๆ จะให้เห็นปรมัตถ์ มีแต่จิต เจตสิก รูป นิพพาน ค้นหาสัตว์ บุคคล ไม่ได้ อย่างกับว่าจะเห็นอย่างนั้นเมื่อไหร่ก็ได้ ผมไม่เข้าใจทำยังไง


:b8: :b8: :b8:

ผมก็ดู อ่าน แค่เพื่อรู้เท่านั้น แต่ไม่เอามาใคร่ครวญเป็นที่ตั้งของจิต

การเข้าไปเห็นโดยบังคับ ท่องจำ ซ้ำๆ มันเป็นการสะกดจิตตนเอง ซึ่งต่างจากการเข้าไปรู้เห็นตามจริง แต่มันเป็นการสะกดจิตตนให้ใคร่ครวญเห็นอย่างนั้น ดังนั้นแค่รู้แล้วก็ปล่อยผ่านไปครับท่านเจ

การปฏิบัติที่จะเข้าไปเห็นได้นั้น มันอยู่ที่การสะสมเหตุ การสะสมเหตุนั้นเป็นการทำทั้งอิทธิบาท ๔ และอบรมจิต โดยส่วนตัวผมแล้วการอบรมจิตของผม..จะทำตามที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า..พระโมคคัลลานะอบรมอิทธิบาท ๔ อย่างไรจึงมีฤทธิ์มาก อิทธิ คือ ฤทธิ์ แต่ในอีกความหมายหนึ่งคือฤทธิ์ในความสำเร็จ สำเร็จคือเข้าถึง ทำกิจเสร็จสิ้น เพราะอิทธิบาท ๔ บทนี้ จะรวมครบกรรมฐานและมหาสติ เมื่อมันแก่กล้า เต็มกำลัง จะเรียกว่าอินทรีย์แก่กล้าด้วยประการดังนั้นก็ได้ ทำให้จิตมีกำลัง ไม่ต้องไปบังคับ ไม่ต้องไปสะกดจิต เมื่อมันเต็มจิตมันเดินเอง หากเราปฏิบัติสะสมให้ดีแล้ว

- จิตจะไม่ข้องแวะสิ่งใดๆง่าย
- เจตนาจะเป็นศีลอัตโนมัติ
- จิตจะตั้งมั่นมีกำลังรู้ สมมติน้อย ไม่คิดฟุ้งซ่าน คือ จิตมันทำแค่รู้มากกว่าจะรู้แล้วเสพย์ความสืบต่อ

- ที่สำคัญขณะใดก็ตามที่เข้าสมาธิก็ดี หรือขณะที่ทำกิจใดๆแล้วเกิดจิตแล่นไปก็ดี ขณะที่จิตมันใครครวญ คือ โยนิโส อย่าไปบังคับจิตให้จดจำ หรือพยายามจดจำ พยายามให้มันทำอย่างไร ให้ปล่อยมันแล้ว เพราะขณะที่เกิดสภาวะที่จิตมันทำกาใคร่ครวญ ขณะนั้น ความพิจารณาของมันเกิดขึ้นอยู่ ตัวรู้ที่รู้การกระทำของมันก็เกิดขึ้นรู้การกระทำนั้นอีกครั้งหนึ่ง เหมือนจะแยกกันก็ไม่ใช้ จะเป็นอันเดียวกันก็ไม่ใช่ จำไว้ว่าอย่าไปบังคับจิตเด็ดขาด หรืออย่าไปพยายามจะจำจะบังคับมันเด็ดขาด ไม่อย่างนั้นจิตจะหลุดออกมาทันที การจะเข้าไปใหม่ในสภาวะนั้นของคนที่เดินจิตไม่คล่องหรือจับพลัดจัะบผลูเข้าไปได้ เป็นเรื่องยากมากที่เข้าไปได้อีก ปล่อยมันไปให้มันเป็นไปของมัน ก็จะได้รู้ของมันเอง โดยเมื่อกายใจเราถึงความบริสุทธิ์ มันจะเกิดของมันเอง สภาวะที่เข้าสู่มหาสติ

- แต่ผมไม่เร่งนะ เพราะของเก่าผมไม่มีพอไปไวไปแบบสุกขวิปัสสกซึ่งไม่ใช่แนวทางที่ผมตั้งอธิษฐานจิตไว้ครับ :b1: :b1:


อ่ะค่ะ จำคำคำอธิษฐานได้ด้วย

คริคริ

tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2019, 23:16 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
ตอบคำถามที่ว่า :-

๑. เพราะเหตุใด โลกุตตรจิต จึงนับเป็น ๘ ? และเพราะเหตุใด จึงนับเป็น ๔๐
๒. โลกุตตรจิต ที่ไม่จัดเป็นฌานจิต มีหรือไม่ ? อย่างไร ?

– เราเรียกว่า มรรคจิต ๔ เป็นการเรียกตามการเกิดขึ้นนของมรรค เพราะมรรค เกิดได้เพียง ๔ ครั้ง คือ

๑. เกิดขึ้นครั้งแรก เรียกว่า โสดาปัตติมรรค
๒. เกิดขึ้นครั้งที่ ๒ เรียกว่า สกทาคามิมรรค
๓. เกิดขึ้นครั้งที่ ๓ เรียกว่า อนาคามิมรรค
๔. เกิดขึ้นครั้งที่ ๔ เรียกว่า อรหัตตมรรค
(ไม่มีเกิดขึ้นเป็นครั้งที่ ๕.๖.๗…)
เพราะการทำกิจในการประหาณอนุสัยกิเลส ได้สิ้นสุดลงพร้อมกับอรหัตตมรรค เพราะฉะนั้น จึงไม่มีกิเลสต้องให้ละอีก … ดังที่พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า “…อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว, กระทำให้ถึงซึ่งที่สุดทุกข์แล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำให้ยิ่งไปกว่านี้ ไม่มีอีกแล้ว”

ฌาน มี ๒ อย่าง

๑. อารัมมณูปนิชฌาน ฌาน คือการเข้าไปเพ่งอารมณ์สมถกรรมฐาน ๔๐, (สามัญญผลแห่งอารัมมณูปนิชฌาน คือ รูปาวจร/อรูปาวจรกุศล-กิริยา)

๒. ลักขณูปนิชฌาน ฌาน คือการเพ่งลักษณะของรูป-นาม โดย อนิจจลักขณะ,ทุกขลักขณะ,และอนัตตลักขณะ…เป็นบุรพภาคแห่ง มรรคจิต-ผลจิต (สามัญญผลของลักขณูปนิชฌาน ก็คือ มรรค-ผล, นิพพาน) // มรรคจิตที่เกิดขึ้น จึงประกอบด้วยองค์ฌาน คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เวทนา และเอกัคคตา / มรรคจิต-ผลจิต จัดเป็นอัปปนาชวนะ ดังนั้นองค์ฌานคือ เอกัคคตาที่ประกอบ จึงจัดว่าเป็นอัปปนาสมาธิ / (เอกัคคตา เป็นได้ทั้งองค์ฌาน และองค์มรรค)
– หากองค์ฌานทั้ง ๕ เกิดพร้อมกับการบรรลุโสดาปัตติมรรค / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๔ (เว้น วิตก) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ทุติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๓ (เว้น วิตก, วิจาร) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ตติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๒ คือ สุข, เอกัคคตา (เว้น วิตก,วิจาร,ปีติ) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า จตุตถฌานโสดาปัตติมรรคจิต
– หากเกิดพร้อมด้วยองค์ฌาน ๒ คือ อุเบกขา, เอกัคคตา (เว้น วิตก,วิจาร,ปีติ) / โสดาปัตติมรรคนั้น ก็ต้องเรียกว่า ปัญจมฌานโสดาปัตติมรรคจิต
ในมรรคที่เหลือ ก็ทำนองเดียวกัน

* ส่วนในผลจิต ก็มีคติเป็นไปตามมรรคจิต

เพราะฉะนั้น การนับโลกุตตรโดยความเป็นจิต ควรนับเป็น มรรคจิต ๒๐, ผลจิต ๒๐ ตามการเกิดขององค์ฌาน (เหมือนกับการนับรูปวจรกุศล-วิบาก-กิริยา เป็นอย่างละ ๕ ก็เพราะนับด้วยอำนาจขององค์ฌานที่ประกอบ)
การนับโลกุตตรจิตเพียง ๘ คือ มรรคจิต ๔, ผลจิต ๔ เป็นการนับแบบการเกิดขึ้นทำกิจของมรรค ไม่ใช่นับตามการเกิดขึ้นของจิตที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง

แต่โดยภาวะแล้ว
– ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ทุติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ตติยฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, จตุตถฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ปัญจมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ๑, ทั้งหมด ย่อมถึงการนับเป็น ๑ เพราะเกิดได้เพียงครั้งเดียว, ไม่ใช่เกิดครั้งแรกเป็นปฐมฌานโสดาปัตติมรรคแล้ว ครั้งที่สองเป็นทุติยฌานโสดาปัตติมรรค…อย่างนี้ไม่ใช่ / การเกิดเพียงครั้งเดียวในบุคคล คนหนึ่ง ๆ นั้น เป็นการเพ่งถึงกิจของมรรค ที่ทำหน้าที่ประหาณอนุสัยกิเลสเป็นสมุจเฉทปหาณ, ไม่ได้เพ่งถึงการเกิดขึ้นของจิตและธรรมที่ประกอบร่วม ทั้งธรรมที่เป็นองค์มรรค, ธรรมที่เป็นองค์ฌาน, และเจตสิกธรรมอื่น ๆ

* ในสกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค ก็ทำนองเดียวกัน ….ฯ

การนับมรรคจิต เป็น ๒๐, ผลจิตเป็น ๒๐ นั้น ถือว่าถูกต้อง เพราะเวลาเอามรรคจิตผลจิตไปจำแนกโดยอริยสัจจ์ ๔ แล้ว จะต้องมีการบอกด้วยว่า-

องค์มรรค ๘ ที่ใน ปฐมฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค เป็นมรรคสัจจ์, องค์มรรค ๗ (เว้นวิตก) ที่ใน ทุติยฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค…..ปัญจมฌานโสดา-สกทาคา-อนาคา-อรหัตตมรรค เป็นมรรคสัจจ์,
หรือแม้จะกล่าวสั้น ๆว่า องค์มรรค ๘ หรือ ๗ (เว้นวิตก) ที่ในมรรคจิต จัดเป็นมรรคสัจจ์ ก็ยังทำให้เห็นว่า มีการนับมรรคจิตตามฌานจิตทั้ง ๕
มรรคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๙ (จิต๑+เจตสิก ๒๘) เป็นสัจจะวิมุตติ (มาถึงตอนนี้ มรรคจิตนับรวมเป็น ๑)

มรรคจิต และผลจิต ที่พ้นจากความเป็นฌานจิต จึงไม่มี

—————–/////——————

ภาคผนวก

ข้อความจาก :- พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม ของท่าน ปอ. ปยุตฺโต (ประยุทธ์ อารยางกูร ปยุตฺโต)

[7] ฌาน 2 (การเพ่ง, การเพ่งพินิจด้วยจิตที่เป็นสมาธิแน่วแน่ – meditation; scrutiny; examination)
1. อารัมมณูปนิชฌาน (การเพ่งอารมณ์ ได้แก่ สมาบัติ 8 คือ รูปฌาน 4 และ อรูปฌาน 4 – object-scrutinizing Jhana)
2. ลักขณูปนิชฌาน (การเพ่งลักษณะ ได้แก่ วิปัสสนา มรรค และผล – characteristic-examining Jhana)

วิปัสสนา ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะพินิจสังขารโดยไตรลักษณ์
มรรค ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะยังกิจแห่งวิปัสสนานั้นให้สำเร็จ
ผล ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะเพ่งนิพพานอันมีลักษณะเป็นสุญญตะ อนิมิตตะ และอัปปณิหิตะ อย่างหนึ่ง และเพราะเห็นลักษณะอันเป็นสัจจภาวะของนิพพาน อย่างหนึ่ง

ฌานที่แบ่งเป็น 2 อย่างนี้ มีมาในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา.


:b8: :b8: :b8:


และจากภาคผนวกนี้
ก็แสดงได้ ลึกลงไป
ถึงในนิวรณ์ 5 และ นิวรณ์ 6

โดยนิวรณ์ 5 นั้นจะเป็นเครื่องกั้นของฌาน เป็นธรรมที่เป็นปฏิปักษ์กับองค์ฌาน

และนิวรณ์ 6 นั้น เป็นอวิชชานิวรณ์เป็นอกุศลเจตสิก โมหะเจตสิก เป็นปฎิปักษ์
ที่กางกั้นการเจริญวิปัสสนาเพื่อการเจริญปัญญาในการ รู้แจ้งสภาพธรรมตามความเป็นจริงค่ะ

smiley


จ้าที่รัก tongue tongue tongue

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 18 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 50 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร