ลานธรรมจักร
http://www.dhammajak.net/forums/

ลัทธิหลุมดำ
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=57466
หน้า 3 จากทั้งหมด 3

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 22 เม.ย. 2019, 08:09 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: ลัทธิหลุมดำ

Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สุดท้ายคุณโรสจะไม่ได้อะไรจากลัทธิความเชื่อของตนที่ว่า (นอกจากภาพเบลอๆในใจ) นี้

Rosarin เขียน:

ความจริงที่กำลังมีเดี๋ยวนี้ พระพุทธเจ้า นิยามเรียกว่า ธัมมะ

ธัมมะ คือ สิ่งที่มีจริง ที่มีปัจจัยปรุงแต่งขึ้น และปัจจัยที่ปรุงแต่งนั้นกำลังมีจริงๆไม่มีใครทำขึ้น

แต่มันเกิดขึ้นแล้วปรากฏว่า มีชั่วคราว สั้นแสนสั้น และดับหายไปในจิต

เกิดธัมมะใหม่ตลอดเวลา ที่ไม่มีความจำอันเก่า แต่ความยึดติดจำทุกอย่างเอาไว้ว่า เป็นอัตตา

ไม่มีเราในปัจจัยที่กำลังปรุงแต่งจิต แต่เป็นอุปาทานขันธ์ว่า มีตัวตน คิด พูด ทำ แปลกออกไปจากปกติที่จำผิด

วิปลาสไปจากความจริงตามเหตุปัจจัย และยึดมั่นทุกอย่างที่ตัวตนจดจำปรุงแต่งกิเลสให้มีกำลังโดยขาดสุตะ

https://youtu.be/sp895DPPRHI



ครั้งหนึ่ง อุชชัยพราหมณ์ได้ไปเฝ้าพระพุทธเจ้า และกราบทูลว่า ตนจะไปอยู่ต่างถิ่น จะขอให้พระพุทธองค์แสดงธรรม ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขปัจจุบัน และธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขภายหน้า

พระพุทธเจ้าได้ตรัสว่า

“ดูกรพราหมณ์ ธรรม ๔ ประการนี้ เป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อความสุขปัจจุบัน กล่าวคือ อุฏฐานสัมปทา อารักขสัมปทา กัลยาณมิตตตา สมชีวิตา

๑) อุฏฐานสัมปทา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรหาเลี้ยงชีพด้วยความขยันในการงาน ไม่ว่าจะเป็นกสิกรรม ก็ดี พาณิชยกรรม ก็ดี โครักขกรรม ก็ดี ราชการทหาร ก็ดี ราชการพลเรือน ก็ดี ศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ดี
เธอเป็นผู้ขยัน ชำนิชำนาญ ไม่เกียจคร้าน ในงานนั้น ประกอบด้วยปัญญาเครื่องสอบสวนตรวจตรา รู้จักวิธีปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ สามารถทำ สามารถจัดการ นี้เรียกว่า อุฏฐานสัมปทา

๒) อารักขสัมปทา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรมีโภคทรัพย์ ที่หามาได้ด้วยความขยันหมั่นเพียร เก็บรวบรวมขึ้นด้วยกำลังแขน อย่างอาบเหงื่อต่างน้ำ เป็นของชอบธรรม ได้มาโดยธรรม
เธอจัดการรักษาคุ้มครองทรัพย์เหล่านั้น โดยพิจารณาว่า ทำอย่างไร ราชาทั้งหลายจะไม่พึงริบโภคะเหล่านี้ของเราเสีย พวกโจรไม่พึงลักไปเสีย ไฟไม่พึงไหม้เสีย น้ำไม่พึงพาไปเสีย ทายาทอัปรีย์ก็จะไม่พึงเอาไปเสีย นี้เรียกว่า อารักขสัมปทา

๓) กัลยาณมิตตตา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรเข้าอยู่อาศัยในคามหรือนิคมใดก็ตาม เธอเข้าสนิทสนมสนทนาปราศรัย ถกถ้อยปรึกษา กับท่านที่เป็นคหบดีบ้าง บุตรคหบดีบ้าง พวกคนหนุ่มที่มีความประพฤติเป็นผู้ใหญ่บ้าง คนสูงอายุที่มีความประพฤติเป็นผู้ใหญ่บ้าง ผู้ประกอบด้วยศรัทธา ประกอบด้วยศีล ประกอบด้วยจาคะ ประกอบด้วยปัญญา
เธอศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยศรัทธา ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยศรัทธา ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยศีล ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยศีล ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยจาคะ ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยจาคะ ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยปัญญา ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยปัญญา นี้เรียกว่า กัลยาณมิตตตา

๔) สมชีวิตา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรเลี้ยงชีวิตพอเหมาะ ไม่ให้ฟุ่มเฟือยเกินไป ไม่ให้ฝืดเคืองเกินไป โดยรู้เข้าใจทางเพิ่มพูนและทางลดถอยแห่งโภคทรัพย์ ว่าทำอย่างนี้ รายได้ของเราจึงจะเหนือรายจ่าย และรายจ่ายของเราจึงจักไม่เหนือรายได้
เปรียบเหมือนคนชั่งตาชั่งหรือลูกมือคนชั่งยกตาชั่งขึ้นแล้ว ย่อมรู้ว่าหย่อนไปเท่านั้น หรือเกินไปเท่านี้

“ถ้าหากกุลบุตร นี้ รายได้น้อย แต่เลี้ยงชีวิตอย่างฟุ้งเฟ้อ ก็จะมีผู้กล่าวว่าเอาได้ว่า กุลบุตรผู้นี้ ...กินใช้ทรัพย์สมบัติเหมือนคนกินมะเดื่อ
ถ้ากุลบุตรนี้มีรายได้มาก แต่เลี้ยงชีวิตอย่างฝืดเคือง ก็จะมีผู้กล่าวว่าเอาได้ว่า กุลบุตรผู้นี้ คงจะตายอย่างคนอนาถา แต่เพราะกุลบุตรนี้เลี้ยงชีวิตพอเหมาะ...นี้เรียกว่า สมชีวิตา

"ดูกรพราหมณ์ โภคะที่เกิดขึ้นโดยชอบอย่างนี้แล้ว ย่อมมี อบายมุข ๔ ประการ คือ เป็นนักเลงหญิง เป็นนักเลงสุรา เป็นนักเลงการพนัน มีมิตรชั่วสหายชั่ว ฝักใฝ่ในคนชั่ว
เปรียบเหมือนอ่างเก็บน้ำแหล่งใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง มีทางไหลออก ๔ ทาง หากคนปิดทางน้ำเข้าเสีย เปิดแต่ทางน้ำออก อีกทั้งฝนก็ไม่ตกต้องตามฤดูกาล เมื่อเป็นเช่นนี้ อ่างเก็บน้ำใหญ่นั้น เป็นอันหวังได้แต่ความลดน้อยลงอย่างเดียว ไม่มีความเพิ่มขึ้นได้เลย...

“ดูกรพราหมณ์ โภคะที่เกิดขึ้นโดยชอบอย่างนี้แล้ว ย่อมมี อายมุข ๔ ประการ คือ ไม่เป็นนักเลงหญิง ไม่เป็นนักเลงสุรา ไม่เป็นนักเลงการพนัน มีมิตรดี มีสหายดี ใฝ่ใจในกัลยาณชน
เปรียบเหมือนอ่างเก็บน้ำใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง มีทางไหลออก ๔ ทาง หากคนเปิดทางน้ำเข้า ปิดทางน้ำออก และฝนก็ตกต้องตามฤดูกาล เมื่อเป็นเช่นนี้ อ่างเก็บน้ำใหญ่นั้น เป็นอันหวังได้แต่ความเพิ่มพูนอย่างเดียว ไม่มีความลดน้อยลงเลย...

“ดูกรพราหมณ์ ธรรม ๔ ประการ เหล่านี้แล ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขปัจจุบัน แก่กุลบุตร”

จากนั้น ตรัสแสดงธรรม ๔ ประการ ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขเบื้องหน้า หรือประโยชน์ล้ำเลยตาเห็น (สัมปรายิกัตถะ) คือ สัทธาสัมปทา ศีลสัมปทา จาคสัมปทา และปัญญาสัมปทา *(องฺ.อฏฺฐก.23/145/294)

นั่นใช่ธรรมะไหม ถ้าไม่ใช่ก็แล้วไป ถ้าใช้ก็ลองเทียบกับคคห.คุณโรส ดู

Kiss
สุดท้ายคุณโรสจะไม่ได้อะไร...คืออะไร...พูดทุกคำที่ไม่รู้จักเลยนะ
ถ้าทุกคนอ่านท่องจำคำสอนได้หมดแบบที่คุณก๊อปแปะมีปัญญาเท่าพระพุทธเจ้าหรือคะ555
ไปท่องจำตัวอักษรทำไมก็บอกแล้วอรรถบัญญัติต้องอาศัยฟังเสียงคือสัททะบัญญัติเพื่อเข้าถึงธัมมะ
ไม่ใช่มีตัวตนของเราไปนั่งทำหลับตาเพราะตาไม่บอดหลับตานั่งทำไม่รู้ไม่ชี้ไม่รู้สึกตัวไปตามสัททะบัญญัติ
แล้วทำไมไม่ฟังเพื่อเพิ่มปัญญาให้คิดเห็นถูกเข้าใจถูกตรงตามคำสอนได้ตามปกติทีละ1ทางตามเป็นจริงก่อน
การอ่านเป็นการคิดนึกเกินเห็นตรง1ขณะตามคำสอนเป็นการ1เห็นผิด2จำผิด3ไม่รู้ตรงตามคำสอนทีละคำ
ตาดูหูฟังดูความจริงเทียบตามตำราโดยไม่ขาดการคิดตามตรงคำตรงสัจจะที่กายใจกำลังมีคือพึ่งคำตถาคต
เพื่อทำความคิดเห็นให้ตรงตามคำสอนทีละ1ทางเพราะตัวจริงธัมมะแต่ละทางไม่เกิดปนกันไม่เกิดพร้อมกัน
มันเกิดดับทีละ1ขณะจิตและเป็นคนละขณะจิตมี6ทางการสิกขาต้องคิดตรงตามทีละ1ทางตอนฟังคำตถาคต
พึ่งคำสอนเพื่อให้รู้สึกตัวเกิดความคิดเห็นถูกตรงตามคำสอนตรง1สัจจะของแต่ละ1ทางที่มีไม่ปนทางกันทันที
พึ่งคิดตามตรงคำตรงจริงตรงขณะตามคำสอนตรงกับตัวจริงธัมมะที่กำลังปรากฏว่ากำลังมีจริงๆที่กายใจตน
เดี๋ยวนี้ทุกคำในพระไตรปิฎกกำลังมีเพราะมันเกิดดับถึงแสนล้านขณะจิตอยู่ตอนนี้คุณรู้สึกตัวตรง1ทางไหน


เอาตามที่สบายใจเถอะขอรับ ทำแล้วสบายใจก็เป็นธัมมะ คิกๆๆ

รูปภาพ

เจ้าของ:  Rosarin [ 22 เม.ย. 2019, 08:36 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: ลัทธิหลุมดำ

กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สุดท้ายคุณโรสจะไม่ได้อะไรจากลัทธิความเชื่อของตนที่ว่า (นอกจากภาพเบลอๆในใจ) นี้

Rosarin เขียน:

ความจริงที่กำลังมีเดี๋ยวนี้ พระพุทธเจ้า นิยามเรียกว่า ธัมมะ

ธัมมะ คือ สิ่งที่มีจริง ที่มีปัจจัยปรุงแต่งขึ้น และปัจจัยที่ปรุงแต่งนั้นกำลังมีจริงๆไม่มีใครทำขึ้น

แต่มันเกิดขึ้นแล้วปรากฏว่า มีชั่วคราว สั้นแสนสั้น และดับหายไปในจิต

เกิดธัมมะใหม่ตลอดเวลา ที่ไม่มีความจำอันเก่า แต่ความยึดติดจำทุกอย่างเอาไว้ว่า เป็นอัตตา

ไม่มีเราในปัจจัยที่กำลังปรุงแต่งจิต แต่เป็นอุปาทานขันธ์ว่า มีตัวตน คิด พูด ทำ แปลกออกไปจากปกติที่จำผิด

วิปลาสไปจากความจริงตามเหตุปัจจัย และยึดมั่นทุกอย่างที่ตัวตนจดจำปรุงแต่งกิเลสให้มีกำลังโดยขาดสุตะ

https://youtu.be/sp895DPPRHI



ครั้งหนึ่ง อุชชัยพราหมณ์ได้ไปเฝ้าพระพุทธเจ้า และกราบทูลว่า ตนจะไปอยู่ต่างถิ่น จะขอให้พระพุทธองค์แสดงธรรม ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขปัจจุบัน และธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขภายหน้า

พระพุทธเจ้าได้ตรัสว่า

“ดูกรพราหมณ์ ธรรม ๔ ประการนี้ เป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อความสุขปัจจุบัน กล่าวคือ อุฏฐานสัมปทา อารักขสัมปทา กัลยาณมิตตตา สมชีวิตา

๑) อุฏฐานสัมปทา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรหาเลี้ยงชีพด้วยความขยันในการงาน ไม่ว่าจะเป็นกสิกรรม ก็ดี พาณิชยกรรม ก็ดี โครักขกรรม ก็ดี ราชการทหาร ก็ดี ราชการพลเรือน ก็ดี ศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ดี
เธอเป็นผู้ขยัน ชำนิชำนาญ ไม่เกียจคร้าน ในงานนั้น ประกอบด้วยปัญญาเครื่องสอบสวนตรวจตรา รู้จักวิธีปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ สามารถทำ สามารถจัดการ นี้เรียกว่า อุฏฐานสัมปทา

๒) อารักขสัมปทา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรมีโภคทรัพย์ ที่หามาได้ด้วยความขยันหมั่นเพียร เก็บรวบรวมขึ้นด้วยกำลังแขน อย่างอาบเหงื่อต่างน้ำ เป็นของชอบธรรม ได้มาโดยธรรม
เธอจัดการรักษาคุ้มครองทรัพย์เหล่านั้น โดยพิจารณาว่า ทำอย่างไร ราชาทั้งหลายจะไม่พึงริบโภคะเหล่านี้ของเราเสีย พวกโจรไม่พึงลักไปเสีย ไฟไม่พึงไหม้เสีย น้ำไม่พึงพาไปเสีย ทายาทอัปรีย์ก็จะไม่พึงเอาไปเสีย นี้เรียกว่า อารักขสัมปทา

๓) กัลยาณมิตตตา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรเข้าอยู่อาศัยในคามหรือนิคมใดก็ตาม เธอเข้าสนิทสนมสนทนาปราศรัย ถกถ้อยปรึกษา กับท่านที่เป็นคหบดีบ้าง บุตรคหบดีบ้าง พวกคนหนุ่มที่มีความประพฤติเป็นผู้ใหญ่บ้าง คนสูงอายุที่มีความประพฤติเป็นผู้ใหญ่บ้าง ผู้ประกอบด้วยศรัทธา ประกอบด้วยศีล ประกอบด้วยจาคะ ประกอบด้วยปัญญา
เธอศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยศรัทธา ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยศรัทธา ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยศีล ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยศีล ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยจาคะ ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยจาคะ ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยปัญญา ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยปัญญา นี้เรียกว่า กัลยาณมิตตตา

๔) สมชีวิตา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรเลี้ยงชีวิตพอเหมาะ ไม่ให้ฟุ่มเฟือยเกินไป ไม่ให้ฝืดเคืองเกินไป โดยรู้เข้าใจทางเพิ่มพูนและทางลดถอยแห่งโภคทรัพย์ ว่าทำอย่างนี้ รายได้ของเราจึงจะเหนือรายจ่าย และรายจ่ายของเราจึงจักไม่เหนือรายได้
เปรียบเหมือนคนชั่งตาชั่งหรือลูกมือคนชั่งยกตาชั่งขึ้นแล้ว ย่อมรู้ว่าหย่อนไปเท่านั้น หรือเกินไปเท่านี้

“ถ้าหากกุลบุตร นี้ รายได้น้อย แต่เลี้ยงชีวิตอย่างฟุ้งเฟ้อ ก็จะมีผู้กล่าวว่าเอาได้ว่า กุลบุตรผู้นี้ ...กินใช้ทรัพย์สมบัติเหมือนคนกินมะเดื่อ
ถ้ากุลบุตรนี้มีรายได้มาก แต่เลี้ยงชีวิตอย่างฝืดเคือง ก็จะมีผู้กล่าวว่าเอาได้ว่า กุลบุตรผู้นี้ คงจะตายอย่างคนอนาถา แต่เพราะกุลบุตรนี้เลี้ยงชีวิตพอเหมาะ...นี้เรียกว่า สมชีวิตา

"ดูกรพราหมณ์ โภคะที่เกิดขึ้นโดยชอบอย่างนี้แล้ว ย่อมมี อบายมุข ๔ ประการ คือ เป็นนักเลงหญิง เป็นนักเลงสุรา เป็นนักเลงการพนัน มีมิตรชั่วสหายชั่ว ฝักใฝ่ในคนชั่ว
เปรียบเหมือนอ่างเก็บน้ำแหล่งใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง มีทางไหลออก ๔ ทาง หากคนปิดทางน้ำเข้าเสีย เปิดแต่ทางน้ำออก อีกทั้งฝนก็ไม่ตกต้องตามฤดูกาล เมื่อเป็นเช่นนี้ อ่างเก็บน้ำใหญ่นั้น เป็นอันหวังได้แต่ความลดน้อยลงอย่างเดียว ไม่มีความเพิ่มขึ้นได้เลย...

“ดูกรพราหมณ์ โภคะที่เกิดขึ้นโดยชอบอย่างนี้แล้ว ย่อมมี อายมุข ๔ ประการ คือ ไม่เป็นนักเลงหญิง ไม่เป็นนักเลงสุรา ไม่เป็นนักเลงการพนัน มีมิตรดี มีสหายดี ใฝ่ใจในกัลยาณชน
เปรียบเหมือนอ่างเก็บน้ำใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง มีทางไหลออก ๔ ทาง หากคนเปิดทางน้ำเข้า ปิดทางน้ำออก และฝนก็ตกต้องตามฤดูกาล เมื่อเป็นเช่นนี้ อ่างเก็บน้ำใหญ่นั้น เป็นอันหวังได้แต่ความเพิ่มพูนอย่างเดียว ไม่มีความลดน้อยลงเลย...

“ดูกรพราหมณ์ ธรรม ๔ ประการ เหล่านี้แล ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขปัจจุบัน แก่กุลบุตร”

จากนั้น ตรัสแสดงธรรม ๔ ประการ ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขเบื้องหน้า หรือประโยชน์ล้ำเลยตาเห็น (สัมปรายิกัตถะ) คือ สัทธาสัมปทา ศีลสัมปทา จาคสัมปทา และปัญญาสัมปทา *(องฺ.อฏฺฐก.23/145/294)

นั่นใช่ธรรมะไหม ถ้าไม่ใช่ก็แล้วไป ถ้าใช้ก็ลองเทียบกับคคห.คุณโรส ดู

Kiss
สุดท้ายคุณโรสจะไม่ได้อะไร...คืออะไร...พูดทุกคำที่ไม่รู้จักเลยนะ
ถ้าทุกคนอ่านท่องจำคำสอนได้หมดแบบที่คุณก๊อปแปะมีปัญญาเท่าพระพุทธเจ้าหรือคะ555
ไปท่องจำตัวอักษรทำไมก็บอกแล้วอรรถบัญญัติต้องอาศัยฟังเสียงคือสัททะบัญญัติเพื่อเข้าถึงธัมมะ
ไม่ใช่มีตัวตนของเราไปนั่งทำหลับตาเพราะตาไม่บอดหลับตานั่งทำไม่รู้ไม่ชี้ไม่รู้สึกตัวไปตามสัททะบัญญัติ
แล้วทำไมไม่ฟังเพื่อเพิ่มปัญญาให้คิดเห็นถูกเข้าใจถูกตรงตามคำสอนได้ตามปกติทีละ1ทางตามเป็นจริงก่อน
การอ่านเป็นการคิดนึกเกินเห็นตรง1ขณะตามคำสอนเป็นการ1เห็นผิด2จำผิด3ไม่รู้ตรงตามคำสอนทีละคำ
ตาดูหูฟังดูความจริงเทียบตามตำราโดยไม่ขาดการคิดตามตรงคำตรงสัจจะที่กายใจกำลังมีคือพึ่งคำตถาคต
เพื่อทำความคิดเห็นให้ตรงตามคำสอนทีละ1ทางเพราะตัวจริงธัมมะแต่ละทางไม่เกิดปนกันไม่เกิดพร้อมกัน
มันเกิดดับทีละ1ขณะจิตและเป็นคนละขณะจิตมี6ทางการสิกขาต้องคิดตรงตามทีละ1ทางตอนฟังคำตถาคต
พึ่งคำสอนเพื่อให้รู้สึกตัวเกิดความคิดเห็นถูกตรงตามคำสอนตรง1สัจจะของแต่ละ1ทางที่มีไม่ปนทางกันทันที
พึ่งคิดตามตรงคำตรงจริงตรงขณะตามคำสอนตรงกับตัวจริงธัมมะที่กำลังปรากฏว่ากำลังมีจริงๆที่กายใจตน
เดี๋ยวนี้ทุกคำในพระไตรปิฎกกำลังมีเพราะมันเกิดดับถึงแสนล้านขณะจิตอยู่ตอนนี้คุณรู้สึกตัวตรง1ทางไหน


เอาตามที่สบายใจเถอะขอรับ ทำแล้วสบายใจก็เป็นธัมมะ คิกๆๆ

รูปภาพ

คำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นความจริงตรงปัจจุบันขณะ
ก็ดูพฤติกรรมตัวเองให้มันตรงตามคำสอนตรงเดี๋ยวนี้
ปัจจุบันขณะไม่มีตัวจริงของธัมมะนอกกายใจตัวเอง
ดูสิ่งที่ตัวเองส่งออกไปดูและเอาตัวเองไปทำอะไร
ก็บอกว่าทุกคำในพระไตรปิฎกมีตรงเดี๋ยวนี้
ตัวเองรู้ตรงกับคำไหนตรง1สัจจะที่กำลังมี
ไม่รู้แปลว่าความจริงปรากฏกับอวิชชาแล้ว...บอกไม่ฟัง555
https://youtu.be/sWTvIgiC45M
:b12:
:b16: :b16:

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 22 เม.ย. 2019, 10:00 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: ลัทธิหลุมดำ

Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สุดท้ายคุณโรสจะไม่ได้อะไรจากลัทธิความเชื่อของตนที่ว่า (นอกจากภาพเบลอๆในใจ) นี้

Rosarin เขียน:

ความจริงที่กำลังมีเดี๋ยวนี้ พระพุทธเจ้า นิยามเรียกว่า ธัมมะ

ธัมมะ คือ สิ่งที่มีจริง ที่มีปัจจัยปรุงแต่งขึ้น และปัจจัยที่ปรุงแต่งนั้นกำลังมีจริงๆไม่มีใครทำขึ้น

แต่มันเกิดขึ้นแล้วปรากฏว่า มีชั่วคราว สั้นแสนสั้น และดับหายไปในจิต

เกิดธัมมะใหม่ตลอดเวลา ที่ไม่มีความจำอันเก่า แต่ความยึดติดจำทุกอย่างเอาไว้ว่า เป็นอัตตา

ไม่มีเราในปัจจัยที่กำลังปรุงแต่งจิต แต่เป็นอุปาทานขันธ์ว่า มีตัวตน คิด พูด ทำ แปลกออกไปจากปกติที่จำผิด

วิปลาสไปจากความจริงตามเหตุปัจจัย และยึดมั่นทุกอย่างที่ตัวตนจดจำปรุงแต่งกิเลสให้มีกำลังโดยขาดสุตะ

https://youtu.be/sp895DPPRHI



ครั้งหนึ่ง อุชชัยพราหมณ์ได้ไปเฝ้าพระพุทธเจ้า และกราบทูลว่า ตนจะไปอยู่ต่างถิ่น จะขอให้พระพุทธองค์แสดงธรรม ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขปัจจุบัน และธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขภายหน้า

พระพุทธเจ้าได้ตรัสว่า

“ดูกรพราหมณ์ ธรรม ๔ ประการนี้ เป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อความสุขปัจจุบัน กล่าวคือ อุฏฐานสัมปทา อารักขสัมปทา กัลยาณมิตตตา สมชีวิตา

๑) อุฏฐานสัมปทา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรหาเลี้ยงชีพด้วยความขยันในการงาน ไม่ว่าจะเป็นกสิกรรม ก็ดี พาณิชยกรรม ก็ดี โครักขกรรม ก็ดี ราชการทหาร ก็ดี ราชการพลเรือน ก็ดี ศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ดี
เธอเป็นผู้ขยัน ชำนิชำนาญ ไม่เกียจคร้าน ในงานนั้น ประกอบด้วยปัญญาเครื่องสอบสวนตรวจตรา รู้จักวิธีปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ สามารถทำ สามารถจัดการ นี้เรียกว่า อุฏฐานสัมปทา

๒) อารักขสัมปทา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรมีโภคทรัพย์ ที่หามาได้ด้วยความขยันหมั่นเพียร เก็บรวบรวมขึ้นด้วยกำลังแขน อย่างอาบเหงื่อต่างน้ำ เป็นของชอบธรรม ได้มาโดยธรรม
เธอจัดการรักษาคุ้มครองทรัพย์เหล่านั้น โดยพิจารณาว่า ทำอย่างไร ราชาทั้งหลายจะไม่พึงริบโภคะเหล่านี้ของเราเสีย พวกโจรไม่พึงลักไปเสีย ไฟไม่พึงไหม้เสีย น้ำไม่พึงพาไปเสีย ทายาทอัปรีย์ก็จะไม่พึงเอาไปเสีย นี้เรียกว่า อารักขสัมปทา

๓) กัลยาณมิตตตา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรเข้าอยู่อาศัยในคามหรือนิคมใดก็ตาม เธอเข้าสนิทสนมสนทนาปราศรัย ถกถ้อยปรึกษา กับท่านที่เป็นคหบดีบ้าง บุตรคหบดีบ้าง พวกคนหนุ่มที่มีความประพฤติเป็นผู้ใหญ่บ้าง คนสูงอายุที่มีความประพฤติเป็นผู้ใหญ่บ้าง ผู้ประกอบด้วยศรัทธา ประกอบด้วยศีล ประกอบด้วยจาคะ ประกอบด้วยปัญญา
เธอศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยศรัทธา ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยศรัทธา ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยศีล ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยศีล ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยจาคะ ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยจาคะ ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยปัญญา ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยปัญญา นี้เรียกว่า กัลยาณมิตตตา

๔) สมชีวิตา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรเลี้ยงชีวิตพอเหมาะ ไม่ให้ฟุ่มเฟือยเกินไป ไม่ให้ฝืดเคืองเกินไป โดยรู้เข้าใจทางเพิ่มพูนและทางลดถอยแห่งโภคทรัพย์ ว่าทำอย่างนี้ รายได้ของเราจึงจะเหนือรายจ่าย และรายจ่ายของเราจึงจักไม่เหนือรายได้
เปรียบเหมือนคนชั่งตาชั่งหรือลูกมือคนชั่งยกตาชั่งขึ้นแล้ว ย่อมรู้ว่าหย่อนไปเท่านั้น หรือเกินไปเท่านี้

“ถ้าหากกุลบุตร นี้ รายได้น้อย แต่เลี้ยงชีวิตอย่างฟุ้งเฟ้อ ก็จะมีผู้กล่าวว่าเอาได้ว่า กุลบุตรผู้นี้ ...กินใช้ทรัพย์สมบัติเหมือนคนกินมะเดื่อ
ถ้ากุลบุตรนี้มีรายได้มาก แต่เลี้ยงชีวิตอย่างฝืดเคือง ก็จะมีผู้กล่าวว่าเอาได้ว่า กุลบุตรผู้นี้ คงจะตายอย่างคนอนาถา แต่เพราะกุลบุตรนี้เลี้ยงชีวิตพอเหมาะ...นี้เรียกว่า สมชีวิตา

"ดูกรพราหมณ์ โภคะที่เกิดขึ้นโดยชอบอย่างนี้แล้ว ย่อมมี อบายมุข ๔ ประการ คือ เป็นนักเลงหญิง เป็นนักเลงสุรา เป็นนักเลงการพนัน มีมิตรชั่วสหายชั่ว ฝักใฝ่ในคนชั่ว
เปรียบเหมือนอ่างเก็บน้ำแหล่งใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง มีทางไหลออก ๔ ทาง หากคนปิดทางน้ำเข้าเสีย เปิดแต่ทางน้ำออก อีกทั้งฝนก็ไม่ตกต้องตามฤดูกาล เมื่อเป็นเช่นนี้ อ่างเก็บน้ำใหญ่นั้น เป็นอันหวังได้แต่ความลดน้อยลงอย่างเดียว ไม่มีความเพิ่มขึ้นได้เลย...

“ดูกรพราหมณ์ โภคะที่เกิดขึ้นโดยชอบอย่างนี้แล้ว ย่อมมี อายมุข ๔ ประการ คือ ไม่เป็นนักเลงหญิง ไม่เป็นนักเลงสุรา ไม่เป็นนักเลงการพนัน มีมิตรดี มีสหายดี ใฝ่ใจในกัลยาณชน
เปรียบเหมือนอ่างเก็บน้ำใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง มีทางไหลออก ๔ ทาง หากคนเปิดทางน้ำเข้า ปิดทางน้ำออก และฝนก็ตกต้องตามฤดูกาล เมื่อเป็นเช่นนี้ อ่างเก็บน้ำใหญ่นั้น เป็นอันหวังได้แต่ความเพิ่มพูนอย่างเดียว ไม่มีความลดน้อยลงเลย...

“ดูกรพราหมณ์ ธรรม ๔ ประการ เหล่านี้แล ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขปัจจุบัน แก่กุลบุตร”

จากนั้น ตรัสแสดงธรรม ๔ ประการ ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขเบื้องหน้า หรือประโยชน์ล้ำเลยตาเห็น (สัมปรายิกัตถะ) คือ สัทธาสัมปทา ศีลสัมปทา จาคสัมปทา และปัญญาสัมปทา *(องฺ.อฏฺฐก.23/145/294)

นั่นใช่ธรรมะไหม ถ้าไม่ใช่ก็แล้วไป ถ้าใช้ก็ลองเทียบกับคคห.คุณโรส ดู

Kiss
สุดท้ายคุณโรสจะไม่ได้อะไร...คืออะไร...พูดทุกคำที่ไม่รู้จักเลยนะ
ถ้าทุกคนอ่านท่องจำคำสอนได้หมดแบบที่คุณก๊อปแปะมีปัญญาเท่าพระพุทธเจ้าหรือคะ555
ไปท่องจำตัวอักษรทำไมก็บอกแล้วอรรถบัญญัติต้องอาศัยฟังเสียงคือสัททะบัญญัติเพื่อเข้าถึงธัมมะ
ไม่ใช่มีตัวตนของเราไปนั่งทำหลับตาเพราะตาไม่บอดหลับตานั่งทำไม่รู้ไม่ชี้ไม่รู้สึกตัวไปตามสัททะบัญญัติ
แล้วทำไมไม่ฟังเพื่อเพิ่มปัญญาให้คิดเห็นถูกเข้าใจถูกตรงตามคำสอนได้ตามปกติทีละ1ทางตามเป็นจริงก่อน
การอ่านเป็นการคิดนึกเกินเห็นตรง1ขณะตามคำสอนเป็นการ1เห็นผิด2จำผิด3ไม่รู้ตรงตามคำสอนทีละคำ
ตาดูหูฟังดูความจริงเทียบตามตำราโดยไม่ขาดการคิดตามตรงคำตรงสัจจะที่กายใจกำลังมีคือพึ่งคำตถาคต
เพื่อทำความคิดเห็นให้ตรงตามคำสอนทีละ1ทางเพราะตัวจริงธัมมะแต่ละทางไม่เกิดปนกันไม่เกิดพร้อมกัน
มันเกิดดับทีละ1ขณะจิตและเป็นคนละขณะจิตมี6ทางการสิกขาต้องคิดตรงตามทีละ1ทางตอนฟังคำตถาคต
พึ่งคำสอนเพื่อให้รู้สึกตัวเกิดความคิดเห็นถูกตรงตามคำสอนตรง1สัจจะของแต่ละ1ทางที่มีไม่ปนทางกันทันที
พึ่งคิดตามตรงคำตรงจริงตรงขณะตามคำสอนตรงกับตัวจริงธัมมะที่กำลังปรากฏว่ากำลังมีจริงๆที่กายใจตน
เดี๋ยวนี้ทุกคำในพระไตรปิฎกกำลังมีเพราะมันเกิดดับถึงแสนล้านขณะจิตอยู่ตอนนี้คุณรู้สึกตัวตรง1ทางไหน


เอาตามที่สบายใจเถอะขอรับ ทำแล้วสบายใจก็เป็นธัมมะ คิกๆๆ

รูปภาพ

คำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นความจริงตรงปัจจุบันขณะ
ก็ดูพฤติกรรมตัวเองให้มันตรงตามคำสอนตรงเดี๋ยวนี้
ปัจจุบันขณะไม่มีตัวจริงของธัมมะนอกกายใจตัวเอง
ดูสิ่งที่ตัวเองส่งออกไปดูและเอาตัวเองไปทำอะไร
ก็บอกว่าทุกคำในพระไตรปิฎกมีตรงเดี๋ยวนี้
ตัวเองรู้ตรงกับคำไหนตรง1สัจจะที่กำลังมี
ไม่รู้แปลว่าความจริงปรากฏกับอวิชชาแล้ว...บอกไม่ฟัง555
https://youtu.be/sWTvIgiC45M
:b12:
:b16: :b16:



มาอีกแระ ปัจจุบันขณะ

ว่าชัดๆสิขอรับโผม ปัจจุบันขณะ ตามที่คุณโรสคิดเนี่ยได้แก่อะไร ว่าไป

เจ้าของ:  Rosarin [ 22 เม.ย. 2019, 14:33 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: ลัทธิหลุมดำ

กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สุดท้ายคุณโรสจะไม่ได้อะไรจากลัทธิความเชื่อของตนที่ว่า (นอกจากภาพเบลอๆในใจ) นี้

Rosarin เขียน:

ความจริงที่กำลังมีเดี๋ยวนี้ พระพุทธเจ้า นิยามเรียกว่า ธัมมะ

ธัมมะ คือ สิ่งที่มีจริง ที่มีปัจจัยปรุงแต่งขึ้น และปัจจัยที่ปรุงแต่งนั้นกำลังมีจริงๆไม่มีใครทำขึ้น

แต่มันเกิดขึ้นแล้วปรากฏว่า มีชั่วคราว สั้นแสนสั้น และดับหายไปในจิต

เกิดธัมมะใหม่ตลอดเวลา ที่ไม่มีความจำอันเก่า แต่ความยึดติดจำทุกอย่างเอาไว้ว่า เป็นอัตตา

ไม่มีเราในปัจจัยที่กำลังปรุงแต่งจิต แต่เป็นอุปาทานขันธ์ว่า มีตัวตน คิด พูด ทำ แปลกออกไปจากปกติที่จำผิด

วิปลาสไปจากความจริงตามเหตุปัจจัย และยึดมั่นทุกอย่างที่ตัวตนจดจำปรุงแต่งกิเลสให้มีกำลังโดยขาดสุตะ

https://youtu.be/sp895DPPRHI



ครั้งหนึ่ง อุชชัยพราหมณ์ได้ไปเฝ้าพระพุทธเจ้า และกราบทูลว่า ตนจะไปอยู่ต่างถิ่น จะขอให้พระพุทธองค์แสดงธรรม ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขปัจจุบัน และธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขภายหน้า

พระพุทธเจ้าได้ตรัสว่า

“ดูกรพราหมณ์ ธรรม ๔ ประการนี้ เป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อความสุขปัจจุบัน กล่าวคือ อุฏฐานสัมปทา อารักขสัมปทา กัลยาณมิตตตา สมชีวิตา

๑) อุฏฐานสัมปทา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรหาเลี้ยงชีพด้วยความขยันในการงาน ไม่ว่าจะเป็นกสิกรรม ก็ดี พาณิชยกรรม ก็ดี โครักขกรรม ก็ดี ราชการทหาร ก็ดี ราชการพลเรือน ก็ดี ศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ดี
เธอเป็นผู้ขยัน ชำนิชำนาญ ไม่เกียจคร้าน ในงานนั้น ประกอบด้วยปัญญาเครื่องสอบสวนตรวจตรา รู้จักวิธีปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ สามารถทำ สามารถจัดการ นี้เรียกว่า อุฏฐานสัมปทา

๒) อารักขสัมปทา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรมีโภคทรัพย์ ที่หามาได้ด้วยความขยันหมั่นเพียร เก็บรวบรวมขึ้นด้วยกำลังแขน อย่างอาบเหงื่อต่างน้ำ เป็นของชอบธรรม ได้มาโดยธรรม
เธอจัดการรักษาคุ้มครองทรัพย์เหล่านั้น โดยพิจารณาว่า ทำอย่างไร ราชาทั้งหลายจะไม่พึงริบโภคะเหล่านี้ของเราเสีย พวกโจรไม่พึงลักไปเสีย ไฟไม่พึงไหม้เสีย น้ำไม่พึงพาไปเสีย ทายาทอัปรีย์ก็จะไม่พึงเอาไปเสีย นี้เรียกว่า อารักขสัมปทา

๓) กัลยาณมิตตตา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรเข้าอยู่อาศัยในคามหรือนิคมใดก็ตาม เธอเข้าสนิทสนมสนทนาปราศรัย ถกถ้อยปรึกษา กับท่านที่เป็นคหบดีบ้าง บุตรคหบดีบ้าง พวกคนหนุ่มที่มีความประพฤติเป็นผู้ใหญ่บ้าง คนสูงอายุที่มีความประพฤติเป็นผู้ใหญ่บ้าง ผู้ประกอบด้วยศรัทธา ประกอบด้วยศีล ประกอบด้วยจาคะ ประกอบด้วยปัญญา
เธอศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยศรัทธา ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยศรัทธา ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยศีล ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยศีล ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยจาคะ ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยจาคะ ศึกษาเยี่ยงอย่างความเพียบพร้อมด้วยปัญญา ของท่านผู้เพียบพร้อมด้วยปัญญา นี้เรียกว่า กัลยาณมิตตตา

๔) สมชีวิตา เป็นไฉน ? คือ กุลบุตรเลี้ยงชีวิตพอเหมาะ ไม่ให้ฟุ่มเฟือยเกินไป ไม่ให้ฝืดเคืองเกินไป โดยรู้เข้าใจทางเพิ่มพูนและทางลดถอยแห่งโภคทรัพย์ ว่าทำอย่างนี้ รายได้ของเราจึงจะเหนือรายจ่าย และรายจ่ายของเราจึงจักไม่เหนือรายได้
เปรียบเหมือนคนชั่งตาชั่งหรือลูกมือคนชั่งยกตาชั่งขึ้นแล้ว ย่อมรู้ว่าหย่อนไปเท่านั้น หรือเกินไปเท่านี้

“ถ้าหากกุลบุตร นี้ รายได้น้อย แต่เลี้ยงชีวิตอย่างฟุ้งเฟ้อ ก็จะมีผู้กล่าวว่าเอาได้ว่า กุลบุตรผู้นี้ ...กินใช้ทรัพย์สมบัติเหมือนคนกินมะเดื่อ
ถ้ากุลบุตรนี้มีรายได้มาก แต่เลี้ยงชีวิตอย่างฝืดเคือง ก็จะมีผู้กล่าวว่าเอาได้ว่า กุลบุตรผู้นี้ คงจะตายอย่างคนอนาถา แต่เพราะกุลบุตรนี้เลี้ยงชีวิตพอเหมาะ...นี้เรียกว่า สมชีวิตา

"ดูกรพราหมณ์ โภคะที่เกิดขึ้นโดยชอบอย่างนี้แล้ว ย่อมมี อบายมุข ๔ ประการ คือ เป็นนักเลงหญิง เป็นนักเลงสุรา เป็นนักเลงการพนัน มีมิตรชั่วสหายชั่ว ฝักใฝ่ในคนชั่ว
เปรียบเหมือนอ่างเก็บน้ำแหล่งใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง มีทางไหลออก ๔ ทาง หากคนปิดทางน้ำเข้าเสีย เปิดแต่ทางน้ำออก อีกทั้งฝนก็ไม่ตกต้องตามฤดูกาล เมื่อเป็นเช่นนี้ อ่างเก็บน้ำใหญ่นั้น เป็นอันหวังได้แต่ความลดน้อยลงอย่างเดียว ไม่มีความเพิ่มขึ้นได้เลย...

“ดูกรพราหมณ์ โภคะที่เกิดขึ้นโดยชอบอย่างนี้แล้ว ย่อมมี อายมุข ๔ ประการ คือ ไม่เป็นนักเลงหญิง ไม่เป็นนักเลงสุรา ไม่เป็นนักเลงการพนัน มีมิตรดี มีสหายดี ใฝ่ใจในกัลยาณชน
เปรียบเหมือนอ่างเก็บน้ำใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง มีทางไหลออก ๔ ทาง หากคนเปิดทางน้ำเข้า ปิดทางน้ำออก และฝนก็ตกต้องตามฤดูกาล เมื่อเป็นเช่นนี้ อ่างเก็บน้ำใหญ่นั้น เป็นอันหวังได้แต่ความเพิ่มพูนอย่างเดียว ไม่มีความลดน้อยลงเลย...

“ดูกรพราหมณ์ ธรรม ๔ ประการ เหล่านี้แล ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขปัจจุบัน แก่กุลบุตร”

จากนั้น ตรัสแสดงธรรม ๔ ประการ ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขเบื้องหน้า หรือประโยชน์ล้ำเลยตาเห็น (สัมปรายิกัตถะ) คือ สัทธาสัมปทา ศีลสัมปทา จาคสัมปทา และปัญญาสัมปทา *(องฺ.อฏฺฐก.23/145/294)

นั่นใช่ธรรมะไหม ถ้าไม่ใช่ก็แล้วไป ถ้าใช้ก็ลองเทียบกับคคห.คุณโรส ดู

Kiss
สุดท้ายคุณโรสจะไม่ได้อะไร...คืออะไร...พูดทุกคำที่ไม่รู้จักเลยนะ
ถ้าทุกคนอ่านท่องจำคำสอนได้หมดแบบที่คุณก๊อปแปะมีปัญญาเท่าพระพุทธเจ้าหรือคะ555
ไปท่องจำตัวอักษรทำไมก็บอกแล้วอรรถบัญญัติต้องอาศัยฟังเสียงคือสัททะบัญญัติเพื่อเข้าถึงธัมมะ
ไม่ใช่มีตัวตนของเราไปนั่งทำหลับตาเพราะตาไม่บอดหลับตานั่งทำไม่รู้ไม่ชี้ไม่รู้สึกตัวไปตามสัททะบัญญัติ
แล้วทำไมไม่ฟังเพื่อเพิ่มปัญญาให้คิดเห็นถูกเข้าใจถูกตรงตามคำสอนได้ตามปกติทีละ1ทางตามเป็นจริงก่อน
การอ่านเป็นการคิดนึกเกินเห็นตรง1ขณะตามคำสอนเป็นการ1เห็นผิด2จำผิด3ไม่รู้ตรงตามคำสอนทีละคำ
ตาดูหูฟังดูความจริงเทียบตามตำราโดยไม่ขาดการคิดตามตรงคำตรงสัจจะที่กายใจกำลังมีคือพึ่งคำตถาคต
เพื่อทำความคิดเห็นให้ตรงตามคำสอนทีละ1ทางเพราะตัวจริงธัมมะแต่ละทางไม่เกิดปนกันไม่เกิดพร้อมกัน
มันเกิดดับทีละ1ขณะจิตและเป็นคนละขณะจิตมี6ทางการสิกขาต้องคิดตรงตามทีละ1ทางตอนฟังคำตถาคต
พึ่งคำสอนเพื่อให้รู้สึกตัวเกิดความคิดเห็นถูกตรงตามคำสอนตรง1สัจจะของแต่ละ1ทางที่มีไม่ปนทางกันทันที
พึ่งคิดตามตรงคำตรงจริงตรงขณะตามคำสอนตรงกับตัวจริงธัมมะที่กำลังปรากฏว่ากำลังมีจริงๆที่กายใจตน
เดี๋ยวนี้ทุกคำในพระไตรปิฎกกำลังมีเพราะมันเกิดดับถึงแสนล้านขณะจิตอยู่ตอนนี้คุณรู้สึกตัวตรง1ทางไหน


เอาตามที่สบายใจเถอะขอรับ ทำแล้วสบายใจก็เป็นธัมมะ คิกๆๆ

รูปภาพ

คำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นความจริงตรงปัจจุบันขณะ
ก็ดูพฤติกรรมตัวเองให้มันตรงตามคำสอนตรงเดี๋ยวนี้
ปัจจุบันขณะไม่มีตัวจริงของธัมมะนอกกายใจตัวเอง
ดูสิ่งที่ตัวเองส่งออกไปดูและเอาตัวเองไปทำอะไร
ก็บอกว่าทุกคำในพระไตรปิฎกมีตรงเดี๋ยวนี้
ตัวเองรู้ตรงกับคำไหนตรง1สัจจะที่กำลังมี
ไม่รู้แปลว่าความจริงปรากฏกับอวิชชาแล้ว...บอกไม่ฟัง555
https://youtu.be/sWTvIgiC45M
:b12:
:b16: :b16:



มาอีกแระ ปัจจุบันขณะ

ว่าชัดๆสิขอรับโผม ปัจจุบันขณะ ตามที่คุณโรสคิดเนี่ยได้แก่อะไร ว่าไป

:b12:
ความจริงตามคำสอนที่กำลังมีจริงๆตรงปัจจุบันขณะไม่อยู่นอกกายคุณ
ธัมมะคือสิ่งที่มีจริงที่กำลังมีจริงๆตรงปรมัตถสัจจะตรงที่คุณรู้สึกตัวตอนนี้
คุณจะไปไหนจะไปทำอะไรเป็นไปตามตัวตนของคุณคิดพูดทำลืมคิดตามคำสอน
เพราะปัจจุบันเท่านั้นที่กำลังมีจริงๆอดีตก็ผ่านไปแล้วอนาคตก็ยังมาไม่ถึงมันมีแล้วไม่ได้ทำแต่ไม่รู้ว่ามีไงคะ
:b32: :b32:

หน้า 3 จากทั้งหมด 3 เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group
http://www.phpbb.com/