วันเวลาปัจจุบัน 17 เม.ย. 2024, 02:38  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 94 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 เม.ย. 2019, 10:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สรุปได้ว่า อายตนะ ๖ อารมณ์ ๖ และวิญญาณ ๖ (ที.ปา.11/304-306/255) มีชื่อในภาษาธรรม และมีความเกี่ยวเนื่องกัน ดังนี้

๑. จักขุ - ตา เป็นแดนรับรู้ รูป - - รูป - เกิดความรู้คือ จักขุวิญญาณ -เห็น

๒. โสตะ -หู ,, ---------,, สัททะ -เสียง ,,-------------,,โสตวิญญาณ-ได้ยิน

๓. ฆานะ -จมูก ,,--------,, คันธะ - กลิ่น ,,--------------,,ฆานวิญญาณ-ได้กลิ่น

๔. ชิวหา -ลิ้น ,,----------,, รส - - รส ,,---------------,,ชิวหาวิญญาณ-รู้รส

๕. กาย - กาย ,,--------,,โผฏฐัพพะ-สิ่งต้องกาย ,,-----,,กายวิญญาณ-รู้สิ่งต้องกาย

๖. มโน - ใจ ,,--------- ,, ธรรม * - เรื่องในใจ,,--------,, มโนวิญญาณ-รู้เรื่องในใจ

ที่อ้างอิง *
* นิมยมเรียก ธรรมารมณ์ เพื่อไม่ให้สับสนกับคำว่า ธรรม ที่ใช้ทั่วไป ซึ่งมีความหมายกว้างขวางมากหลายนัย


ต่อ

อย่างไรก็ตาม แม้ว่า วิญญาณ จะต้องอาศัยอายตนะ และอารมณ์ กระทบกันจึงจะเกิดขึ้นได้* (ม.มู.12/443-4/476-7) ก็จริง แต่การที่อารมณ์เข้ามาปรากฏแก่อายตนะ ก็มิใช่จะทำให้วิญญาณเกิดขึ้นได้เสมอไป จำต้องมีความใส่ใจ ความกำหนดใจ หรือ ความใฝ่ใจประกอบอยู่ด้วย วิญญาณนั้นๆ จึงเกิดขึ้น

ดังตัวอย่างในบางคราว เช่น เวลาหลับสนิท เวลาฟุ้งซ่าน หรือใจลอยไปเสีย เวลาใจจดจ่อแน่วแน่อยู่กับกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง ตลอดจนขณะอยู่ในสมาธิ รูปและ เสียง เป็นต้น หลายๆอย่างที่ผ่านเข้ามา อยู่ในวิสัยที่จะเห็น จะได้ยิน แต่หาได้เห็น ได้ยินไม่ หรือ
ตัวอย่างง่ายๆ ขณะเขียนหนังสือใจจดจ่ออยู่ จะไม่รู้สึกส่วนของร่างกาย ที่แตะอยู่กับโต๊ะเก้าอี้ ตลอดจนมือที่แตะกระดาษ และนิ้วที่แตะปากกา หรือดินสอ ในเมื่อมีอายตนะ และอารมณ์เข้ามาถึงกันแล้ว แต่วิญญาณไม่เกิดขึ้น เช่นนี้ ก็ยังไม่เรียกว่า การรับรู้ได้เกิดขึ้น

:b32:
คิดว่าเดี๋ยวนี้ตัวเองมีวิญญาณไหมคะ
วิญญาณคือภาษาบาลีแปลเป็นไทยคือจิต
จิต=วิญญาณ=วิญญาณขันธ์คือ1ในขันธ์5ไม่ได้เกิดลอยๆ
เพราะจิต1ขณะรู้อารมณ์อยู่มีครบขันธ์ทั้ง5คือจิต+เจตสิก+รูปที่เป็นกุศลหรืออกุศลหรือรู้นิพพานไม่ปนกัน
แล้วตอนนี้เดี๋ยวนี้ก็มีครบแล้วทั้ง6ทางมีแล้วไม่ได้มีใครทำและกำลังเกิดดับสลับกันอยู่โดยความเป็นอนัตตา
:b12:
:b4: :b4:

รู้จักไหมคะว่า
ความรู้คู่ปัญญา
ความไม่รู้คู่อวิชชา

ทั้ง2แบบเกิดแบบเส้นขนาน
ไม่ปนกันกันเลยในจิตแต่ละ1ขณะ
:b12:
:b16: :b16:


เล่นไปจับคู่สะยังงั้นก็เลอะสิขอรับ :b1:

ปัญญา แปลว่า ความรู้, ความรู้ทั่ว

อวิชชา แปลว่า ความไม่รู้ (อ ไม่ วิชชา ความรู้ อวิชชา=ความไม่รู้)

บอกไม่เชื่อว่าเสียเวลาปลูกผัก :b32:

ข้อ๑-๖มันไม่เกิดปนทางกันเข้าใจไหม
ยังไม่รู้สึกตัวและยังคิดตามไม่ถูกตัวตนอยู่ค่ะ
คิดพิจารณาสิเดี๋ยวนี้จิตเกิดดับถึงแสนล้านดวงจิต
มีปัญญารู้ตรงแค่1ทางให้มันคิดตามได้ตรงตามก่อนดีไหม
:b12:
:b9: :b9:


สิ่งที่ชาวพุทธส่วนหนึ่งได้ยินได้ฟังมาไม่ค่อยเป็นพุทธธรรมสักเท่าไหร่ ไม่พูดดีกว่า เดี๋ยวเสียใจ คิกๆๆ

เอาเป็นว่าสิ่งที่เหมาะตอนนี้ คือ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า การถวายสังฆทาน ตักบาตร ทำบุญอย่างที่ทั่วๆไปทำกันนี่แหละ แล้วจึงค่อยๆศึกษายังสำนักเรียนที่มีการสอบรับรอง ไม่ใช่ฟังที่นั่นมานิดที่นี่มาหน่อยแล้วก็มาสรุปตามความเข้าใจของตน แบบนี้เลอะขอรับ :b13:

:b1:
จิตอย่างเดียวคือวิญญาณขันธ์
เออนะตัวเองมีจิตอย่างเดียวไหม
ตถาคตบอกว่าจิต1ขณะคือจิต+เจตสิก+รูป
บอกว่ามีแล้วไม่ได้ทำครบแล้ว6ทางดับแล้วแสนโกฏิขณะทำอะไรได้ไหมยังไม่ไปไหนเลยเนี่ย
:b32: :b32:


เอาอีกแล้ว เอาคคห.ตนเองมั่วๆปนๆกันแล้วจับใส่ปากตถาคตอีกแล้ว

:b32:
ฮากลิ้งตีลังกาหลายตลบเลยค่ะ
คุณกรัชกายไม่มีตาหูจมูกลิ้นกายใจเหรอ
:b32:
สภาพธัมมะกำลังเกิดดับนับไม่ถ้วนที่กายตัวเองมี
ไม่อยู่นอกกายกำลังเกิดดับนับๆตามคำสอนได้1ล้านแสนครั้งไปแล้ว
คุณกรัชกายจะทำยังไงคะมันดับแล้วสะสมเป็นอวิชชาของคุณกรัชกายแล้วเดี๋ยวนี้กำลังมีกิเลสขาดปัญญา
อันที่ดับไปแล้วไม่ย้อนกลับมาเกิดอีกมีเหตุปัจจัยที่กำลังเกิดดับเป็นจิตขณะใหม่ตลอดเวลาขาดสุตมยปัญญา
:b32: :b32: :b32:


หมา แมว ต้นไม้ เป็นธัมมะไหม

รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เป็นธัมมะไหม เอ้า :b1:

:b32:
คิดตามนะเอาแค่2ทางก่อน
จิตเห็นรูปของสี1ขณะดับ
จิตได้ยินเสียง1ขณะดับ
ดับทีละขณะสลับกัน
มีตัวกรัชกายไหม
มีอะไรนอกตัว?
คิดให้ตรงทีละ1ทาง
เพราะแต่ละทางไม่ปนกัน
ได้ยินไม่มีจักขุปสาทะปน
เห็นก็ไม่มีโสตปสาทะปนค่ะ
จิตคิดนึกไม่มีจิตเห็นจิตได้ยินปนด้วยค่ะโลกแต่ละ1ขณะไม่ใช่ตัวตนรู้สึกตัวไหมว่าไม่รู้ทั้งหมดที่มีแล้ว
เด่วนี้ไม่ได้มีแค่2ทางมันสลับกันเกิดดับครบ6ทางทีละ1ทางค่ะลิ้นรู้รสในลิ้นมีจริงๆไม่ใช่เห็นไม่ใช่เสียง
:b32:
:b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 เม.ย. 2019, 10:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
รู้สึกตัวไหมมมมมคะะะะะะว่าไม่รู้ทีละแสนโกฏิขณะเพราะคิดถูกตามตรง1ทางที่กำลังมีไม่เคยได้คร่าาาาาา
ขาดสุตมยปัญญาอยู่ไม่มีปัญญารู้ตรง1ทางที่กำลังมีตามคำสอนอยู่ขาดสติแล้วเพราะคิดตามเห็นผิดของตน
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 22:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
การรับรู้จะเกิดขึ้น ต่อเมื่อมีองค์ประกอบเกิดขึ้นครบทั้งสามอย่าง คือ อายตนะ อารมณ์ และวิญญาณ
ภาวะนี้ในภาษาธรรมมีคำเรียกโดยเฉพาะว่า "ผัสสะ" หรือ "สัมผัส" * แปลตามรูปศัพท์ว่า การกระทบ
แต่มีความหมายทางธรรมว่า การประจวบ หรือ บรรจบพร้อมกันแห่งอายตนะ อารมณ์ และวิญญาณ
พูดอย่างเข้าใจกันง่ายๆ ผัสสะ ก็คือ การรับรู้นั่น เอง

ผัสสะ หรือ สัมผัส หรือการรับรู้นี้ มีชื่อเรียกแยกเป็นอย่างๆ ไปตามทางรับ รู้ คืออายตนะนั้นๆ ครบจำนวน ๖ คือ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส

ผัสสะเป็นขั้นตอนสำคัญ ในกระบวนการรับรู้ เมื่อผัสสะเกิดขึ้นแล้ว กระบวนธรรมก็ดำเนินต่อไป เริ่มแต่ความรู้สึกต่ออารมณ์ที่รับรู้เข้ามานั้น ปฏิกิริยาอย่างอื่นของจิตใจ การจำหมาย การนำอารมณ์นั้นไปคิดปรุงแต่ง ตลอดจนการแสดงออกต่างๆ ที่สืบเนื่องไปตามลำดับ



ต่อ


ในกระบวนธรรมนี้ สิ่งที่ควรสนใจเป็นพิเศษในการศึกษาขั้นนี้ ก็คือ ความรู้สึกต่ออารมณ์ที่รับรู้เข้ามา ซึ่งเกิดขึ้นในลำดับถัดจากผัสสะนั่นเอง
ความรู้สึกนี้ ในภาษาธรรมเรียก ว่า "เวทนา" แปลว่า การเสวยอารมณ์ หรือการเสพรสอารมณ์ คือความ รู้สึกต่ออารมณ์ที่รับรู้เข้ามานั้น โดยเป็นสุข สบาย ไม่สบาย หรือ เฉยๆ อย่างใดอย่างหนึ่ง

เวทนานี้ ถ้าแบ่งตามทางรับรู้ ก็มี ๖ เท่าจำนวนอายตนะ คือ
เวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางตา
เวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางหู เป็นต้น * แต่ถ้าแบ่งตามจำนวนคุณภาพจะมีจำนวน ๓ คือ

๑. สุข ได้แก่ สบาย ชื่นใจ ถูกใจ

๒. ทุกข์ ได้แก่ ไม่สบาย เจ็บปวด

๓. อทุกขมสุข ไม่ทุกข์ ไม่สุข คือเรื่อยๆ เฉยๆ ซึ่งเรียกว่าอีกอย่างหนึ่ง อุเบกขา *

อีกอย่างหนึ่ง แบ่งละเอียดลงไปเป็น ๕ อย่าง คือ

๑. สุข ได้แก่ สบายกาย

๒. ทุกข์ ได้แก่ ไม่สบายกาย เจ็บปวด

๓. โสมนัส ได้แก่ สบายใจ ชื่นใจ

๔. โทมนัส ได้แก่ ไม่สบายใจ เสียใจ และ

๕. อุเบกขา ได้แก่ เฉยๆ ไม่สุขไม่ทุกข์

กระบวนการรับรู้เท่าที่กล่าวมานี้ เขียนให้เห็นง่ายๆ ได้ดังนี้

อายตนะ + อารมณ์ + วิญญาณ = ผัสสะ > เวทนา

ทางรับรู้ - สิ่งที่ถูกรู้ - ความรู้ - การรับรู้ - ความรู้สึกต่ออารมณ์

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 22:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ที่อ้างอิง * คคห. บนตามลำดับ

* “ผัสสะ” และ “สัมผัส” (contact) นี้ ไม่ควรใจสับสนกับความหมายในภาษาไทย แม้คำอื่นๆ คือ อารมณ์ วิญญาณ เวทนา ก็มีความหมายไม่ตรงกันแท้กับที่ใช้ในภาษาไทย

*เวทนา ๖ (feeling)
๑ จักขุสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา
๒. โสตสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู
๓. ฆานสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก
๔. ชิวหาสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
๕. กายสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย
๖ มโนสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ

* อุเบกขา ในเวทนาหมวดนี้ เป็นคนละอย่างกับอุเบกขาในหมวดสังขาร (เช่น อุเบกขาพรหมวิหาร อุเบกขาสัมโพชฌงค์ เป็นต้น)


.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 05:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ดังได้กล่าวแล้ว อารมณ์ก็คือโลกที่ปรากฏลักษณะอาการแก่มนุษย์ทางอายตนะต่างๆ การรับรู้อารมณ์เหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้มนุษย์มีความสามารถในการเกี่ยวข้อกับโลก ทำให้ชีวิตอยู่รอด และดำเนินไปด้วยดี

ในกระบวนการรับรู้นี้ เวทนาก็เป็นส่วนประกอบสำคัญอย่างหนึ่ง โดยทำหน้าที่เป็นเครื่องชี้บอกให้ทราบว่า อะไรเป็นอันตรายแก่ชีวิต ควรหลีกเว้น อะไรเกื้อกูลแก่ชีวิต ควรถือเอาประโยชน์ได้ เวทนาจึงช่วยให้กระบวนการรับรู้ที่ดำเนินต่อไป สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจที่ครบถ้วนบริบูรณ์ เป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น

แต่สำหรับมนุษย์ปุถุชน เวทนามิได้มีความหมายเพียงเท่านั้น คือ มิใช่เพียงแค่ว่ากระบวนการรับรู้ ได้มีส่วนประกอบเพิ่มเข้ามาอีกอย่างหนึ่ง ที่ช่วยเสริมความรู้ได้สมบูรณ์ อันจะทำให้เขามีความสามารถมากขึ้น ในการดำเนินชีวิตที่ดีงาม
แต่เวทนา ยัง หมายถึงการที่โลกมีอะไรอย่างหนึ่งเป็นผลตอบแทน หรือ รางวัลแก่เขาในการเข้าไป เกี่ยวข้องกับโลกด้วย ผลตอบแทนที่ว่านี้ คือ ความเอร็ดอร่อย ความชื่นใจที่เกิดจากอารมณ์ ซึ่งเรียกว่า สุขเวทนา

ในกรณีที่กระบวนการรับรู้ ดำเนินมาตามลำดับจนถึงเวทนา
ถ้ามนุษย์ หันเข้าจับเวทนาไว้ ตามความหมายในแง่นี้
มนุษย์ก็จะหันเหออกไปจากกระบวนการรับรู้ ทำให้กระบวนธรรมอีกอย่างหนึ่งได้โอกาสเข้ามารับช่วงแล่นต่อไปแทนที่ โดยเวทนา จะกลายเป็นปัจจัยตัวเอก ที่จะก่อให้เกิดผลสืบเนื่องต่อไป พร้อมกันนั้น กระบวนการรับรู้ ซึ่งกลายไปเป็นส่วนประกอบ และเดินควบไปด้วย ก็จะถูกกำลังจากกระบวนธรรมใหม่นี้บีบคั้นให้บิดเบือน และเอนเอียงไปจากความเป็นจริง

กระบวนธรรมรับช่วงที่ ว่านี้ มักดำเนินไปในแบบง่ายๆพื้นๆ คือ เมื่อรับรู้อารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว เกิดความรู้สึกสุขสบาย ชื่นใจ (สุข-เวทนา) ก็อยากได้ (ตัณหา)

เมื่ออยากได้ ก็ติดใจพัวพัน จนถึงขั้นยึดติดถือมั่น (อุปาทาน) ค้างใจอยู่ ไม่อาจวางลงได้
ทั้งที่ความเป็นจริง ไม่อาจถือเอาไว้ได้ เพราะสิ่งนั้นๆ ล่วงเลยผ่านพ้นหมดไปแล้ว
จากนั้น ก็เกิดความครุ่นคิด สร้างภาพต่างๆ ที่จะให้ตนอยู่ในภาวะครอบครองอารมณ์อันให้เกิดสุขเวทนานั้น

พร้อมทั้งคิดปรุงแต่งสร้างวิธีการที่จะให้ได้อารมณ์ และ สิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งอารมณ์นั้น แล้วลงมือกระทำการต่างๆ ทางกายบ้าง วาจาบ้าง เพื่อให้ได้มา ซึ่งผลที่ต้องการ เพื่อจะได้เวทนาที่ชอบใจนั้นยิ่งๆ ขึ้นไปอีก

(โยงไปถึงหลักปฏิจจสมุปบาท ฯลฯ <= =>สฬายตนะ > ผัสสะ>เวทนา>ตัณหา>อุปาทาน>ภวะ (ภพ) => ทุกขสมุทัย.

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 07:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ตัวอย่างช่วยเสริมความเข้าใจเรื่องผัสสะ เวทนา (สุขเวทนา) ตัณหา อุปาทาน ภวะ คคห.บน (ตัดมา)


ฯลฯ กำหนดคำบริกรรมในใจแผ่เมตตาให้สัตว์ทั้งหลายไม่มีประมาณในทิศเบื้องหน้า จากนั้นก็เบื้องหลัง จากนั้นก็เบื้องบน เบื้องล่าง เบื้องซ้าย แล้วก็เบื้องขวา พอครบทุกทิศแล้ว ก็กำหนดแผ่ไปในทุกทิศพร้อมกันไม่มีประมาณ
กำหนดแค่ครั้งเดียวเท่านั้น จากนั้นผมก็รู้สึกเหมือนกายผมขยายตามที่กำหนดแผ่เมตตาไปด้วย รู้สึกว่ากายขยายไปทุกทิศ ความรู้สึกนี้มันเกิดในเวลาแค่แปปเดียว กายขยายไปทุกทิศจนรู้สึกว่ากายหายไป เวลานี้ รู้สึกว่าความรู้สึกของเราเหมือนจุ่มอยู่ในปิติ มีแต่ความสุขไปหมด จากนั้นผมก็คิดขึ้นมาว่า

"มีความสุขขนาดนี้ในโลกด้วยหรือ ความสุขนี้ ดีกว่าความสุขในโลกที่เราเคยพบมาทั้งหมด โอ ความสุขนี้แค่นั่งก็ได้แล้ว คนทั้งโลกมัวแต่วุ่นวายทำอะไรกันอยู่ บางคนทำทุจริตต่างๆเพื่อหาเงินมาสนองความสุขตน ทำไปทำไมนะ มันเทียบกับความสุขที่เกิดจากความสงบนี้ไม่ได้เลย ความสุขนี้ไม่ต้องไขว่คว้ามาก อยู่กับตัวเองแท้ๆ คนในโลกกลับไม่รู้"

จากนั้น ผมก็สังเกตลมหายใจ ก็รู้สึกว่าลมหายใจตอนนี้มันละเอียดมาก ถึงค่อยเข้าใจคำว่าลมหายใจหยาบลมหายใจละเอียดว่าเป็นยังไง ก่อนหน้านี้เข้าใจว่าคือลมหายใจแรงๆเบาๆซะอีก :)

ความรู้สึกจากการเกิดสมาธิครั้งแรกนี้ มันเหมือนจุ่มค้างอยู่ปิติอยู่ แต่ไม่เห็นนิมิตอะไรทั้งสิ้น แต่รู้สึกจิตเวลานี้ไม่มีนิวรณ์เลย คือมีความรู้พร้อมอยู่

จากนั้น ผมก็รู้สึกยินดี กับ สิ่งที่เกิดขึ้นแล้วคิดไปเรื่อยว่า "นี่คือปฐมฌานหรือเปล่านี่ ปฐมฌานเกิดกับเราหรือ"
จนจิตเริ่มไม่เป็นสมาธิ เริ่มปั่นป่วน...ก็เลยหลุดออกมาจากสภาวะนั้น

http://larndham.org/index.php?/topic/27 ... ntry393770

สุขเวทนาชนิดนี้ (นิรามิสสุข) คิดคิดเอาไม่ถึงมันหรอก มันอยู่ลึกลงไปในจิตในใจปกติลงไปอีก

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 08:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ทีนี้ ดูอีกฝากหนึ่ง ซึ่งเมื่อประสบกับทุกขเวทนาบ้าง


ในทางตรงข้าม ถ้ารับรู้อารมณ์ใดแล้ว เกิดความรู้สึกทุกข์ เจ็บปวด ไม่สบาย (ทุกข-เวทนา) ก็ไม่ชอบใจ ขัดเคือง อยากจะพ้นไป หรือ ให้มันสูญสิ้นไป อยากทำลาย (ตัณหา)
ผูกใจ ปักใจ ค้างใจกับสิ่งนั้น (อุปาทาน) ในทางร้าย ที่จะชิงชัง เกลียดกลัว หลีกหนี อย่าให้พบเห็นอีก เป็นต้น พร้อมกับเกิดเป็นปฏิกิริยา ให้ยิ่งยึดมั่นฝันหาผูกใจมั่นหมาย ที่จะให้พบให้ได้สุขเวทนา และสิ่งที่หวังว่าจะให้สุขเวทนาแก่ตนยิ่งขึ้นไปอีก

ในกระบวนการนี้ ก็จึงบังเกิดเป็นสุขทุกข์ แบบซับซ้อนรุนแรงเข้มข้น ที่เป็นผลเสกสรรของมนุษย์เอง ซึ่งหมุนเวียนเข้าวงจรที่เริ่มจากเวทนาใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า กลายเป็นสังสารวัฏฏ วนอยู่อย่างนั้น ไม่สามารถก้าวต่อไปสู่ผลเลิศอย่างอื่น ที่ชีวิตนี้ยังสามารถเข้าถึงได้ยิ่งกว่านั้นขึ้นไป

(เดิมมันเป็นวงจรของธรรมชาติ พอคนไปยึดเอาธรรม-ชาติเข้า ก็จึงกลายเป็นทุกข์ของคน (ทุกขอริยสัจ) ไป)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 09:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ที่อ้างอิง * คคห. บนตามลำดับ

* “ผัสสะ” และ “สัมผัส” (contact) นี้ ไม่ควรใจสับสนกับความหมายในภาษาไทย แม้คำอื่นๆ คือ อารมณ์ วิญญาณ เวทนา ก็มีความหมายไม่ตรงกันแท้กับที่ใช้ในภาษาไทย

*เวทนา ๖ (feeling)
๑ จักขุสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา
๒. โสตสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู
๓. ฆานสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก
๔. ชิวหาสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
๕. กายสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย
๖ มโนสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ

* อุเบกขา ในเวทนาหมวดนี้ เป็นคนละอย่างกับอุเบกขาในหมวดสังขาร (เช่น อุเบกขาพรหมวิหาร อุเบกขาสัมโพชฌงค์ เป็นต้น)


แต่ละอายตนะแต่ละธาตุแต่ละขันธ์ไม่เกิดปนกันมีที่เกิดร่วมกันได้ส่วนกุศลจิตกับอกุศลจิตไม่เกิดพร้อมกัน
ศึกษาความจริงของตัวจริงธัมมะตรงที่กายใจกำลังมีกำลังปรากฏว่ามีแล้วเดี๋ยวนี้ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า
ตัวจริงธัมมะทางตาหูจมูกลิ้นกายใจรวม6ทางศึกษาแยกทางให้ละเอียดตรงที่กำลังมีที่กายตรงตามที่กำลังฟัง
https://youtu.be/H5TjXtPDd2Q
:b12:
:b4: :b4:


แก้ไขล่าสุดโดย Rosarin เมื่อ 25 เม.ย. 2019, 10:49, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 10:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ที่อ้างอิง * คคห. บนตามลำดับ

* “ผัสสะ” และ “สัมผัส” (contact) นี้ ไม่ควรใจสับสนกับความหมายในภาษาไทย แม้คำอื่นๆ คือ อารมณ์ วิญญาณ เวทนา ก็มีความหมายไม่ตรงกันแท้กับที่ใช้ในภาษาไทย

*เวทนา ๖ (feeling)
๑ จักขุสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา
๒. โสตสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู
๓. ฆานสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก
๔. ชิวหาสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
๕. กายสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย
๖ มโนสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ

* อุเบกขา ในเวทนาหมวดนี้ เป็นคนละอย่างกับอุเบกขาในหมวดสังขาร (เช่น อุเบกขาพรหมวิหาร อุเบกขาสัมโพชฌงค์ เป็นต้น)


แต่ละอายตนะแต่ละธาตุแต่ละขันธ์ ไม่เกิดปนกันแต่เกิดร่วมกันได้ และกุศลจิตกับอกุศลจิตไม่เกิดพร้อมกัน
ศึกษาความจริงของตัวจริงธัมมะตรงที่กายใจกำลังมีกำลังปรากฏว่ามีแล้วเดี๋ยวนี้ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า
ตัวจริงธัมมะทางตาหูจมูกลิ้นกายใจรวม6ทางศึกษาแยกทางให้ละเอียดตรงที่กำลังมีที่กายตรงตามที่กำลังฟัง
https://youtu.be/H5TjXtPDd2Q


"ไม่เกิดปนกัน แต่เกิดร่วมกัน" ยังไง คิกๆๆ ไม่ปนกัน แต่ร่วมกัน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 10:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ที่อ้างอิง * คคห. บนตามลำดับ

* “ผัสสะ” และ “สัมผัส” (contact) นี้ ไม่ควรใจสับสนกับความหมายในภาษาไทย แม้คำอื่นๆ คือ อารมณ์ วิญญาณ เวทนา ก็มีความหมายไม่ตรงกันแท้กับที่ใช้ในภาษาไทย

*เวทนา ๖ (feeling)
๑ จักขุสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา
๒. โสตสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู
๓. ฆานสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก
๔. ชิวหาสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
๕. กายสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย
๖ มโนสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ

* อุเบกขา ในเวทนาหมวดนี้ เป็นคนละอย่างกับอุเบกขาในหมวดสังขาร (เช่น อุเบกขาพรหมวิหาร อุเบกขาสัมโพชฌงค์ เป็นต้น)


แต่ละอายตนะแต่ละธาตุแต่ละขันธ์ ไม่เกิดปนกันแต่เกิดร่วมกันได้ และกุศลจิตกับอกุศลจิตไม่เกิดพร้อมกัน
ศึกษาความจริงของตัวจริงธัมมะตรงที่กายใจกำลังมีกำลังปรากฏว่ามีแล้วเดี๋ยวนี้ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า
ตัวจริงธัมมะทางตาหูจมูกลิ้นกายใจรวม6ทางศึกษาแยกทางให้ละเอียดตรงที่กำลังมีที่กายตรงตามที่กำลังฟัง
https://youtu.be/H5TjXtPDd2Q


"ไม่เกิดปนกัน แต่เกิดร่วมกัน" ยังไง คิกๆๆ ไม่ปนกัน แต่ร่วมกัน

ตัวจริงธัมมะมีลักษณะเฉพาะของตนของตนแต่ละ1ไม่ซ้ำ
เกิดร่วมกันเป็นสหชาตะปัจจัยไม่มีใครทำเหตุทำปัจจัยใดๆ
1ขณะจิตคือจิตรู้นามรูป=จิต+เจตสิก+รูป/รู้ตรงทางตรงวิถี
จิตและเจตสิกรู้อารมณ์เดียวกันและรู้รูปที่มหาภูตรูปไม่มีตัวตน
จิต1ทางมีเจตสิกเกิดร่วม7ชวนะเป็นกลุ่มกุศลหรืออกุศลคนละขณะ
ลักษณะแต่ละ1ไม่ใช่สิ่งเดียวกันจิตคือวิญญาณขันธ์/เจตสิกคือเวทนาสัญญาสังขารขันธ์/รูปคือรูปขันธ์
นิพพานคือนิพพานเที่ยงไม่เกิดไม่ดับและตอนนี้จิตตัวเองรู้ตรงตัวจริงธัมมะไหนตามคำของตถาคตไม่รู้=ไม่รู้
:b55: :b55: :b55:
https://youtu.be/QsvzeRFJ4Ew


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 12:03 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ที่อ้างอิง * คคห. บนตามลำดับ

* “ผัสสะ” และ “สัมผัส” (contact) นี้ ไม่ควรใจสับสนกับความหมายในภาษาไทย แม้คำอื่นๆ คือ อารมณ์ วิญญาณ เวทนา ก็มีความหมายไม่ตรงกันแท้กับที่ใช้ในภาษาไทย

*เวทนา ๖ (feeling)
๑ จักขุสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา
๒. โสตสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู
๓. ฆานสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก
๔. ชิวหาสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
๕. กายสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย
๖ มโนสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ

* อุเบกขา ในเวทนาหมวดนี้ เป็นคนละอย่างกับอุเบกขาในหมวดสังขาร (เช่น อุเบกขาพรหมวิหาร อุเบกขาสัมโพชฌงค์ เป็นต้น)



เมื่อก่อนผมใช้คำว่าสัมผัส จำไม่ได้ว่าใครก็ไม่รู้ด่าผม ผัสสะ ไม่ใช่สัมผัสใหญ่เลย บอกผัสสะคือกระทบเท่านั้น ผมก็ขำๆ :b32: :b32: :b32: ทีนี้คงเข้าใจว่าภาษาที่ตายแล้ว กับคำที่ใช้ให้เข้าใจเทียบเคียงได้ใกล้เคียงที่สุด การกระทบจะมีเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีการรู้สัมผัส จะอะไรก็ตามแต่ที่มาชน มาตูม มากระทบให้ใจรู้ ใจรู้ไๆด้เพราะสัมผัสเกิดขึ้นทั้งสิ้น เราจะพูดว่ารู้กระทบอารมร์ก็ตาม แต่การที่รู้กระทบได้คือเรารู้สัมผัสความรู้สึกของสิ่งที่มากระทบ :b1: :b1: :b1: สัมผัสนี้ เมื่อเทียบเคียงแล้วจึงใกล้เคียงและชี้ชัดที่สุด

ก็เหมือนกับคำว่า สมมติ ทั้งๆที่แปลตรงตัวว่า ไม่จริง การสร้างเรื่องราวเทียบเคียงขึ้นเพื่ออุปมาอุปไมย การสร้าง หรือกำหนดเรื่องราวยกเรื่องขึ้นเพื่อใช่แสดงเรื่องราว แต่คนที่ท่องจำเอาก็จะเข้าใจแต่คำว่า สมมติสัจจ์เท่านั้น โดยที่สมมติสัจนั้นในความหมายแล้วก็รวมไปถึงการสมมติเรื่องราวความรู้สึกนึกคิดจาก เวทนา สัญญา สังขาร มาที่วิญญาณ ก็ล้วนแล้วแต่ปรุงแต่งขึ้นเป็นความรู้สึกนึกคิดโดยสมมติ คือ ความไม่ใช่จริง แต่สมมติคือสร้างขึ้นกำหนดขึ้น :b32: :b32: :b32:

สมดั่งคำพระท่านว่า สัตว์ทำสิ่งที่ไม่มี..ให้มันเกิดมีขึ้นไปต่างๆนาๆ อริยะทำให้รู้ตามจริงถึงความไม่มี

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แก้ไขล่าสุดโดย แค่อากาศ เมื่อ 25 เม.ย. 2019, 12:29, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 12:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ที่อ้างอิง * คคห. บนตามลำดับ

* “ผัสสะ” และ “สัมผัส” (contact) นี้ ไม่ควรใจสับสนกับความหมายในภาษาไทย แม้คำอื่นๆ คือ อารมณ์ วิญญาณ เวทนา ก็มีความหมายไม่ตรงกันแท้กับที่ใช้ในภาษาไทย

*เวทนา ๖ (feeling)
๑ จักขุสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา
๒. โสตสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู
๓. ฆานสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก
๔. ชิวหาสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
๕. กายสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย
๖ มโนสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ

* อุเบกขา ในเวทนาหมวดนี้ เป็นคนละอย่างกับอุเบกขาในหมวดสังขาร (เช่น อุเบกขาพรหมวิหาร อุเบกขาสัมโพชฌงค์ เป็นต้น)


แต่ละอายตนะแต่ละธาตุแต่ละขันธ์ ไม่เกิดปนกันแต่เกิดร่วมกันได้ และกุศลจิตกับอกุศลจิตไม่เกิดพร้อมกัน
ศึกษาความจริงของตัวจริงธัมมะตรงที่กายใจกำลังมีกำลังปรากฏว่ามีแล้วเดี๋ยวนี้ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า
ตัวจริงธัมมะทางตาหูจมูกลิ้นกายใจรวม6ทางศึกษาแยกทางให้ละเอียดตรงที่กำลังมีที่กายตรงตามที่กำลังฟัง
https://youtu.be/H5TjXtPDd2Q


"ไม่เกิดปนกัน แต่เกิดร่วมกัน" ยังไง คิกๆๆ ไม่ปนกัน แต่ร่วมกัน

ตัวจริงธัมมะมีลักษณะเฉพาะของตนของตนแต่ละ1ไม่ซ้ำ
เกิดร่วมกันเป็นสหชาตะปัจจัยไม่มีใครทำเหตุทำปัจจัยใดๆ
1ขณะจิตคือจิตรู้นามรูป=จิต+เจตสิก+รูป/รู้ตรงทางตรงวิถี
จิตและเจตสิกรู้อารมณ์เดียวกันและรู้รูปที่มหาภูตรูปไม่มีตัวตน
จิต1ทางมีเจตสิกเกิดร่วม7ชวนะเป็นกลุ่มกุศลหรืออกุศลคนละขณะ
ลักษณะแต่ละ1ไม่ใช่สิ่งเดียวกันจิตคือวิญญาณขันธ์/เจตสิกคือเวทนาสัญญาสังขารขันธ์/รูปคือรูปขันธ์
นิพพานคือนิพพานเที่ยงไม่เกิดไม่ดับและตอนนี้จิตตัวเองรู้ตรงตัวจริงธัมมะไหนตามคำของตถาคตไม่รู้=ไม่รู้
:b55: :b55: :b55:
https://youtu.be/QsvzeRFJ4Ew

ไม่มีใครรู้ความจริงของสิ่งที่กำลังมีจริงๆที่กำลังปรากฏนอกจากพระพุทธเจ้า
และสาวกทุกๆพระองค์ก็ไม่ได้รู้ความจริงแบบพระพุทธเจ้าเข้าใจไหมคะ
บรรลุธรรมตามปัญญาที่สะสมมาถึงระดับนั้นๆตามกำลังสติปัญญา
ไม่ได้ไปทำเพื่อให้รู้แบบตถาคตแต่ฟังแล้วเข้าใจว่าทำตามไม่ได้
มีแต่ศรัทธาฟังคำจริงเพื่อให้สภาพธัมมะที่กำลังเกิดดับปรากฏ
ฟังเพื่อสะสมความรู้ถูกเข้าใจถูกตามคำสอนได้จนกว่านิพพาน
เลือกรู้ไม่ได้เพราะต้องอาศัยเข้าใจตรงทางมาจากการฟังก่อนนะคะ
ความจริงตามปกติตามเป็นจริงตรงตามที่กำลังได้ยินตรงที่จิตตนกำลังมี
และรู้สึกตัวตามได้ว่ามีตรงแล้วจริงๆหรือยังต้องตรงปัจจุบันขณะตั้งแต่ขั้นปรุงแต่งจากการฟังนะคะ
https://m.youtube.com/watch?v=UfA1VPEZRZM
:b12:
:b16: :b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 13:49 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ที่อ้างอิง * คคห. บนตามลำดับ

* “ผัสสะ” และ “สัมผัส” (contact) นี้ ไม่ควรใจสับสนกับความหมายในภาษาไทย แม้คำอื่นๆ คือ อารมณ์ วิญญาณ เวทนา ก็มีความหมายไม่ตรงกันแท้กับที่ใช้ในภาษาไทย

*เวทนา ๖ (feeling)
๑ จักขุสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา
๒. โสตสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู
๓. ฆานสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก
๔. ชิวหาสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
๕. กายสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย
๖ มโนสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ

* อุเบกขา ในเวทนาหมวดนี้ เป็นคนละอย่างกับอุเบกขาในหมวดสังขาร (เช่น อุเบกขาพรหมวิหาร อุเบกขาสัมโพชฌงค์ เป็นต้น)


แต่ละอายตนะแต่ละธาตุแต่ละขันธ์ ไม่เกิดปนกันแต่เกิดร่วมกันได้ และกุศลจิตกับอกุศลจิตไม่เกิดพร้อมกัน
ศึกษาความจริงของตัวจริงธัมมะตรงที่กายใจกำลังมีกำลังปรากฏว่ามีแล้วเดี๋ยวนี้ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า
ตัวจริงธัมมะทางตาหูจมูกลิ้นกายใจรวม6ทางศึกษาแยกทางให้ละเอียดตรงที่กำลังมีที่กายตรงตามที่กำลังฟัง
https://youtu.be/H5TjXtPDd2Q


"ไม่เกิดปนกัน แต่เกิดร่วมกัน" ยังไง คิกๆๆ ไม่ปนกัน แต่ร่วมกัน

ตัวจริงธัมมะมีลักษณะเฉพาะของตนของตนแต่ละ1ไม่ซ้ำ
เกิดร่วมกันเป็นสหชาตะปัจจัยไม่มีใครทำเหตุทำปัจจัยใดๆ
1ขณะจิตคือจิตรู้นามรูป=จิต+เจตสิก+รูป/รู้ตรงทางตรงวิถี
จิตและเจตสิกรู้อารมณ์เดียวกันและรู้รูปที่มหาภูตรูปไม่มีตัวตน
จิต1ทางมีเจตสิกเกิดร่วม7ชวนะเป็นกลุ่มกุศลหรืออกุศลคนละขณะ
ลักษณะแต่ละ1ไม่ใช่สิ่งเดียวกันจิตคือวิญญาณขันธ์/เจตสิกคือเวทนาสัญญาสังขารขันธ์/รูปคือรูปขันธ์
นิพพานคือนิพพานเที่ยงไม่เกิดไม่ดับและตอนนี้จิตตัวเองรู้ตรงตัวจริงธัมมะไหนตามคำของตถาคตไม่รู้=ไม่รู้
:b55: :b55: :b55:
https://youtu.be/QsvzeRFJ4Ew

ไม่มีใครรู้ความจริงของสิ่งที่กำลังมีจริงๆที่กำลังปรากฏนอกจากพระพุทธเจ้า
และสาวกทุกๆพระองค์ก็ไม่ได้รู้ความจริงแบบพระพุทธเจ้าเข้าใจไหมคะ
บรรลุธรรมตามปัญญาที่สะสมมาถึงระดับนั้นๆตามกำลังสติปัญญา
ไม่ได้ไปทำเพื่อให้รู้แบบตถาคตแต่ฟังแล้วเข้าใจว่าทำตามไม่ได้
มีแต่ศรัทธาฟังคำจริงเพื่อให้สภาพธัมมะที่กำลังเกิดดับปรากฏ
ฟังเพื่อสะสมความรู้ถูกเข้าใจถูกตามคำสอนได้จนกว่านิพพาน
เลือกรู้ไม่ได้เพราะต้องอาศัยเข้าใจตรงทางมาจากการฟังก่อนนะคะ
ความจริงตามปกติตามเป็นจริงตรงตามที่กำลังได้ยินตรงที่จิตตนกำลังมี
และรู้สึกตัวตามได้ว่ามีตรงแล้วจริงๆหรือยังต้องตรงปัจจุบันขณะตั้งแต่ขั้นปรุงแต่งจากการฟังนะคะ
https://m.youtube.com/watch?v=UfA1VPEZRZM
:b12:
:b16: :b16:

นรกนะครับ
ขอเตือน 2 เรื่อง
1. ไม่ใช่ทุกคนจะได้นิพพาน
2. นรกมี สวรรค์มี


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 14:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ตัวอย่างช่วยเสริมความเข้าใจเรื่องผัสสะ เวทนา (สุขเวทนา) ตัณหา อุปาทาน ภวะ คคห.บน (ตัดมา)


ฯลฯ กำหนดคำบริกรรมในใจแผ่เมตตาให้สัตว์ทั้งหลายไม่มีประมาณในทิศเบื้องหน้า จากนั้นก็เบื้องหลัง จากนั้นก็เบื้องบน เบื้องล่าง เบื้องซ้าย แล้วก็เบื้องขวา พอครบทุกทิศแล้ว ก็กำหนดแผ่ไปในทุกทิศพร้อมกันไม่มีประมาณ
กำหนดแค่ครั้งเดียวเท่านั้น จากนั้นผมก็รู้สึกเหมือนกายผมขยายตามที่กำหนดแผ่เมตตาไปด้วย รู้สึกว่ากายขยายไปทุกทิศ ความรู้สึกนี้มันเกิดในเวลาแค่แปปเดียว กายขยายไปทุกทิศจนรู้สึกว่ากายหายไป เวลานี้ รู้สึกว่าความรู้สึกของเราเหมือนจุ่มอยู่ในปิติ มีแต่ความสุขไปหมด จากนั้นผมก็คิดขึ้นมาว่า

"มีความสุขขนาดนี้ในโลกด้วยหรือ ความสุขนี้ ดีกว่าความสุขในโลกที่เราเคยพบมาทั้งหมด โอ ความสุขนี้แค่นั่งก็ได้แล้ว คนทั้งโลกมัวแต่วุ่นวายทำอะไรกันอยู่ บางคนทำทุจริตต่างๆเพื่อหาเงินมาสนองความสุขตน ทำไปทำไมนะ มันเทียบกับความสุขที่เกิดจากความสงบนี้ไม่ได้เลย ความสุขนี้ไม่ต้องไขว่คว้ามาก อยู่กับตัวเองแท้ๆ คนในโลกกลับไม่รู้"

จากนั้น ผมก็สังเกตลมหายใจ ก็รู้สึกว่าลมหายใจตอนนี้มันละเอียดมาก ถึงค่อยเข้าใจคำว่าลมหายใจหยาบลมหายใจละเอียดว่าเป็นยังไง ก่อนหน้านี้เข้าใจว่าคือลมหายใจแรงๆเบาๆซะอีก :)

ความรู้สึกจากการเกิดสมาธิครั้งแรกนี้ มันเหมือนจุ่มค้างอยู่ปิติอยู่ แต่ไม่เห็นนิมิตอะไรทั้งสิ้น แต่รู้สึกจิตเวลานี้ไม่มีนิวรณ์เลย คือมีความรู้พร้อมอยู่

จากนั้น ผมก็รู้สึกยินดี กับ สิ่งที่เกิดขึ้นแล้วคิดไปเรื่อยว่า "นี่คือปฐมฌานหรือเปล่านี่ ปฐมฌานเกิดกับเราหรือ"
จนจิตเริ่มไม่เป็นสมาธิ เริ่มปั่นป่วน...ก็เลยหลุดออกมาจากสภาวะนั้น

http://larndham.org/index.php?/topic/27 ... ntry393770

สุขเวทนาชนิดนี้ (นิรามิสสุข) คิดคิดเอาไม่ถึงมันหรอก มันอยู่ลึกลงไปในจิตในใจปกติลงไปอีก

เพียงครั้งแรกทีจิตผมเสวยสุขนั้น สติก็เกิดแยกเด่นเป็นอุเบกขาต่างหากจากเวทนาสุขนั้น ใจมันก็พิจารณาว่า .. อ๋อ .. ที่ครูอาจารย์ให้ระวังติดสุขในสมาธิมันเป็นอย่างนี้เอง .. ใจยังเห็นอีกว่า .. สุขเวทนาต่างหากจากเราไม่เป็นอันเดียวกันเหมือนคนหล่นน้ำ .. และเห็นสุขนั้นเป็นสิ่งแปลกปลอมเป็นอารมณ์อันหยาบ .. เพียงครั่งแรกก็คิดได้อย่างนี้ไม่หลงไปมนสิการทุกข์ว่าเป็นสุข .. แล้วเอามาคุยว่าทำจริง

เพราะอะไร .. ฟังธรรม + โยนิโสมนสิการ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 เม.ย. 2019, 14:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ที่อ้างอิง * คคห. บนตามลำดับ

* “ผัสสะ” และ “สัมผัส” (contact) นี้ ไม่ควรใจสับสนกับความหมายในภาษาไทย แม้คำอื่นๆ คือ อารมณ์ วิญญาณ เวทนา ก็มีความหมายไม่ตรงกันแท้กับที่ใช้ในภาษาไทย

*เวทนา ๖ (feeling)
๑ จักขุสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา
๒. โสตสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู
๓. ฆานสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก
๔. ชิวหาสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
๕. กายสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย
๖ มโนสัมผัสชา เวทนา - เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ

* อุเบกขา ในเวทนาหมวดนี้ เป็นคนละอย่างกับอุเบกขาในหมวดสังขาร (เช่น อุเบกขาพรหมวิหาร อุเบกขาสัมโพชฌงค์ เป็นต้น)


แต่ละอายตนะแต่ละธาตุแต่ละขันธ์ ไม่เกิดปนกันแต่เกิดร่วมกันได้ และกุศลจิตกับอกุศลจิตไม่เกิดพร้อมกัน
ศึกษาความจริงของตัวจริงธัมมะตรงที่กายใจกำลังมีกำลังปรากฏว่ามีแล้วเดี๋ยวนี้ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า
ตัวจริงธัมมะทางตาหูจมูกลิ้นกายใจรวม6ทางศึกษาแยกทางให้ละเอียดตรงที่กำลังมีที่กายตรงตามที่กำลังฟัง
https://youtu.be/H5TjXtPDd2Q


"ไม่เกิดปนกัน แต่เกิดร่วมกัน" ยังไง คิกๆๆ ไม่ปนกัน แต่ร่วมกัน

ตัวจริงธัมมะมีลักษณะเฉพาะของตนของตนแต่ละ1ไม่ซ้ำ
เกิดร่วมกันเป็นสหชาตะปัจจัยไม่มีใครทำเหตุทำปัจจัยใดๆ
1ขณะจิตคือจิตรู้นามรูป=จิต+เจตสิก+รูป/รู้ตรงทางตรงวิถี
จิตและเจตสิกรู้อารมณ์เดียวกันและรู้รูปที่มหาภูตรูปไม่มีตัวตน
จิต1ทางมีเจตสิกเกิดร่วม7ชวนะเป็นกลุ่มกุศลหรืออกุศลคนละขณะ
ลักษณะแต่ละ1ไม่ใช่สิ่งเดียวกันจิตคือวิญญาณขันธ์/เจตสิกคือเวทนาสัญญาสังขารขันธ์/รูปคือรูปขันธ์
นิพพานคือนิพพานเที่ยงไม่เกิดไม่ดับและตอนนี้จิตตัวเองรู้ตรงตัวจริงธัมมะไหนตามคำของตถาคตไม่รู้=ไม่รู้
:b55: :b55: :b55:
https://youtu.be/QsvzeRFJ4Ew

ไม่มีใครรู้ความจริงของสิ่งที่กำลังมีจริงๆที่กำลังปรากฏนอกจากพระพุทธเจ้า
และสาวกทุกๆพระองค์ก็ไม่ได้รู้ความจริงแบบพระพุทธเจ้าเข้าใจไหมคะ
บรรลุธรรมตามปัญญาที่สะสมมาถึงระดับนั้นๆตามกำลังสติปัญญา
ไม่ได้ไปทำเพื่อให้รู้แบบตถาคตแต่ฟังแล้วเข้าใจว่าทำตามไม่ได้
มีแต่ศรัทธาฟังคำจริงเพื่อให้สภาพธัมมะที่กำลังเกิดดับปรากฏ
ฟังเพื่อสะสมความรู้ถูกเข้าใจถูกตามคำสอนได้จนกว่านิพพาน
เลือกรู้ไม่ได้เพราะต้องอาศัยเข้าใจตรงทางมาจากการฟังก่อนนะคะ
ความจริงตามปกติตามเป็นจริงตรงตามที่กำลังได้ยินตรงที่จิตตนกำลังมี
และรู้สึกตัวตามได้ว่ามีตรงแล้วจริงๆหรือยังต้องตรงปัจจุบันขณะตั้งแต่ขั้นปรุงแต่งจากการฟังนะคะ
https://m.youtube.com/watch?v=UfA1VPEZRZM
:b12:
:b16: :b16:

นรกนะครับ
ขอเตือน 2 เรื่อง
1. ไม่ใช่ทุกคนจะได้นิพพาน
2. นรกมี สวรรค์มี

:b12:
ถ้าไม่มีปัญญาแล้วนิพพานหวังไม่ได้ไปไม่ได้ค่ะ
ส่วนนรกมีจริงๆมีจิตเจตสิกรูปไปอุบัติตามกรรม
ตายแล้วเกิดทันทีไปแบบไม่รู้สึกตัวรู้ตัวไหมคะ

3ขณะที่ไม่มีวิถีจิตอ่ะค่ะคือไปแบบไม่รู้สึกตัวค่ะตายแน่ๆ
ขณะที่1คือปฏิสนธิจิต1ขณะ
ขณะที่2คือหลับสนิทยาวหลายชม.แล้วแต่
ขณะที่3คือจุติจิต1ขณะ

ปกติจิตของการเกิดทั้ง31ภพภูมิเลือกเกิดไม่ได้ค่ะไปแบบไม่รู้สึกตัว
จะให้มีสติเกิดก็ไม่ได้เพราะจุติจิตและปฏิสนธิจิตไม่ใช่วิถีจิตที่จะระลึกตามคำสอนตามปกติค่ะ
คือตอนเปลี่ยนภพเข้าร่างใหม่อ่ะคะไม่มีการระลึกนึกคิดตามคำสอนเป็นมโนทวารล้วนๆค่ะ
ไปแบบไม่คิดมันไปเร็วแบบกระพริบตาแล้วไม่รู้ว่าดับแล้วทั้งแสนโกฏิขณะ
ไปแล้วอ่ะค่ะทุกภพภูมิโดยมีจุติจิต1ขณะสุดท้ายของชาตินี้เคลื่อนไปปฏิสนธิ
เลื่อนผ่านภวังค์ไปปฏิสนธิ1ขณะจิตลืมตาในหม้อนรกทันทีที่รู้สึกตัวตื่นลืมตามีวิถีจิตค่ะ
ขอเตือนให้ฟังคำสอนให้เข้าใจก่อนถึงจุติจิต1ขณะสุดท้ายก่อนไม่มีร่างนี้ให้คิดตามคำสอนได้คร่าาาา
:b12:
:b32: :b32:


แก้ไขล่าสุดโดย Rosarin เมื่อ 25 เม.ย. 2019, 18:14, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 94 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 25 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร