วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 08:13  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 35 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 เม.ย. 2019, 20:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
ตรงนี้เป็นเรื่องของผู้ที่ติดอุปกิเลส เพียงแต่ว่า ไม่รู้ว่าว่าติดกับดักหลุมพรางของกิเลส

การให้ความสำคัญแบบเข้าใจผิดเรื่อง มิจฉาสมาธิและสัมมาสมาธิ


ข้อความนำมาจาก

...................................................................................

สมาธิลืมตา

สมาธิ ที่กำหนดจิตให้สงบนิ่งอยู่กับสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยไม่รู้อารมณ์
หรือการปลีกวิเวกเพื่อกันความวุ่นวายออกไปให้พ้นจากจิตใจ
เช่น ทำความสงบอยู่กับลมหายใจ จิตไหลออกไปแช่ในอวัยวะที่เคลื่อนไหวขณะก้าวเดิน
หรือมือที่ยกตามจังหวะ เท้าที่ก้าวเดินเป็นต้น สมาธิแบบนี้ไม่มีปัญญา ได้แต่ความสงบ (มิจฉาสมาธิ)

แต่สมาธิที่จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้น คือ การที่จิตสงบอยู่ภายในไม่ส่งออกหรือไหลไปกับสิ่งภายนอกเมื่อมีการกระทบกับประสาทสัมผัส ต่างๆ เช่นขณะที่ตาเห็น หูได้ยิน จมูกรับกลิ่น ลิ้นรับรส กายสัมผัสรู้ หรือ ใจกำลังคิดสิ่งต่างๆ
สมาธิแบบนี้มีปัญญาทำให้พ้นทุกข์ ท่านเรียกว่า สัมมาสมาธิ"

http://topicstock.pantip.com/religious/ ... vHO2zc6DYM

...........................................................................................





สภาวะที่มีเกิดขึ้น เหตุปัจจัยจากอวิชชาที่มีอยู่ จึงทำให้ทำให้เกิดความเชื่อว่า เป็นมรรคญาณ ผลญาณ

ทั้งคนนี้
ชีวิตใหม่มิได้วิเศษเกินไปกว่าความเรียบง่ายในแต่ละก้าวย่างแห่งสติรู้สึกตัว ไม่มีเสแสร้งภายใต้รูปแบบใดๆ อยากทำอะไรก็ทำ หิวก็กิน ง่วงก็นอน อยากหัวเราะ ดูหนังน้ำเน่า ร้องเพลง ซื้อของ หากดำเนินไปบนความตระหนักรู้และมิได้สร้างความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น ชีวิตไม่ควรต้องจืดชืดแต่ก็ไม่ยึดติดในรสชาด ผ่านเข้ามาและผ่านไป มีอิสรภาพทางใจ ไม่ถูกจองจำหรือทิ้งร่องรอยให้ค้างคาใจ ไม่ขาดไม่เกินไปจากสิ่งที่มันเป็น

และคนนี้
ยกพระไตรปิฏกให้พิจารณา เรื่องพระโสดาบัน ย่อมประกฏสภาวธรรม ที่เป็น มรรคญาณ ผลญาณ ทุกท่าน แต่ ท่านจะใส่ใจหรือไม่ เป็นกรณีไปเพราะของแต่ละท่าน พระโสดาบันทุกท่าน ต้องผ่าน มรรคญาณผลญาณ ทุกท่าน ครับ แต่ท่านไม่สนใจในสภาวะธรรมที่ปรากฏก็อีกเรื่องหนึ่ง ตรงที่ขีดเส้นไต้ เป็นสภาวะธรรม ที่เกิด มรรคญาณและผลญาณ "ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน"
ย่อมปรากฏแจ้งชัดกับ พระโสดาบันทุกท่าน แต่จะใส่ใจหรือไม่ใส่ใจ หรือไม่ อีกเรื่องหนึ่ง

ว่าด้วยสัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล

[๔๖๙] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
จักษุไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
หูไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
จมูกไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
ลิ้นไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
กายไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
เรากล่าวผู้นี้ว่า สัทธานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
เราเรียกผู้นี้ว่า ธัมมานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้. เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน
มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.
จบ สูตรที่ ๑.









เมื่อไม่รู้ จึงทำให้เกิดความประมาท กล่าวคือ ไม่ทำตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ ทั้งๆที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ว่า


นันทิยสูตร
อยู่ด้วยความประมาทและไม่ประมาท


[๑๖๐๒] ดูกรนันทิยะ ก็อริยสาวกผู้เป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอย่างไร?
อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้าว่า
แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ฯลฯ เป็นผู้จำแนกธรรม
อริยสาวกนั้นยังไม่พอใจด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้านั้น
พยายามให้ยิ่งขึ้นไป เพื่อความสงัดในกลางวัน เพื่อหลีกเร้นในกลางคืน
เมื่ออริยสาวกนั้นเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้ ย่อมเกิดปราโมทย์
เมื่อเกิดปราโมทย์ ย่อมเกิดปีติ
เมื่อมีใจกอปรด้วยปีติ กายย่อมสงบ
ผู้มีกายสงบ ย่อมได้เสวยสุข
จิตของผู้มีความสุขย่อมเป็นสมาธิ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ อริยสาวกนั้น
ย่อมถึงความนับว่า อยู่ด้วยความไม่ประมาท

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหว ในพระธรรม ... ในพระสงฆ์ ...
ประกอบด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว ไม่ขาด ฯลฯ เป็นไปเพื่อสมาธิ
อริยสาวกนั้นยังไม่พอใจด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว พยายามให้ยิ่งขึ้นไป
เพื่อความสงัดในกลางวัน เพื่อหลีกเร้นในกลางคืน
เมื่ออริยสาวกนั้นเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้ ย่อมเกิดปราโมทย์
เมื่อเกิดปราโมทย์ ย่อมเกิดปีติ
เมื่อมีใจกอปรด้วยปีติ กายย่อมสงบ
ผู้มีกายสงบ ย่อมได้เสวยสุข
จิตของผู้มีความสุข ย่อมเป็นสมาธิ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
อริยสาวกนั้นย่อมถึงความนับว่า อยู่ด้วยความไม่ประมาท

ดูกรนันทิยะ อริยสาวกเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอย่างนี้แล.

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 เม.ย. 2019, 10:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
walaiporn เขียน:
ตรงนี้เป็นเรื่องของผู้ที่ติดอุปกิเลส เพียงแต่ว่า ไม่รู้ว่าว่าติดกับดักหลุมพรางของกิเลส

การให้ความสำคัญแบบเข้าใจผิดเรื่อง มิจฉาสมาธิและสัมมาสมาธิ


ข้อความนำมาจาก

...................................................................................

สมาธิลืมตา

สมาธิ ที่กำหนดจิตให้สงบนิ่งอยู่กับสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยไม่รู้อารมณ์
หรือการปลีกวิเวกเพื่อกันความวุ่นวายออกไปให้พ้นจากจิตใจ
เช่น ทำความสงบอยู่กับลมหายใจ จิตไหลออกไปแช่ในอวัยวะที่เคลื่อนไหวขณะก้าวเดิน
หรือมือที่ยกตามจังหวะ เท้าที่ก้าวเดินเป็นต้น สมาธิแบบนี้ไม่มีปัญญา ได้แต่ความสงบ (มิจฉาสมาธิ)

แต่สมาธิที่จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้น คือ การที่จิตสงบอยู่ภายในไม่ส่งออกหรือไหลไปกับสิ่งภายนอกเมื่อมีการกระทบกับประสาทสัมผัส ต่างๆ เช่นขณะที่ตาเห็น หูได้ยิน จมูกรับกลิ่น ลิ้นรับรส กายสัมผัสรู้ หรือ ใจกำลังคิดสิ่งต่างๆ
สมาธิแบบนี้มีปัญญาทำให้พ้นทุกข์ ท่านเรียกว่า สัมมาสมาธิ"

http://topicstock.pantip.com/religious/ ... vHO2zc6DYM

...........................................................................................





สภาวะที่มีเกิดขึ้น เหตุปัจจัยจากอวิชชาที่มีอยู่ จึงทำให้ทำให้เกิดความเชื่อว่า เป็นมรรคญาณ ผลญาณ

ทั้งคนนี้
ชีวิตใหม่มิได้วิเศษเกินไปกว่าความเรียบง่ายในแต่ละก้าวย่างแห่งสติรู้สึกตัว ไม่มีเสแสร้งภายใต้รูปแบบใดๆ อยากทำอะไรก็ทำ หิวก็กิน ง่วงก็นอน อยากหัวเราะ ดูหนังน้ำเน่า ร้องเพลง ซื้อของ หากดำเนินไปบนความตระหนักรู้และมิได้สร้างความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น ชีวิตไม่ควรต้องจืดชืดแต่ก็ไม่ยึดติดในรสชาด ผ่านเข้ามาและผ่านไป มีอิสรภาพทางใจ ไม่ถูกจองจำหรือทิ้งร่องรอยให้ค้างคาใจ ไม่ขาดไม่เกินไปจากสิ่งที่มันเป็น

และคนนี้
ยกพระไตรปิฏกให้พิจารณา เรื่องพระโสดาบัน ย่อมประกฏสภาวธรรม ที่เป็น มรรคญาณ ผลญาณ ทุกท่าน แต่ ท่านจะใส่ใจหรือไม่ เป็นกรณีไปเพราะของแต่ละท่าน พระโสดาบันทุกท่าน ต้องผ่าน มรรคญาณผลญาณ ทุกท่าน ครับ แต่ท่านไม่สนใจในสภาวะธรรมที่ปรากฏก็อีกเรื่องหนึ่ง ตรงที่ขีดเส้นไต้ เป็นสภาวะธรรม ที่เกิด มรรคญาณและผลญาณ "ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน"
ย่อมปรากฏแจ้งชัดกับ พระโสดาบันทุกท่าน แต่จะใส่ใจหรือไม่ใส่ใจ หรือไม่ อีกเรื่องหนึ่ง

ว่าด้วยสัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล

[๔๖๙] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
จักษุไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
หูไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
จมูกไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
ลิ้นไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
กายไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
เรากล่าวผู้นี้ว่า สัทธานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
เราเรียกผู้นี้ว่า ธัมมานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้. เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน
มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.
จบ สูตรที่ ๑.





โดยการยกตย.สภาวะของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะว่า คนที่รู้เห็นแบบนี้(ลืมตา) แล้วรู้ชัดอนัตตา


พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา
พระอัสสชิเถระ

[๖๔] ก็โดยสมัยนั้นแล สญชัยปริพาชกอาศัยอยู่ในพระนครราชคฤห์ พร้อมด้วย
ปริพาชกบริษัทหมู่ใหญ่ จำนวน ๒๕๐ คน. ก็ครั้งนั้น พระสารีบุตรพระโมคคัลลานะประพฤติ
พรหมจรรย์อยู่ในสำนักสญชัยปริพาชก. ท่านทั้งสองได้ทำกติกากันไว้ว่า ผู้ใดบรรลุอมตธรรมก่อน
ผู้นั้นจงบอกแก่อีกคนหนึ่ง. ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า ท่านพระอัสสชินุ่งอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร
เข้าไปบิณฑบาตยังพระนครราชคฤห์ มีมรรยาทก้าวไป ถอยกลับ แลเหลียว คู้แขน เหยียดแขน
น่าเลื่อมใส มีนัยน์ตาทอดลง ถึงพร้อมด้วยอิริยาบถ. สารีบุตรปาริพาชกได้เห็นท่านพระอัสสชิ
กำลังเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ มีมรรยาทก้าวไป ถอยกลับ แลเหลียว คู้แขน
เหยียดแขน น่าเลื่อมใส มีนัยน์ตาทอดลง ถึงพร้อมด้วยอิริยาบถ ครั้นแล้วได้มีความดำริว่า
บรรดาพระอรหันต์ หรือท่านผู้ได้บรรลุพระอรหัตมรรคในโลก ภิกษุรูปนี้คงเป็นผู้ใดผู้หนึ่งแน่
ถ้ากระไร เราพึงเข้าไปหาภิกษุรูปนี้ แล้วถามว่า ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน
หรือท่านชอบใจธรรมของใคร? แล้วได้ดำริต่อไปว่า ยังเป็นกาลไม่สมควรจะถามภิกษุรูปนี้ เพราะ
ท่านกำลังเข้าละแวกบ้านเที่ยวบิณฑบาต ผิฉะนั้น เราพึงติดตามภิกษุรูปนี้ไปข้างหลังๆ เพราะเป็น
ทางอันผู้มุ่งประโยชน์ทั้งหลายจะต้องสนใจ. ครั้งนั้น ท่านพระอัสสชิเที่ยวบิณฑบาตในพระนคร
ราชคฤห์ ถือบิณฑบาตกลับไป. จึงสารีบุตรปริพาชกเข้าไปหาท่านพระอัสสชิ ถึงแล้วได้พูด
ปราศรัยกับท่านพระอัสสชิ ครั้นผ่านการพูดปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว
ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนหนึ่ง. สารีบุตรปริพาชกยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กล่าวคำนี้
กะท่านพระอัสสชิว่า อินทรีย์ของท่านผ่องใส ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง ท่านบวช
เฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ขอรับ?
อ. มีอยู่ ท่าน พระมหาสมณะศากยบุตร เสด็จออกทรงผนวชจากศากยตระกูล เรา
บวชเฉพาะพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นศาสดาของเรา และเรา
ชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น.
สา. ก็พระศาสดาของท่านสอนอย่างไร แนะนำอย่างไร?
อ. เราเป็นคนใหม่ บวชยังไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ ไม่อาจแสดงธรรมแก่ท่าน
ได้กว้างขวาง แต่จักกล่าวใจความแก่ท่านโดยย่อ.
สา. น้อยหรือมาก นิมนต์กล่าวเถิด ท่านจงกล่าวแต่ใจความแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าต้อง
การใจความอย่างเดียว ท่านจักทำพยัญชนะให้มากทำไม.
พระอัสสชิเถระแสดงธรรม
[๖๕] ลำดับนั้น ท่านพระอัสสชิ ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แก่สารีบุตรปริพาชก ว่าดังนี้:-
ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรม
เหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ
ทรงสั่งสอนอย่างนี้.


สารีบุตรปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๖] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใด
สิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่
สารีบุตรปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทง
ตลอดบทอันหาความโศกมิได้ บทอันหาความโศกมิได้นี้
พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.




สารีบุตรปริพาชกเปลื้องคำปฏิญญา
[๖๗] เวลาต่อมา สารีบุตรปริพาชกเข้าไปหาโมคคัลลานปริพาชก. โมคคัลลานปริพาชก
ได้เห็นสารีบุตรปริพาชกเดินมาแต่ไกล ครั้นแล้วได้ถามสารีบุตรปริพาชกว่า ผู้มีอายุ อินทรีย์
ของท่านผ่องใส ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง ท่านได้บรรลุอมตธรรมแล้วกระมังหนอ?
สา. ถูกละ ผู้มีอายุ เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว.
โมค. ท่านบรรลุอมตธรรมได้อย่างไร ด้วยวิธีไร?
สา. ผู้มีอายุ วันนี้เราได้เห็นพระอัสสชิกำลังเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ มี
มรรยาทก้าวไป ถอยกลับ แลเหลียว เหยียดแขน คู้แขน น่าเลื่อมใส มีนัยน์ตาทอดลง ถึง
พร้อมด้วยอิริยาบถ ครั้นแล้วเราได้มีความดำริว่า บรรดาพระอรหันต์หรือท่านผู้ได้บรรลุอรหัตมรรค
ในโลก ภิกษุรูปนี้คงเป็นผู้ใดผู้หนึ่งแน่ ถ้ากระไร เราพึงเข้าไปหาภิกษุรูปนี้ แล้วถามว่า ท่าน
บวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร เรานั้นได้ยั้งคิดว่า ยัง
เป็นกาลไม่สมควรจะถามภิกษุรูปนี้ เพราะท่านยังกำลังเข้าละแวกบ้านเที่ยวบิณฑบาต ผิฉะนั้น
เราพึงติดตามภิกษุรูปนี้ไปข้างหลังๆ เพราะเป็นทางอันผู้มุ่งประโยชน์ทั้งหลายจะต้องสนใจ ลำดับ
นั้น พระอัสสชิเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ ถือบิณฑบาตกลับไปแล้ว ต่อมา เราได้เข้า
ไปหาพระอัสสชิ ครั้นถึงแล้ว ได้พูดปราศรัยกับพระอัสสชิ ครั้นผ่านการพูดปราศรัยพอให้เป็น
ที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เรายืนอยู่ ณ ที่ควรส่วน
ข้างหนึ่งแล้ว ได้กล่าวคำนี้ต่อพระอัสสชิว่า อินทรีย์ของท่านผ่องใส ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์
ผุดผ่อง ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ขอรับ?
พระอัสสชิตอบว่า มีอยู่ ท่าน พระมหาสมณะศากยบุตรเสด็จออกทรงผนวชจากศากยตระกูล เรา
บวชเฉพาะพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นศาสดาของเรา และเรา
ชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เราได้ถามพระอัสสชิต่อไปว่า ก็พระศาสดาของ
ท่านสอนอย่างไร แนะนำอย่างไร? พระอัสสชิตอบว่า เราเป็นคนใหม่ บวชยังไม่นาน เพิ่งมา
สู่พระธรรมวินัยนี้ ไม่อาจแสดงธรรมแก่ท่านได้กว้างขวาง แต่จักกล่าวใจความแก่ท่านโดยย่อ เรา
ได้เรียนว่า น้อยหรือมาก นิมนต์กล่าวเถิด ท่านจงกล่าวแต่ใจความแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าต้องการ
ใจความอย่างเดียว ท่านจักทำพยัญชนะให้มากทำไม.

[๖๘] ผู้มีอายุ ครั้งนั้น พระอัสสชิได้กล่าวธรรมปริยายนี้ ว่าดังนี้:-
ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุ
แห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น
พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.



โมคคัลลานปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๙] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่
โมคคัลลานปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความ
โศกมิได้ บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้ว
หลายหมื่นกัลป์.

สองสหายอำลาอาจารย์
[๗๐] ครั้งนั้น โมคคัลลานปริพาชกได้กล่าวชักชวนสารีบุตรปริพาชกว่า ผู้มีอายุ เรา
พากันไปสำนักพระผู้มีพระภาคเถิด เพราะพระผู้มีพระภาคนั้นเป็นพระศาสดาของเรา.
สารีบุตรปริพาชกกล่าวว่า ผู้มีอายุ ปริพาชก ๒๕๐ คนนี้อาศัยเรา เห็นแก่เรา จึงอยู่ใน
สำนักนี้ เราจงบอกกล่าวพวกนั้นก่อน พวกนั้นจักทำตามที่เข้าใจ.
ลำดับนั้น สารีบุตรโมคคัลลานะพากันเข้าไปหาปริพาชกเหล่านั้น ครั้นถึงแล้วได้กล่าว
คำนี้ต่อพวกปริพาชกนั้นว่า ท่านทั้งหลาย เราจะไปในสำนักพระผู้มีพระภาค เพราะพระผู้มีพระภาค
นั้นเป็นพระศาสดาของเรา.




หมายเหตุ;

เป็นสภาวะของที่พระพุทธเจ้าทรงใช้

"ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา"





พระสูตร อ่านได้ ศึกษาได้ แต่จะรู้ชัดสภาวะที่มีเกิดขึ้นตามความเป็นจริง
ตอนที่ลง มองว่า บางคนอ่านแล้วจะได้รู้สึกตัวว่า ตกหลุมพรางของกิเลส แต่เห็นแล้วว่า ยังไม่รู้สึกตัว
จึงแบ่งพระสูตรออกมาเพื่อจะรู้จักโยนิโสมนสิการว่า เมื่อเจอสภาวะนี้แล้ว"ว่าด้วยสัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล" จะรู้ชัดสภาวะตอนลืมตาหรือหลับตา ไม่ใช่สิ่งสำคัญ แต่ควรรู้ว่า เมื่อรู้คิดว่ารู้แล้วรู้เห็นนั้น ต้องควรปฏิบัติตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้










เมื่อคิดว่า รู้แล้ว ไม่ว่าก็เป็นคนนี้และคนอื่นๆอีก มักจะมีความรู้สึกแบบนี้
walaiporn เขียน:
ชีวิตใหม่มิได้วิเศษเกินไปกว่าความเรียบง่ายในแต่ละก้าวย่างแห่งสติรู้สึกตัว ไม่มีเสแสร้งภายใต้รูปแบบใดๆ อยากทำอะไรก็ทำ หิวก็กิน ง่วงก็นอน อยากหัวเราะ ดูหนังน้ำเน่า ร้องเพลง ซื้อของ หากดำเนินไปบนความตระหนักรู้และมิได้สร้างความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น ชีวิตไม่ควรต้องจืดชืดแต่ก็ไม่ยึดติดในรสชาด ผ่านเข้ามาและผ่านไป มีอิสรภาพทางใจ ไม่ถูกจองจำหรือทิ้งร่องรอยให้ค้างคาใจ ไม่ขาดไม่เกินไปจากสิ่งที่มันเป็น
จึงกระทำตามตัณหา เป็นการกระทำเพื่อให้เกิดการภพชาติ มากกว่าการกระทำเพื่อดับภพชาติของการเกิด





เมื่อไม่รู้ จึงทำให้เกิดความประมาท กล่าวคือ ไม่ทำตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ ทั้งๆที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ว่า ต้องกระทำสิ่งใดต่อ เพื่อพยายามให้มากขึ้น เพื่อดับเหตุภพชาติของการเกิดที่ยังมีอยู่


นันทิยสูตร
อยู่ด้วยความประมาทและไม่ประมาท


[๑๖๐๒] ดูกรนันทิยะ ก็อริยสาวกผู้เป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอย่างไร?
อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้าว่า
แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ฯลฯ เป็นผู้จำแนกธรรม
อริยสาวกนั้นยังไม่พอใจด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้านั้น
พยายามให้ยิ่งขึ้นไป เพื่อความสงัดในกลางวัน เพื่อหลีกเร้นในกลางคืน
เมื่ออริยสาวกนั้นเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้ ย่อมเกิดปราโมทย์
เมื่อเกิดปราโมทย์ ย่อมเกิดปีติ
เมื่อมีใจกอปรด้วยปีติ กายย่อมสงบ
ผู้มีกายสงบ ย่อมได้เสวยสุข
จิตของผู้มีความสุขย่อมเป็นสมาธิ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ อริยสาวกนั้น
ย่อมถึงความนับว่า อยู่ด้วยความไม่ประมาท

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหว ในพระธรรม ... ในพระสงฆ์ ...
ประกอบด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว ไม่ขาด ฯลฯ เป็นไปเพื่อสมาธิ
อริยสาวกนั้นยังไม่พอใจด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว พยายามให้ยิ่งขึ้นไป
เพื่อความสงัดในกลางวัน เพื่อหลีกเร้นในกลางคืน
เมื่ออริยสาวกนั้นเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้ ย่อมเกิดปราโมทย์
เมื่อเกิดปราโมทย์ ย่อมเกิดปีติ
เมื่อมีใจกอปรด้วยปีติ กายย่อมสงบ
ผู้มีกายสงบ ย่อมได้เสวยสุข
จิตของผู้มีความสุข ย่อมเป็นสมาธิ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
อริยสาวกนั้นย่อมถึงความนับว่า อยู่ด้วยความไม่ประมาท

ดูกรนันทิยะ อริยสาวกเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอย่างนี้แล.





หากคนที่คนสำคัญว่า รู้แล้ว แต่ยังหลงโลก และยังเพลินกับอินทรีย์ 6
เป็นเรื่องของเหตุปัจจัย(อวิชชาและกรรม ผลของกรรม) ของแต่ละบุคคล

ต่อให้ศึกษาพระสูตรมาก หรือฟังมาก แต่ไม่สามารถโยนิโสมนสิการได้
ตรงนี้ต้องช่วยตัวเอง ไม่ใช่ใครสามารถช่วยได้

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 เม.ย. 2019, 16:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


1. โสดาบันประเภท สัทธานุสารี,ธัมมานุสารี


ตัวอย่างในสมัยพุทธกาล "รู้ชัดอนัตตา"

พระอัสสชิเถระแสดงธรรม
[๖๕] ลำดับนั้น ท่านพระอัสสชิ ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แก่สารีบุตรปริพาชก ว่าดังนี้:-

ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอย่างนี้.

สารีบุตรปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๖] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่สารีบุตรปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทง ตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.


[๖๘] ผู้มีอายุ ครั้งนั้น พระอัสสชิได้กล่าวธรรมปริยายนี้ ว่าดังนี้:-
ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.

โมคคัลลานปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๙] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่ โมคคัลลานปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.

หมายเหตุ;

เป็นสภาวะของที่พระพุทธเจ้าทรงใช้ "ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา"


อรรถกถาสารีปุตตโมคคัลลานบรรพชา
บาทคาถาว่า เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา มีความว่า เบญจขันธ์ชื่อว่าธรรมมีเหตุเป็นแดนเกิด. พระเถระแสดงทุกขสัจแก่สารีบุตรนั้นด้วยคำนั้น.
บาทคาถาว่า เตสํเหตุ ํ ตถาคโต อาห มีความว่า สมุทยสัจชื่อว่าเหตุแห่งเบญจขันธ์นั้น พระเถระแสดงว่า พระตถาคตตรัสสมุทยสัจนั้นด้วย.
บาทคาถาว่า เตสญฺจ โย นิโรโธ จ มีความว่า พระตถาคตตรัสความดับคือความไม่เป็นไปแห่งสัจจะแม้ทั้ง ๒ นั้นด้วย พระเถระแสดงนิโรธสัจแก่สารีบุตรนั้นด้วยคำนั้น.
ส่วนมรรคสัจ แม้ท่านไม่ได้แสดงรวมไว้ในคาถานี้ ก็เป็นอันแสดงแล้วโดยนัย. เพราะว่าเมื่อกล่าวนิโรธ มรรคซึ่งเป็นเหตุให้ถึงนิโรธนั้น ก็เป็นอันกล่าวด้วย.

อีกอย่างหนึ่ง ในบาทคาถาว่า เตสญฺจ โย นิโรโธ จ นี้ สัจจะแม้ ๒ เป็นอันพระเถระแสดงแล้วอย่างนี้ว่า ความดับแห่งสัจจะทั้ง ๒ นั้นและอุบายแห่งความดับแห่งสัจจะทั้ง ๒ นั้น ฉะนี้แล.
บัดนี้ พระเถระเมื่อจะยังเนื้อความนั้นนั่นแลให้รับกัน จึงกล่าวว่า พระมหาสมณะมีปกติตรัสอย่างนี้.

บาทคาถาว่า เอเสว ธมฺโม ยทิ ตาวเทว มีความว่า แม้ถ้าว่า ธรรมที่ยิ่งกว่านี้ไม่มีไซร้ ธรรมเพียงเท่านี้เท่านั้นคือคุณ มาตรว่าโสดาปัตติผลนี้เท่านั้น อันข้าพเจ้าจะพึงบรรลุ ถึงอย่างนั้นธรรมนี้นั่นแล อันข้าพเจ้าค้นหาแล้ว.๓-

บาทคาถาว่า ปจฺจพฺยถา ปทมโสกํ มีความว่า พวกข้าพเจ้าเที่ยวค้นหาทางอันไม่มีความโศกใด ท่านทั้งหลายนั่นแล ย่อมตรัสรู้ทางอันไม่มีความโศกนั้น.
อธิบายว่า ทางนั้น อันท่านทั้งหลายบรรลุแล้ว.
กึ่งคาถาว่า อทิฏฺฐํ อพฺภุติตํ พหุเกหิ กปฺปนหุเตหิ มีความว่า ทางอันไม่มีความโศกนี้ ชื่ออันข้าพเจ้าทั้งหลายไม่เห็นแล้วทีเดียว ล่วงไปนักหนาตั้งหลายนหุตแห่งกัลป์
สารีบุตรปริพาชกแสดงข้อที่ตนมีความเสื่อมใหญ่ตลอดกาลนาน เพราะเหตุที่ไม่ได้เห็นทางนั้นด้วยประการดังนี้.







ว่าด้วยสัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล

[๔๖๙] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
จักษุไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
หูไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
จมูกไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
ลิ้นไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
กายไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
เรากล่าวผู้นี้ว่า สัทธานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
เราเรียกผู้นี้ว่า ธัมมานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้.
เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.

จบ สูตรที่ ๑.



(ยังไม่จบ)

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แก้ไขล่าสุดโดย walaiporn เมื่อ 19 เม.ย. 2019, 19:14, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 เม.ย. 2019, 18:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ตอนแรกจะลงอธิบายเสริมให้ แต่คิดไปคิดมาบางอย่างที่นอกเหนือซึ่งเป็นส่วนของคนถึงแล้วเข้าใจ ขอสงวนคำไว้ดีกว่า เพราะไม่มีประโยชน์ที่จะพูดไป

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 เม.ย. 2019, 14:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
1. โสดาบันประเภท สัทธานุสารี,ธัมมานุสารี


ตัวอย่างในสมัยพุทธกาล "รู้ชัดอนัตตา"

พระอัสสชิเถระแสดงธรรม
[๖๕] ลำดับนั้น ท่านพระอัสสชิ ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แก่สารีบุตรปริพาชก ว่าดังนี้:-

ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอย่างนี้.

สารีบุตรปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๖] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่สารีบุตรปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทง ตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.


[๖๘] ผู้มีอายุ ครั้งนั้น พระอัสสชิได้กล่าวธรรมปริยายนี้ ว่าดังนี้:-
ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.

โมคคัลลานปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๙] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่ โมคคัลลานปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.

หมายเหตุ;

เป็นสภาวะของที่พระพุทธเจ้าทรงใช้ "ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา"








จะมีใครตาดีมองเห็นหรือยังหนอว่า พระอัสสชิกล่าวธรรม อริยสัจ 4


[๖๘] ผู้มีอายุ ครั้งนั้น พระอัสสชิได้กล่าวธรรมปริยายนี้ ว่าดังนี้:-
ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุ
แห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น
พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้


สารีบุตรปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๖] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่ สารีบุตรปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.


โมคคัลลานปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๙] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่ โมคคัลลานปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.





มีผู้ดีตาเห็น "อริยสัจ" แล้วหนอ

"สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา"

ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความ
โศกมิได้ บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.


ภิกษุทั้งหลาย ! ความจริงอันประเสริฐ คือ ทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า
ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นถือมั่นห้าอย่าง คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
ภิกษุทั้งหลาย ! อันนี้เรากล่าวว่า ความจริงอันประเสริฐ คือ ทุกข์


ภิกษุทั้งหลาย ! ความจริงอันประเสริฐ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า
ตัณหาอันใดนี้ ที่เป็นเครื่องนำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด
เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มักทำให้เพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้น ๆ ได้แก่

กามตัณหา(ตัณหาในกาม)
ภวตัณหา(ตัณหาในความมีความเป็น)
วิภวตัณหา(ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น)
ภิกษุทั้งหลาย ! อันนี้เรากล่าวว่า ความจริงอันประเสริฐ คือ เหตุให้เกิดทุกข์



ภิกษุทั้งหลาย ! ความจริงอันประเสริฐ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า
ความดับสนิทเพราะความจางคลายดับไป โดยไม่เหลือของตัณหานั้น
ความสละลงเสีย ความสลัดทิ้งไป ความปล่อยวาง ความไม่อาลัยถึงซึ่งตัณหานั้นเอง อันใด

ภิกษุทั้งหลาย ! อันนี้เรากล่าวว่า ความจริงอันประเสริฐ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์



ภิกษุทั้งหลาย ! ความจริงอันประเสริฐ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า
หนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดนี้นั่นเอง ได้แก่สิ่งเหล่านี้

ความเห็นชอบ(สัมมาทิฏฐิ)
ความดำริชอบ(สัมมาสังกัปปะ)
การพูดจาชอบ(สัมมาวาจา)
การงานชอบ(สัมมากัมมันตะ)
การเลี้ยงชีพชอบ(สัมมาอาชีวะ)
ความเพียรชอบ(สัมมาวายามะ)
(ความระลึกชอบ(สัมมาสติ)
ความตั้งใจมั่นชอบ(สัมมาสมาธิ)

ภิกษุทั้งหลาย ! อันนี้เรากล่าวว่า ความจริงอันประเสริฐ
คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์

ภิกษุทั้งหลาย ! เหล่านี้แล คือ ความจริงอันประเสริฐสี่อย่าง




"สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา"
ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นถือมั่นห้าอย่าง คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
ถ้าไม่เห็นเป็นตัวตน เรา เขา เบญขันธ์เกิด ดับ

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 มิ.ย. 2019, 14:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


๑๒. ทักขิณาวิภังคสูตร (๑๔๒)


[๗๑๓] ดูกรอานนท์ ก็ในอนาคตกาล จักมีแต่เหล่าภิกษุโคตรภู มีผ้ากาสาวะพันคอ เป็นคนทุศีล มีธรรมลามก
คนทั้งหลายจักถวายทานเฉพาะสงฆ์ได้ในเหล่าภิกษุทุศีลนั้น

ดูกรอานนท์ ทักษิณาที่ถึงแล้วในสงฆ์แม้ในเวลานั้น
เราก็กล่าวว่า มีผลนับไม่ได้ ประมาณไม่ได้

แต่ว่าเราไม่กล่าวปาฏิปุคคลิกทานว่า
มีผลมากกว่าทักษิณาที่ถึงแล้วในสงฆ์โดยปริยายไรๆ เลย ฯ

...ฯลฯ...

[๗๑๙] พระผู้มีพระภาคผู้สุคตศาสดา ได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้แล้ว
ได้ตรัสคาถาประพันธ์ดังนี้ต่อไปอีกว่า

(๑) ผู้ใดมีศีล ได้ของมาโดยธรรม มีจิตเลื่อมใสดีเชื่อกรรมและผลแห่งกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในคนทุศีล
ทักษิณาของผู้นั้น ชื่อว่าบริสุทธิ์ฝ่ายทายก ฯ

(๒) ผู้ใดทุศีล ได้ของมาโดยไม่เป็นธรรม มีจิตไม่เลื่อมใสไม่เชื่อกรรมและผลของกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในคนมีศีล
ทักษิณาของผู้นั้นชื่อว่า บริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก ฯ

(๓) ผู้ใดทุศีล ได้ของมาโดยไม่เป็นธรรม มีจิตไม่เลื่อมใสไม่เชื่อกรรมและผลของกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในคนทุศีล
เราไม่กล่าวทานของผู้นั้นว่า มีผลไพบูลย์ ฯ

(๔) ผู้ใดมีศีล ได้ของมาโดยธรรม มีจิตเลื่อมใสดี เชื่อกรรมและผลของกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในคนมีศีล
เรากล่าวทานของผู้นั้นแลว่า มีผลไพบูลย์ ฯ

(๕) ผู้ใดปราศจากราคะแล้ว ได้ของมาโดยธรรม มีจิตเลื่อมใสดี เชื่อกรรมและผลของกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในผู้ปราศจากราคะ ทานของผู้นั้นนั่นแล เลิศกว่าอามิสทานทั้งหลาย ฯ

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 มิ.ย. 2019, 09:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


นิวรณ์น้อย


ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นไฉน
บุคคลบางคนในโลกนี้ โดยปรกติไม่เป็นผู้มีราคะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่ราคะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติเป็นผู้ไม่มีโทสะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โทสะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติเป็นผู้ไม่มีโมหะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โมหะเนืองๆ บ้าง





[๕๓๗] ภิกษุนั้นย่อมเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้นอย่างไร ฯ
วิปัสสนา ด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา

ความที่จิตมีการปล่อยธรรมทั้งหลายที่เกิดในวิปัสสนานั้นเป็นอารมณ์
เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิ

ด้วยประการดังนี้ วิปัสสนาจึงมีก่อน สมถะมีภายหลัง
เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น ฯ






พระอัสสชิเถระแสดงธรรม
[๖๕] ลำดับนั้น ท่านพระอัสสชิ ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แก่สารีบุตรปริพาชก ว่าดังนี้:-

ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอย่างนี้.

สารีบุตรปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๖] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่สารีบุตรปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทง ตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.


[๖๘] ผู้มีอายุ ครั้งนั้น พระอัสสชิได้กล่าวธรรมปริยายนี้ ว่าดังนี้:-
ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.

โมคคัลลานปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๙] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่ โมคคัลลานปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.






ว่าด้วยธัมมานุสารีบุคคล

[๔๖๙] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
จักษุไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
หูไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
จมูกไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
ลิ้นไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
กายไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.



ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
เราเรียกผู้นี้ว่า ธัมมานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้.
เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.

จบ สูตรที่ ๑.





หมายเหตุ;

ที่มีเกิดขึ้น ขณะดำเนินชีวิต

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แก้ไขล่าสุดโดย walaiporn เมื่อ 19 ก.ค. 2019, 16:06, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2019, 13:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
นิวรณ์น้อย


ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นไฉน
บุคคลบางคนในโลกนี้ โดยปรกติไม่เป็นผู้มีราคะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่ราคะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติเป็นผู้ไม่มีโทสะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โทสะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติเป็นผู้ไม่มีโมหะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โมหะเนืองๆ บ้าง





[๕๓๗] ภิกษุนั้นย่อมเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้นอย่างไร ฯ
วิปัสสนา ด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา

ความที่จิตมีการปล่อยธรรมทั้งหลายที่เกิดในวิปัสสนานั้นเป็นอารมณ์
เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิ

ด้วยประการดังนี้ วิปัสสนาจึงมีก่อน สมถะมีภายหลัง
เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น ฯ






พระอัสสชิเถระแสดงธรรม
[๖๕] ลำดับนั้น ท่านพระอัสสชิ ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แก่สารีบุตรปริพาชก ว่าดังนี้:-

ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอย่างนี้.

สารีบุตรปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๖] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่สารีบุตรปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทง ตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.


[๖๘] ผู้มีอายุ ครั้งนั้น พระอัสสชิได้กล่าวธรรมปริยายนี้ ว่าดังนี้:-
ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.

โมคคัลลานปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๙] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่ โมคคัลลานปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.






ว่าด้วยสัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล

[๔๖๙] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
จักษุไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
หูไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
จมูกไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
ลิ้นไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
กายไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
เรากล่าวผู้นี้ว่า สัทธานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
เราเรียกผู้นี้ว่า ธัมมานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้.
เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.

จบ สูตรที่ ๑.





หมายเหตุ;

ที่มีเกิดขึ้น ขณะดำเนินชีวิต







สภาวะนี้ เป็นเพียงบันไดขั้นแรก ส่วนจะไปต่อได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยของบุคคลนั้น
กล่าวคือ กรรมและผลของกรรม อวิชชาและตัณหา

หากไปได้ต่อ ขึ้นอยู่กับกรรมที่เคยกระทำไว้กับผู้ที่ให้คำแนะนำ(อาจารย์)
กล่าวคือ เคยสร้างเหตุ(กรรม)มาร่วมกัน ให้มาเชื่อกัน
เมื่อมีเจอกันอีก ก็ทำให้เชื่อกันอีก(ตัดเรื่องถูก,ผิดออกไป)



สัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล ไม่ได้มีแค่นี้(ปริยัติ)
จริงๆแล้วมีมากกว่านี้ ที่คิดว่ามีแค่นี้เกิดจากปฏิบัติไม่ถึง
เนื่องจากขาดการศึกษาในสิกขา ๓ คือ
อธิศีลสิกขา ๑
อธิจิตตสิกขา ๑
อธิปัญญาสิกขา ๑

ถ้าอธิบายแบบหยาบๆ จะมีแค่นั้น(รู้แค่ไหน ก็อธิบายได้แค่นั้น)
เท่านี้เห็นว่า ส่วนมากติดอุปกิเลส ไปต่อไม่ได้ ยังวนๆอยู่แค่นั้น

ทั้งๆที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ชัด
"ทั้งเมื่อก่อนและทั้งบัดนี้ เราย่อมบัญญัติทุกข์ และความดับทุกข์"


กล่าวคือ ทุกข์(อุปาทานขันธ์ 5)และความดับทุกข์(นิพพาน/อวิชชาและตัณหา)





สำหรับผู้ที่พอใจแค่นี้
เหตุปัจจัยจากยังไม่เกิดความเบื่อหน่ายภพชาติการเกิด

จะขอยกเว้นไม่นำมากล่าวถึงโสดาประเภทนี้ เพราะโสดาบันประเภทนี้ ไม่จำเป็นต้องไปรู้อะไรมากกว่านี้ แค่ทำทาน รักษาศิล เท่านี้ก็พอแล้ว ในสมัยพุทธกาลก็มีตัวอย่างให้เห็นอยู่หลายคน

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 มิ.ย. 2019, 17:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


ขยายใจความ


walaiporn เขียน:
walaiporn เขียน:
นิวรณ์น้อย


ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นไฉน
บุคคลบางคนในโลกนี้ โดยปรกติไม่เป็นผู้มีราคะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่ราคะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติเป็นผู้ไม่มีโทสะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โทสะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติเป็นผู้ไม่มีโมหะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โมหะเนืองๆ บ้าง





[๕๓๗] ภิกษุนั้นย่อมเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้นอย่างไร ฯ
วิปัสสนา ด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา

ความที่จิตมีการปล่อยธรรมทั้งหลายที่เกิดในวิปัสสนานั้นเป็นอารมณ์
เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิ

ด้วยประการดังนี้ วิปัสสนาจึงมีก่อน สมถะมีภายหลัง
เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น ฯ






พระอัสสชิเถระแสดงธรรม
[๖๕] ลำดับนั้น ท่านพระอัสสชิ ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แก่สารีบุตรปริพาชก ว่าดังนี้:-

ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอย่างนี้.

สารีบุตรปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๖] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่สารีบุตรปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทง ตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.


[๖๘] ผู้มีอายุ ครั้งนั้น พระอัสสชิได้กล่าวธรรมปริยายนี้ ว่าดังนี้:-
ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.

โมคคัลลานปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม
[๖๙] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่ โมคคัลลานปริพาชก
ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้
บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์.






ว่าด้วยสัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล

[๔๖๙] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
จักษุไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
หูไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
จมูกไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
ลิ้นไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
กายไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
เรากล่าวผู้นี้ว่า สัทธานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
เราเรียกผู้นี้ว่า ธัมมานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้.
เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.

จบ สูตรที่ ๑.





หมายเหตุ;

ที่มีเกิดขึ้น ขณะดำเนินชีวิต







สภาวะนี้ เป็นเพียงบันไดขั้นแรก ส่วนจะไปต่อได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยของบุคคลนั้น
กล่าวคือ กรรมและผลของกรรม อวิชชาและตัณหา

หากไปได้ต่อ ขึ้นอยู่กับกรรมที่เคยกระทำไว้กับผู้ที่ให้คำแนะนำ(อาจารย์)
กล่าวคือ เคยสร้างเหตุ(กรรม)มาร่วมกัน ให้มาเชื่อกัน
เมื่อมีเจอกันอีก ก็ทำให้เชื่อกันอีก(ตัดเรื่องถูก,ผิดออกไป)



สัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล ไม่ได้มีแค่นี้(ปริยัติ)
จริงๆแล้วมีมากกว่านี้ ที่คิดว่ามีแค่นี้เกิดจากปฏิบัติไม่ถึง
เนื่องจากขาดการศึกษาในสิกขา ๓ คือ
อธิศีลสิกขา ๑
อธิจิตตสิกขา ๑
อธิปัญญาสิกขา ๑

ถ้าอธิบายแบบหยาบๆ จะมีแค่นั้น(รู้แค่ไหน ก็อธิบายได้แค่นั้น)
เท่านี้เห็นว่า ส่วนมากติดอุปกิเลส ไปต่อไม่ได้ ยังวนๆอยู่แค่นั้น

ทั้งๆที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ชัด
"ทั้งเมื่อก่อนและทั้งบัดนี้ เราย่อมบัญญัติทุกข์ และความดับทุกข์"


กล่าวคือ ทุกข์(อุปาทานขันธ์ 5)และความดับทุกข์(นิพพาน/อวิชชาและตัณหา)





สำหรับผู้ที่พอใจแค่นี้
เหตุปัจจัยจากยังไม่เกิดความเบื่อหน่ายภพชาติการเกิด

จะขอยกเว้นไม่นำมากล่าวถึงโสดาประเภทนี้ เพราะโสดาบันประเภทนี้ ไม่จำเป็นต้องไปรู้อะไรมากกว่านี้ แค่ทำทาน รักษาศิล เท่านี้ก็พอแล้ว ในสมัยพุทธกาลก็มีตัวอย่างให้เห็นอยู่หลายคน








ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สุขาปฏิปทาทันธาภิญญาเป็นไฉน

บุคคลบางคนในโลกนี้ โดยปรกติไม่เป็นคนมีราคะกล้า
ย่อมไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่ราคะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติไม่เป็นผู้มีโทสะกล้า
ย่อมไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โทสะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติไม่เป็นผู้มีโมหะกล้า
ย่อมไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โมหะเนืองๆ บ้าง

อินทรีย์ ๕ ประการนี้ คือ
สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ ของเขาปรากฏว่าอ่อน
เขาย่อมได้บรรลุคุณวิเศษเพื่อความสิ้นอาสวะช้า เพราะอินทรีย์ ๕ ประการนี้อ่อน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯ




ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นไฉน
บุคคลบางคนในโลกนี้ โดยปรกติไม่เป็นผู้มีราคะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่ราคะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติเป็นผู้ไม่มีโทสะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โทสะเนืองๆ บ้าง

โดยปรกติเป็นผู้ไม่มีโมหะกล้า
ไม่ได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โมหะเนืองๆ บ้าง

อินทรีย์ ๕ ประการนี้ คือ สัทธินทรีย์ ฯลฯ ปัญญินทรีย์ ของเขาปรากฏว่าแก่กล้า
เขาย่อมบรรลุคุณวิเศษเพื่อความสิ้นอาสวะได้ฉับพลัน เพราะอินทรีย์ ๕ ประการนี้แก่กล้า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า สุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปฏิปทา ๔ ประการนี้แล ฯ

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 มิ.ย. 2019, 18:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
walaiporn เขียน:
ตรงนี้เป็นเรื่องของผู้ที่ติดอุปกิเลส เพียงแต่ว่า ไม่รู้ว่าว่าติดกับดักหลุมพรางของกิเลส

การให้ความสำคัญแบบเข้าใจผิดเรื่อง มิจฉาสมาธิและสัมมาสมาธิ


ข้อความนำมาจาก

...................................................................................

สมาธิลืมตา

สมาธิ ที่กำหนดจิตให้สงบนิ่งอยู่กับสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยไม่รู้อารมณ์
หรือการปลีกวิเวกเพื่อกันความวุ่นวายออกไปให้พ้นจากจิตใจ
เช่น ทำความสงบอยู่กับลมหายใจ จิตไหลออกไปแช่ในอวัยวะที่เคลื่อนไหวขณะก้าวเดิน
หรือมือที่ยกตามจังหวะ เท้าที่ก้าวเดินเป็นต้น สมาธิแบบนี้ไม่มีปัญญา ได้แต่ความสงบ (มิจฉาสมาธิ)

แต่สมาธิที่จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้น คือ การที่จิตสงบอยู่ภายในไม่ส่งออกหรือไหลไปกับสิ่งภายนอกเมื่อมีการกระทบกับประสาทสัมผัส ต่างๆ เช่นขณะที่ตาเห็น หูได้ยิน จมูกรับกลิ่น ลิ้นรับรส กายสัมผัสรู้ หรือ ใจกำลังคิดสิ่งต่างๆ
สมาธิแบบนี้มีปัญญาทำให้พ้นทุกข์ ท่านเรียกว่า สัมมาสมาธิ"

http://topicstock.pantip.com/religious/ ... vHO2zc6DYM

...........................................................................................





สภาวะที่มีเกิดขึ้น เหตุปัจจัยจากอวิชชาที่มีอยู่ จึงทำให้ทำให้เกิดความเชื่อว่า เป็นมรรคญาณ ผลญาณ

ทั้งคนนี้
ชีวิตใหม่มิได้วิเศษเกินไปกว่าความเรียบง่ายในแต่ละก้าวย่างแห่งสติรู้สึกตัว ไม่มีเสแสร้งภายใต้รูปแบบใดๆ อยากทำอะไรก็ทำ หิวก็กิน ง่วงก็นอน อยากหัวเราะ ดูหนังน้ำเน่า ร้องเพลง ซื้อของ หากดำเนินไปบนความตระหนักรู้และมิได้สร้างความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น ชีวิตไม่ควรต้องจืดชืดแต่ก็ไม่ยึดติดในรสชาด ผ่านเข้ามาและผ่านไป มีอิสรภาพทางใจ ไม่ถูกจองจำหรือทิ้งร่องรอยให้ค้างคาใจ ไม่ขาดไม่เกินไปจากสิ่งที่มันเป็น

และคนนี้
ยกพระไตรปิฏกให้พิจารณา เรื่องพระโสดาบัน ย่อมประกฏสภาวธรรม ที่เป็น มรรคญาณ ผลญาณ ทุกท่าน แต่ ท่านจะใส่ใจหรือไม่ เป็นกรณีไปเพราะของแต่ละท่าน พระโสดาบันทุกท่าน ต้องผ่าน มรรคญาณผลญาณ ทุกท่าน ครับ แต่ท่านไม่สนใจในสภาวะธรรมที่ปรากฏก็อีกเรื่องหนึ่ง ตรงที่ขีดเส้นไต้ เป็นสภาวะธรรม ที่เกิด มรรคญาณและผลญาณ "ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน"
ย่อมปรากฏแจ้งชัดกับ พระโสดาบันทุกท่าน แต่จะใส่ใจหรือไม่ใส่ใจ หรือไม่ อีกเรื่องหนึ่ง

ว่าด้วยสัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล

[๔๖๙] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
จักษุไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
หูไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
จมูกไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
ลิ้นไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
กายไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
เรากล่าวผู้นี้ว่า สัทธานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
เราเรียกผู้นี้ว่า ธัมมานุสารี ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้. เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน
มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.
จบ สูตรที่ ๑.









เมื่อไม่รู้ จึงทำให้เกิดความประมาท กล่าวคือ ไม่ทำตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ ทั้งๆที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ว่า


นันทิยสูตร
อยู่ด้วยความประมาทและไม่ประมาท


[๑๖๐๒] ดูกรนันทิยะ ก็อริยสาวกผู้เป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอย่างไร?
อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้าว่า
แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ฯลฯ เป็นผู้จำแนกธรรม
อริยสาวกนั้นยังไม่พอใจด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้านั้น
พยายามให้ยิ่งขึ้นไป เพื่อความสงัดในกลางวัน เพื่อหลีกเร้นในกลางคืน
เมื่ออริยสาวกนั้นเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้ ย่อมเกิดปราโมทย์
เมื่อเกิดปราโมทย์ ย่อมเกิดปีติ
เมื่อมีใจกอปรด้วยปีติ กายย่อมสงบ
ผู้มีกายสงบ ย่อมได้เสวยสุข
จิตของผู้มีความสุขย่อมเป็นสมาธิ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ อริยสาวกนั้น
ย่อมถึงความนับว่า อยู่ด้วยความไม่ประมาท

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหว ในพระธรรม ... ในพระสงฆ์ ...
ประกอบด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว ไม่ขาด ฯลฯ เป็นไปเพื่อสมาธิ
อริยสาวกนั้นยังไม่พอใจด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว พยายามให้ยิ่งขึ้นไป
เพื่อความสงัดในกลางวัน เพื่อหลีกเร้นในกลางคืน
เมื่ออริยสาวกนั้นเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้ ย่อมเกิดปราโมทย์
เมื่อเกิดปราโมทย์ ย่อมเกิดปีติ
เมื่อมีใจกอปรด้วยปีติ กายย่อมสงบ
ผู้มีกายสงบ ย่อมได้เสวยสุข
จิตของผู้มีความสุข ย่อมเป็นสมาธิ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
อริยสาวกนั้นย่อมถึงความนับว่า อยู่ด้วยความไม่ประมาท

ดูกรนันทิยะ อริยสาวกเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอย่างนี้แล.










นิวรณ์มาก

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญาเป็นไฉน
บุคคลบางคนในโลกนี้
โดยปรกติเป็นคนมีราคะกล้า ย่อมได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่ราคะเนืองๆ บ้าง
โดยปรกติเป็นคนมีโทสะกล้า ย่อมได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โทสะเนืองๆ บ้าง
โดยปรกติเป็นคนมีโมหะกล้า ย่อมได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โมหะเนืองๆ บ้าง

อินทรีย์ ๕ ประการนี้ คือ
สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ของเขาปรากฏว่าอ่อน
เขาย่อมบรรลุคุณวิเศษเพื่อความสิ้นอาสวะได้ช้า เพราะอินทรีย์ ๕ เหล่านี้อ่อน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯ



ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นไฉน
บุคคลบางคนในโลกนี้ โดยปรกติเป็นผู้มีราคะกล้า ย่อมได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่ราคะเนืองๆ บ้าง
โดยปรกติเป็นผู้มีโทสะกล้า ย่อมได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โทสะเนืองๆ บ้าง
โดยปรกติเป็นผู้มีโมหะกล้า ย่อมได้เสวยทุกข์โทมนัสอันเกิดแต่โมหะเนืองๆ บ้าง

อินทรีย์ ๕ ประการนี้ คือ
สัทธินทรีย์ ฯลฯ ปัญญินทรีย์ของเขาปรากฏว่าแก่กล้า
เขาย่อมบรรลุคุณวิเศษเพื่อความสิ้นอาสวะเร็วพลัน เพราะอินทรีย์ ๕ ประการนี้แก่กล้า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า ทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯ






ก่อนที่ฉันเล่าประสบการณ์ภาวนาจนนำมาสู่ชีวิตใหม่ ฉันจะขอย้อนหลังถึงพฤติกรรมตนเองที่เป็นคนคิดมาก เครียดง่าย จิตไม่เคยอยู่กับปัจจุบัน ถือความเห็นตัวเองเป็นใหญ่ มีความมั่นใจในตนเองสูงมาก อัตตาตัวตนแยะ
ชอบตัดสินลงความเห็น ฉันถูก เธอผิด ใจร้อน ซุ่มซ่ามไม่รอบครอบ ขึ้หลงขี้ลืมประจำ แต่ก็แปลกที่ฉันก็ยังสามารถทำอะไรได้ทั้งๆที่มีความคิดเป็นเงาตามติดตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับ

ฉันไม่เคยรู้มาก่อนว่า ความคิดมันเข้ามาบดบังธรรมชาติที่แท้จริงของชีวิต ทำให้ฉันไม่อาจมองเห็นชีวิตที่สมบูรณ์เต็ม มีบางส่วนที่หายไป ราวกับว่ามันไม่เคยมีอยู่
ฉันดำเนินชีวิตด้วยความหลง เผลอทั้งวัน แล้วก็มีทั้งสุขและทุกข์ แต่ส่วนใหญ่ฉันไม่ค่อยรู้สึกว่าตนเองมีทุกข์ ทำให้ประมาทไม่เคยคิดจะหาทางกำจัดทุกข์จนวัยล่วงเลยมาไกลแล้ว ฉันจึงเริ่มสนใจวิธีการขจัดความคิดและความเครียด

แม้ฉันจะไม่เคยไป เข้าคอร์สธรรมะที่ไหนในช่วงเริ่มต้น ไม่มีครูบาอาจารย์ ฉันเริ่มจากการอ่านหนังสือของทั้งไทยและต่างประเทศ แล้วค่อยๆจับประเด็นที่สำคัญ เพื่อนำมาประยุกต์กับจริตตนเอง
บางทีอาจเป็นการโชคดีที่ฉันเริ่มต้นเอง ฉันจึงไม่ต้องพะวงกับรูปแบบการฝึกมากนักว่าจะผิดหรือถูกอย่างไร ตอนนั้นฉันไม่เคยมีเป้าหมายอันยาวไกลเกินกว่า การขจัดขยะความคิดและความเครียดให้เหลือน้อยลง
ขอเพียงแค่หยุดคิดฟุ้งซ่าน ชีวิตจะได้ผ่อนคลาย สบายใจขึ้น เพราะที่ผ่านมาฉันทำร้ายตนเองอยู่เสมอ พอคิดถึงบางเรื่อง ฉันจะเครียดทันที เครียดนานหลายชั่วโมง ความคิดนี่มันร้ายกาจที่สุด มันบงการชีวิตฉันระหกระเหินไปได้ตลอดทั้งวัน





[๕๓๖] ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถความไม่พยาบาท เป็นสมาธิ
ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถแห่งอาโลกสัญญา เป็นสมาธิ ฯลฯ
ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถความเป็นผู้พิจารณาเห็นความสละคืนหายใจออก
ด้วยสามารถความเป็นผู้พิจารณาเห็นความสละคืนหายใจเข้า เป็นสมาธิ

วิปัสสนาด้วยอรรถว่า พิจารณาเห็นธรรมที่เกิดในสมาธินั้น
โดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา
ด้วยประการดังนี้ สมถะจึงมีก่อน วิปัสสนามีภายหลัง
เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น ฯ




ฉันเองเริ่มต้นการฝึกปฏิบัติภาวนา บนความไม่รู้ทฤษฎี เริ่มต้นจากการฝึกลมหายใจเข้าและออกไปในอิริยาบถต่างๆ ลืมตาฝึก มิใช่หลับตา
และก่อนนอนทุกคืน ฉันนอนฝึกจับความรู้สึกละเอียดของสรีระในร่างกาย (sensation)จนหลับไป
รายละเอียดของกายที่ฉันสัมผัสรู้มันช่วยให้จิตฉันสงบจากความคิดฟุ้งซ่าน ฉันปฏิบัติมาแรมปี ทุกค่ำคืน ทุกกลางดึกที่ตื่นขึ้นแทนที่จะปล่อยให้จิตคิดโน่นคิดนี่ฉันก็ฝึก sensation และลมหายใจ
ฉันจะไม่ลงรายละเอียดของวิธีการภาวนา ฉันเชื่อว่า การภาวนาที่แท้จริงไม่มีรูปแบบใดๆ เมื่อมันเข้าที่เข้าทางลงล็อคได้เมื่อไหร่ ความรู้สึกตัวก็จะเผยตัวออกมาเองไม่ว่าคุณจะทำอะไร อยู่ในอิริยาบถไหนก็ตาม
มันก็คือส่วนหนึ่งของการภาวนาแล้ว อย่าไปสนใจว่ามันคือสมถะหรือวิปัสสนา สาระอยู่ที่ว่าทุกการฝึกมี ความรู้สึกตัวทั่วพร้อมเกิดขึ้น ทำให้จิตหยุดคิดปรุงแต่งหรือไม่ ฉันภาวนาไปในวิถีธรรมชาติ ไร้รูปแบบใดๆ
นึกขึ้นได้ก็ภาวนา ไม่มีการกำหนดเวล่ำเวลาวันละกี่ชั่วโมง หรือช่วงไหนของแต่ละวัน

ย้อนหลังกลับไปราวปลายปี 2550 ฉันเคยสัมผัสได้ถึงความรู้สึกบางอย่างขณะเปิดน้ำก๊อกล้างมือความเย็นของสายน้ำที่ผ่านมือเป็นความรู้สึกสัมผัสที่เกิดขึ้นเองบนใจที่ว่าง สงบเบาสบาย มันเกิดความรู้สึกนี้ได้เพียงช่วงสั้นๆแค่ 1 -2 วินาที
ภายหลังจากที่ฉันได้ฝึกลมหายใจมาเกือบปี และความรู้สึกนี้ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนเลยหากจงใจไปรู้สึกถึงมัน เพราะขณะที่ฉันสัมผัสได้ถึงลมหายใจ เจ้าความรู้สึกแบบนี้ที่มันว่างๆ เบาสบาย
มักจะปรากฏแนบมาพร้อมกับสติรู้สึกตัวทั่วพร้อมหรือสัมปชัญญะทุกครั้ง ความคิดขยะหายไปฉับพลัน มันคือความรู้สึกที่ฉันปรารถนาถึง ฉันไม่รู้จะเรียกมันว่าอะไรดี แต่ฉันอยากให้มันอยู่กับฉันนานๆ
ไม่ว่าฉันจะสัมผัสเย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว ภายในกาย ความรู้สึกสัมผัสนี้มักมีอยู่ มันคือ อะไรกันแน่ฉันต้องค้นหามันให้ได้ มันต้องอยู่ที่ไหนสักแห่งในจิตใจฉันนี่แหละ
ฉันเคยตั้งข้อสังเกตว่าทุกครั้งที่ฉันทำอะไร ไม่ว่าจะเป็นตอนที่เอนกายนั่งสบายๆ หรือขณะเท้าแตะพื้นบันไดเวลาก้าวเดินขึ้นลงเมื่อจิตฉันสัมผัสรู้ที่สิ่งนั้น เจ้าความรู้สึกนี้มักปรากฏอยู่บ่อยครั้ง
และยังคงนึกต่อไปว่า หากเรามีวิธีใดที่สามารถทำให้มันรู้สึกต่อเนื่องได้นั่นคือ สภาวะที่วิเศษสุด ในตอนนั้นฉันเหมือนคนที่ยังไม่รู้อะไรมาก เลยยังไม่เห็น หนทางที่จะทำให้มันปรากฏชัดขึ้นมาได้อย่างต่อเนื่อง
เพราะมันมาให้รู้สึกได้เพียงชั่วครู่ก็หายไป ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบทที่แสนจะธรรมดาเช่น ตอนกำลังตากผ้า หรือขณะเอามะละกอแช่เย็นใส่ปาก ฉันสังเกตว่า มันจะปรากฏคู่กับการสัมผัสรู้ที่เด่นๆ
เช่นอาการเอื้อม หรือ ความเย็นที่มาสัมผัสแล้ววาบเข้ามาสู่ใจ ความคิดจึงหายไปและใส่ใจอยู่กับอากัปอาการเหล่านี้ มาบัดนี้ ฉันตระหนักดีว่า เจ้าความรู้สึกสัมผัสดังกล่าว มันคือธรรมชาติแท้ที่อยู่ในจิตใจเรา

ทุกครั้งที่จิตตื่นรู้ปรากฏ เหมือน ตัวฉัน ถูกแยกหายไป มีเพียงความรู้สึกชัดที่เปี่ยมด้วยสติสัมปชัญญะ อารมณ์แจ่มใส ว่องไว ฉันรู้สึกถึงความเบาสบาย เหมือนร่างกายไร้น้ำหนัก
และฉันได้รับคำสอนจากพระอาจารย์ว่า ที่รู้สึกเหมือนไร้น้ำหนัก เบาสบาย เพราะขณะนั้นมีการปล่อยวางในอัตตาตัวตนแล้ว ศีลปรมัตถ์หรือจิตปรกติเกิดขึ้นแล้ว
เพียงแต่มันยังเป็นประสบการณ์ใหม่ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วครู่และหายไป ฉันจึงสังเกตมันไม่ทัน



รู้จักบัญญัติ เหตุจากการไม่รู้จักโยนิโสมนสิการ เป็นปัจจัยให้อุปกิเลสมีเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ


เป็นรอยพระพุทธบาทที่สำคัญบนเส้นทางแห่งการพ้นทุกข์ที่พระอาจารย์แนะนำ โดยฉันไม่ต้องไปแสวงหาไกลๆถึงอินเดีย ศีลเป็นก้าวแรกที่สำคัญที่นำพาชีวิตดำเนินไปบนทางสายกลาง
เมื่อกล่าวถึง ศีล สมาธิ ปัญญา เชื่อว่าทุกท่านคงคุ้นกับ 3 คำนี้มานานมากแล้ว และต่างก็เข้าใจความหมายที่ตนเองจินตนาการขึ้นจากคำอธิบายในตำราทั่วไป
การรู้ความหมายของคำเหล่านี้ก็คงเป็นการรู้ที่ผิวเผิน หาได้เข้าใจและเข้าถึงแก่น ความหมายหรือตัวสภาวะได้อย่างแท้จริง เพราะความหมายของมันมิอาจสัมผัสได้จากคำอธิบาย แต่จะเข้าถึงได้ด้วยประสบการณ์จากการภาวนา
หากเป็นแต่ก่อนที่ฉันเจอ 3 คำนี้ ฉันก็จินตนาการถึงมันตามคำอธิบาย แต่มันก็เหมือนกับการที่ฉันเห็นรูปร่างหน้าตาของผลไม้ชนิดหนึ่งที่ไม่เคย ลิ้มรส ฉันเห็นรูปทรง สีสันและกลิ่น
แต่ยังมิอาจเข้าถึงรสชาดและความรู้สึกสัมผัสก่อนการได้ลิ้มชิมรสผลไม้นั้น ฉันจึงมิอาจกล่าวได้ว่า ฉันรู้จักผลไม้นั้นอย่างแท้จริง
ฉันเอง พร่ำบอกตนเองอยู่เสมอระหว่างที่ฝึกหัดภาวนาว่า สภาวะอะไรก็ตามที่ไม่แน่ใจ ขออย่าได้ฟันธงว่ามันใช่ หรืออย่าพยายามคิดและแสร้งทำให้มันเป็น มันไม่ส่งผลดีต่อการภาวนาของเรา
แม้เราจะคุยโม้ให้คนอื่นฟังได้ แต่จะมีประโยชน์อะไรในเมื่อตัวเราย่อมรู้แน่แก่ใจว่าอะไรเป็นอะไร เพราะมันจะเป็นอุปสรรคต่อการภาวนา และอาจนำพาให้หลงทางได้ และก่อนฉันจะเขียนสิ่งใดเผยแพร่ออกไป
ฉันต้องแน่ใจและได้รับการตรวจสอบสภาวะจากพระอาจารย์ทุกครั้งเพื่อให้สิ่งที่ฉัน เขียนไม่ผิดพลาดจนเกิดผลเสียตามมาต่อตนเองและผู้อื่น



กรรมและผลของกรรม
สภาวะนี้ เป็นเพียงบันไดขั้นแรก ส่วนจะไปต่อได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยของบุคคลนั้น
กล่าวคือ กรรมและผลของกรรม อวิชชาและตัณหา




สมาธิ ที่กำหนดจิตให้สงบนิ่งอยู่กับสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยไม่รู้อารมณ์ หรือการปลีกวิเวกเพื่อกันความวุ่นวายออกไปให้พ้นจากจิตใจ
เช่น ทำความสงบอยู่กับลมหายใจ จิตไหลออกไปแช่ในอวัยวะที่เคลื่อนไหวขณะก้าวเดิน
หรือมือที่ยกตามจังหวะ เท้าที่ก้าวเดินเป็นต้น สมาธิแบบนี้ไม่มีปัญญา ได้แต่ความสงบ (มิจฉาสมาธิ)
แต่สมาธิที่จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้น คือ การที่จิตสงบอยู่ภายในไม่ส่งออกหรือไหลไปกับสิ่งภายนอกเมื่อมีการกระทบกับประสาทสัมผัส ต่างๆ
เช่นขณะที่ตาเห็น หูได้ยิน จมูกรับกลิ่น ลิ้นรับรส กายสัมผัสรู้ หรือ ใจกำลังคิดสิ่งต่างๆ สมาธิแบบนี้มีปัญญาทำให้พ้นทุกข์ ท่านเรียกว่า สัมมาสมาธิ

เมื่อได้เรียนรู้ว่าการเอาชนะกิเลสด้วยการตามรู้หลังเผลอไม่ได้ผลในการปล่อยวาง ฉันจึงหันมาเน้นทำความรู้สึกตัวเพื่อปลุกจิตตื่นรู้หรือจิตปรกติให้ปรากฏขึ้นบ่อยๆ
และนึกถึงคำสอนของพระอาจารย์ให้ดำรงจิตที่สุญญตา ฉันยอมรับว่าช่วงแรกทำยากเพราะจิตมันคอยแต่จะส่งออกและถูกกิเลสรุมเร้า บางทีเรื่องไม่เป็นเรื่องก็สามารถคิดฟุ้งซ่านจนเครียด
และความเครียดเกาะติดแน่น ทำร้ายให้ทุกข์ทรมานใจ ... ถ้าไม่ดำรงจิตที่สุญญตามันก็ปรุงตลอดทั้งวัน ฉันนึกถึงคำกล่าวที่โดนใจเพราะมันเป็นเช่นนั้นจริงๆ ตลอดเวลา 3 ถึง 4 เดือนที่ผ่านมา





หากไปได้ต่อ ขึ้นอยู่กับกรรมที่เคยกระทำไว้กับผู้ที่ให้คำแนะนำ(อาจารย์)
กล่าวคือ เคยสร้างเหตุ(กรรม)มาร่วมกัน ให้มาเชื่อกัน
เมื่อมีเจอกันอีก ก็ทำให้เชื่อกันอีก(ตัดเรื่องถูก,ผิดออกไป)




ความประทับใจครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ที่ผ่านมา ตื่นนอนอนเช้านั้น ฉันก้าวลงจากเตียงไปห้องน้ำ ฉันรู้สึกราวกับว่าประสาทสัมผัสทำงานดีเกินปรกติ
การรู้ตัวต่อเนื่องได้นานๆ จิตไม่ส่งออก ตระหนักรู้อาการที่เคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ลุกจากเตียง เอี้ยวตัว ก้าวเดิน มือจับลูกบิด เปิดประตู แปรงฟัน กระพริบตา บ้วนปาก ฯลฯ
รายละเอียดปลีกย่อยเหล่านี้มันรู้ขึ้นมาเองโดยไม่ต้องพยายามรู้ ฉันมองตัวเองในกระจกและยังอดขำที่จู่ๆ เช้านี้ประสาทสัมผัสคงผิดปรกติ ทำไมมันจึงรู้ได้เองเรื่อยๆ จิตใจร่าเริงแจ่มใส มีชีวิตชีวา ไม่เซื่องซึม รู้สึกอยู่ในอารมณ์เดียวที่มันเบาสบายทั้งวัน
แต่ฉันก็ใช้เวลาอีกหลายวันเพื่อพิสูจน์ว่า ความแปลกนั้นมันไม่เสื่อมหายไป และในที่สุดจึงได้โทรศัพท์ไปถามพระอาจารย์ ท่านบอกว่า ที่รู้ได้อย่างต่อเนื่องเป็นเพราะวิปัสสนาญาณหรือธรรมชาติรู้พร้อมเป็นผู้ทำหน้าที่รู้
ถ้าเป็นตัวเรา จะรู้ได้จำกัดทีละอย่าง คือรู้แล้วก็เผลอส่งออก แต่วิปัสสนาญาณจะเกิดขึ้นเมื่อจิตที่ตั้งมั่นในความเป็นปรกติ ไม่ไหลออก หรือแส่ส่ายไปมาตามผัสสะ นั่นเพราะจิตมีสัมมาสมาธิ

อย่างไรก็ตามฉันเองยังเป็นเพียงผู้เดินทาง และคงอีกยาวไกลกว่าจะสู่จุดหมายปลายทางแห่งการพ้นทุกข์นิรันดร แต่นับเป็นวาสนาโดยแท้ที่มีพระอาจารย์เมตตาคอยนำทางให้เป็นระยะๆ ตลอดเกือบ 1 ปีเต็ม
จึงได้สั่งสมประสบการณ์ต่างๆไว้มากมาย ทำให้ตอนนี้ฉันสามารถเห็นความแตกต่างของชีวิตที่ขาดความสมบูรณ์ในอดีต เป็นชีวิตที่ระหกระเหินในวังวนของสังสารวัฏ สุขๆทุกข์ๆสลับกันไป




ผลคือเป็นแบบนี้ กล่าวคือ ความรู้สึกและอาการที่มีเกิดขึ้นของผู้ติดอุปกิเลส


ชีวิตใหม่มิได้วิเศษเกินไปกว่าความเรียบง่ายในแต่ละก้าวย่างแห่งสติรู้สึกตัว ไม่มีเสแสร้งภายใต้รูปแบบใดๆ อยากทำอะไรก็ทำ หิวก็กิน ง่วงก็นอน อยากหัวเราะ ดูหนังน้ำเน่า ร้องเพลง ซื้อของ
หากดำเนินไปบนความตระหนักรู้และมิได้สร้างความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น ชีวิตไม่ควรต้องจืดชืดแต่ก็ไม่ยึดติดในรสชาด ผ่านเข้ามาและผ่านไป มีอิสรภาพทางใจ ไม่ถูกจองจำหรือทิ้งร่องรอยให้ค้างคาใจ ไม่ขาดไม่เกินไปจากสิ่งที่มันเป็น





..............................................

สัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล ไม่ได้มีแค่นี้(ปริยัติ)
จริงๆแล้วมีมากกว่านี้ ที่คิดว่ามีแค่นี้เกิดจากปฏิบัติไม่ถึง
เนื่องจากขาดการศึกษาในสิกขา ๓ คือ
อธิศีลสิกขา ๑
อธิจิตตสิกขา ๑
อธิปัญญาสิกขา ๑

ถ้าอธิบายแบบหยาบๆ จะมีแค่นั้น(รู้แค่ไหน ก็อธิบายได้แค่นั้น)
เท่านี้เห็นว่า ส่วนมากติดอุปกิเลส ไปต่อไม่ได้ ยังวนๆอยู่แค่นั้น

ทั้งๆที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ชัด
"ทั้งเมื่อก่อนและทั้งบัดนี้ เราย่อมบัญญัติทุกข์ และความดับทุกข์"

กล่าวคือ ทุกข์(อุปาทานขันธ์ 5)และความดับทุกข์(นิพพาน/อวิชชาและตัณหา)





สำหรับผู้ที่พอใจแค่นี้
เหตุปัจจัยจากยังไม่เกิดความเบื่อหน่ายภพชาติการเกิด
จะขอยกเว้นไม่นำมากล่าวถึงโสดาประเภทนี้ เพราะโสดาบันประเภทนี้ ไม่จำเป็นต้องไปรู้อะไรมากกว่านี้
แค่ทำทาน รักษาศิล เท่านี้ก็พอแล้ว ในสมัยพุทธกาลก็มีตัวอย่างให้เห็นอยู่หลายคน

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มิ.ย. 2019, 15:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


03 ก.ย. 2013

ปัญญาไตรลักษณ์
เป็นปัญญาที่เกิดจากการเห็นสภาวะไตรลักษณ์ ที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง เป็นเหตุให้รู้ ตามความเป็นจริงว่า
"ทุกสรรพสิ่งล้วน เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ตามเหตุและปัจจัยของสิ่งที่เกิดขึ้น
เกิด-ดับๆๆๆๆๆ อยู่อย่างนั้น เป็นปกติ ถึงแม้จะมีเรา หรือไม่มีเรา เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ก็ตาม"


เมื่อตาเห็นรูป … ตากระทบรูป ..เมื่อเกิดผัสสะ หรือการกระทบ
การทำงานของอายตนะภายนอกกับภายในจะทำงานร่วมกัน
เช่น เมื่อตามองเห็นสิ่งต่างๆ ย่อมมองเห็นเพียงสภาวะภายนอกที่เกิดขึ้น
แต่สภาวะภายในที่ซ้อนอยู่ย่อมมองไม่เห็น บัญญัติซ้อนปรมัตถ์

เมื่อมีเราเข้าไปเกี่ยวข้องกับสภาวะที่เกิดขึ้น ตามเหตุปัจจัยที่มีอยู่
เป็นเหตุให้ เห็นสภาวะไตรลักษณ์ แบบหยาบๆว่า
ความทนอยู่ไม่ได้ ความบีบคั้น เรียกว่า ทุกข์
ความแปรปรวน ไม่แน่นอน เรียกว่า อนิจจัง
ไม่สามารถบังคับให้เป็นตามที่ต้องการได้ เรียกว่า อนัตตา

เมื่อยังมีเราเข้าไปเกี่ยวข้อง จะเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ที่ละเอียดมากขึ้นอีก
โดยการไม่สร้างเหตุออกไป ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น ที่เกิดจาก ผัสสะ เป็นเหตุปัจจัย
ประกอบด้วยการทำความเพียรต่อเนื่อง

เมื่อถึงเวลา เหตุปัจจัยพร้อม สภาวะไตรลักษ์ จะเกิดขึ้นตามความเป็นจริง จะไม่มีคำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
เป็นสภาวะไตรลักษณ์ สักแต่ว่า ไตรลักษณ์ เมื่อนั้น จิตจะเกิดการปล่อยวาง โดยไม่ต้องคิดปล่อยวาง

บางคนคิดว่า รู้และเห็นแค่นี้ก็เพียงพอแล้ว







"สังขารก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่น่าชื่นชม
นี้เป็นกำหนด ควรเบื่อหน่าย ควรคลายกำหนัด ควรหลุดพ้น ในสังขารทั้งปวง ฯ"


สำหรับบุคคลที่รู้ชัดทุกข์ การรู้และเห็นแค่นี้ ยังไม่พอ
จะทำความเพียรให้มากขึ้น คือ เดินจงกรมต่อด้วยทำสมาธิทั้งกลางวันและกลางคืน
ผลของการทำความเพียรต่อเนื่อง ถีนะ และรูปราคะ(รูปฌาน)และอรูปราคะ(อรูปฌาน) ถูกประหาณเป็นสมุจเฉทโดยตัวของสภาวะ

หากดำเนินตามมรรคมีองค์ 8
เมื่อถึงเวลา เหตุปัจจัยพร้อม สภาวะอนุโลมญาณ มรรคญาณ ผลญาณ จะมีเกิดขึ้นตามความเป็นจริง
โดยปราศจากความตัวตน(ตัณหาและอวิชชา) เข้ามาเกี่ยวข้อง








๕. ทันตภูมิสูตร (๑๒๕)

ตถาคตจึงแนะนำเธอนั้นให้ยิ่งขึ้นไปว่า
ดูกรภิกษุ มาเถิด เธอจงเป็นผู้มีศีล

ตถาคตจึงแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า ดูกรภิกษุ มาเถิด
เธอจงเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย เห็นรูปด้วยจักษุแล้ว จงอย่าถือโดยนิมิต ฯลฯ
เธอครั้นละนิวรณ์ ๕ ประการ อันเป็นเครื่องทำใจให้เศร้าหมอง ทำปัญญาให้ถอยกำลังนี้ได้แล้ว
ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกาย มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่
ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา ...
ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นจิตในจิต ...
ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ



[๓๙๘] ตถาคตจึงแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า ดูกรภิกษุ มาเถิด
เธอจงเป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่
แต่อย่าตรึกวิตกที่เข้าประกอบกับกาย

จงเป็นผู้พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่
แต่อย่าตรึกวิตกที่เข้าประกอบกับเวทนา

จงเป็นผู้พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่
แต่อย่าตรึกวิตกที่เข้าประกอบกับจิต

จงเป็นผู้พิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่
แต่อย่าตรึกวิตกที่เข้าประกอบกับธรรม

เธอย่อมเข้าทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งใจภายใน มีความเป็นธรรมเอกผุดขึ้น เพราะสงบวิตกและวิจาร
ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ย่อมเป็นผู้วางเฉยเพราะหน่ายปีติ
มีสติสัมปชัญญะอยู่ และเสวยสุขด้วยนามกาย

เข้าตติยฌาน ...

ย่อมเข้าจตุตถฌานอันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข ละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ
ได้มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาอยู่ ฯ



[๓๙๙] เธอ เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส เครื่องยียวน
ปราศจากอุปกิเลส เป็นจิตอ่อนโยน ควรแก่การงานตั้งมั่น ถึงความไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้ว
ย่อมน้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกขันธ์ที่อยู่อาศัยในชาติก่อนได้เป็นอเนกประการ
คือระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง ฯลฯ เธอย่อมระลึกขันธ์ที่อยู่อาศัยในกาลก่อนได้เป็นอเนกประการ พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศเช่นนี้ ฯ



[๔๐๐] เธอ เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส เครื่องยียวน
ปราศจากอุปกิเลส เป็นจิตอ่อนโยน ควรแก่การงานตั้งมั่น ถึงความไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้ว
ย่อมน้อมจิตไปเพื่อญาณเครื่องรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย มองเห็นหมู่สัตว์กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต
มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ฯลฯ ย่อมทราบชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมเช่นนี้ ฯ



[๔๐๑] เธอ เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเครื่องยียวน
ปราศจากอุปกิเลส เป็นจิตอ่อนโยน ควรแก่การงานตั้งมั่น ถึงความไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว
ย่อมน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ รู้ชัดตามเป็นจริงว่า

นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ที่ดับทุกข์ นี้ปฏิปทาให้ถึงที่ดับทุกข์ รู้ชัดตามเป็นจริงว่า
เหล่านี้อาสวะ นี้เหตุให้เกิดอาสวะ นี้ที่ดับอาสวะ นี้ปฏิปทาให้ถึงที่ดับอาสวะ

เมื่อเธอรู้อย่างนี้ เห็นอย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ
เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณรู้ชัดว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า
ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ



[๔๐๒] ภิกษุนั้นเป็นผู้อดทน คือ มีปรกติอดกลั้นต่อความหนาว ความร้อน ความหิว และความกระหาย
ต่อสัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เสือกคลาน ต่อ ทำนอง คำพูดที่กล่าวร้าย ใส่ร้าย ต่อเวทนาประจำสรีระที่เกิดขึ้นแล้ว อันเป็นทุกข์กล้า เจ็บแสบ ไม่ใช่ความสำราญ ไม่เป็นที่ชอบใจ พอจะสังหารชีวิตได้
เธอเป็นผู้กำจัดราคะ โทสะ โมหะทั้งปวงได้ หมดกิเลส เพียงดังน้ำฝาดแล้ว
เป็นผู้ควรแก่ของคำนับ ควรแก่ของต้อนรับ ควรแก่ทักขิณาทาน
ควรแก่การกระทำอัญชลี เป็นเนื้อนาบุญของโลกอย่างหาแห่งอื่นเปรียบมิได้ ฯ






นันทิยสูตร
อยู่ด้วยความประมาทและไม่ประมาท

[๑๖๐๒] ดูกรนันทิยะ ก็อริยสาวกผู้เป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอย่างไร?
อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้าว่า
แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ฯลฯ เป็นผู้จำแนกธรรม
อริยสาวกนั้นยังไม่พอใจด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้านั้น
พยายามให้ยิ่งขึ้นไป เพื่อความสงัดในกลางวัน เพื่อหลีกเร้นในกลางคืน
เมื่ออริยสาวกนั้นเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้ ย่อมเกิดปราโมทย์
เมื่อเกิดปราโมทย์ ย่อมเกิดปีติ
เมื่อมีใจกอปรด้วยปีติ กายย่อมสงบ
ผู้มีกายสงบ ย่อมได้เสวยสุข
จิตของผู้มีความสุขย่อมเป็นสมาธิ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ อริยสาวกนั้น
ย่อมถึงความนับว่า อยู่ด้วยความไม่ประมาท

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหว ในพระธรรม ... ในพระสงฆ์ ...
ประกอบด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว ไม่ขาด ฯลฯ เป็นไปเพื่อสมาธิ
อริยสาวกนั้นยังไม่พอใจด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว พยายามให้ยิ่งขึ้นไป
เพื่อความสงัดในกลางวัน เพื่อหลีกเร้นในกลางคืน
เมื่ออริยสาวกนั้นเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้ ย่อมเกิดปราโมทย์
เมื่อเกิดปราโมทย์ ย่อมเกิดปีติ
เมื่อมีใจกอปรด้วยปีติ กายย่อมสงบ
ผู้มีกายสงบ ย่อมได้เสวยสุข
จิตของผู้มีความสุข ย่อมเป็นสมาธิ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
อริยสาวกนั้นย่อมถึงความนับว่า อยู่ด้วยความไม่ประมาท

ดูกรนันทิยะ อริยสาวกเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอย่างนี้แล.

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2019, 16:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


โสดาบัน(โสดาปัตติมรรค) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท


ประเภทที่ 1 สัทธานุสารี

ภิกษุ ท .! จักษุ….โ ส ต ะ ….ฆ า น ะ ….ชิว ห า …ก า ย ะ …ม น ะ
เป็นสิ่งไม่เที่ยง มีความแปรปรวนเป็นปกติ มีความเปลี่ยนเป็นอย่างอื่นเป็นปกติ.


ภิกษุ ท.! บุคคลใด มีความเชื่อ น้อมจิตไป ในธรรม ๖ อย่างนี้ ด้วยอาการอย่างนี้ ;
บุคคลนี้เราเรียกว่าเป็น สัทธานุสารี

หยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม(ระบบแห่งความถูกต้อง)
หยั่งลงสู่สัปปุริสภูมิ (ภูมิแห่งสัตบุรุษ)
ล่วงพ้นบุถุชนภูมิ ไม่อาจที่จะกระทำ กรรมอันกระทำ แล้วจะเข้าถึงนรก กำเนิดดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
และไม่ควรที่จะทำกาละก่อนแต่ที่จะทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.




เป็นสภาวะที่มีเกิดขึ้น ขณะดำเนินชีวิต

ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถความไม่พยาบาท เป็นสมาธิ
ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถแห่งอาโลกสัญญา เป็นสมาธิ ฯลฯ
ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถความเป็นผู้พิจารณาเห็นความสละคืนหายใจออก
ด้วยสามารถความเป็นผู้พิจารณาเห็นความสละคืนหายใจเข้า เป็นสมาธิ

วิปัสสนาด้วยอรรถว่า พิจารณาเห็นธรรมที่เกิดในสมาธินั้น
โดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ด้วยประการดังนี้

สมถะจึงมีก่อน วิปัสสนามีภายหลัง
เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น ฯ






ภิกษุนั้นย่อมเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้นอย่างไร ฯ
วิปัสสนา ด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา
ความที่จิตมีการปล่อยธรรมทั้งหลายที่เกิดในวิปัสสนานั้นเป็นอารมณ์
เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิ ด้วยประการดังนี้

วิปัสสนาจึงมีก่อน สมถะมีภายหลัง
เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น ฯ


กล่าวคือ เป็นการละอุปาทานขันธ์ ๕ อย่างหยาบ โดยศิล





ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพื่อรู้ราคะด้วยปัญญาอันยิ่ง จึงควรเจริญธรรม ๓ ประการ
ธรรม ๓ ประการเป็นไฉน คือ สุญญตสมาธิ ๑ อนิมิตตสมาธิ ๑ อัปปณิหิตสมาธิ ๑

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพื่อรู้ราคะด้วยปัญญาอันยิ่ง จึงควรเจริญธรรม ๓ ประการนี้แล
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพื่อกำหนดรู้ราคะฯลฯ
เพื่อความสิ้นไปรอบ เพื่อละ เพื่อความสิ้นไป
เพื่อความเสื่อมไป เพื่อความสำรอก เพื่อความดับ
เพื่อความสละ เพื่อความสละคืนราคะ
จึงควรเจริญธรรม ๓ ประการ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อกำหนดรู้ เพื่อความสิ้นไปรอบ
เพื่อละ เพื่อความสิ้นไป เพื่อความเสื่อมไป
เพื่อความสำรอก เพื่อความดับ เพื่อความสละ
เพื่อความสละคืน โทสะ โมหะ โกธะ อุปนาหะมักขะ ปลาสะ อิสสา
มัจฉริยะ มายา สาเถยยะ ถัมภะ สารัมภะ มานะอติมานะ ทมะ ปมาทะ
จึงควรเจริญธรรม ๓ ประการนี้ ฉะนี้แล ฯ



หมายเหตุ;

"สุญญตสมาธิ ๑ อนิมิตตสมาธิ ๑ อัปปณิหิตสมาธิ ๑"
ได้แก่ ขณิกสมาธิ


ซึ่งแตกต่างจาก “สัตว์ที่กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์แล้ว ไม่ได้สมาธิ ไม่ได้เอกัคคตาจิต”

หมายถึง สีลวิสุทธิ(เกิดจากผู้ที่แจ้งนิพพานด้วยตน)
ประกอบด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว
เป็นศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย
เป็นศีลที่ เป็นไทจากตัณหา

วิญญูชนสรรเสริญ ไม่ถูกตัณหา และทิฏฐิลูบคลำ
เป็นศีลที่เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ




กล่าวคือ เป็นการปฏิบัติเพื่ออนุปาทาปรินิพพาน
บุคคลเหล่านี้ ขณะรู้ชัดจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ(รูปฌานและอรูปฌาน) ที่มีเกิดขึ้นขณะดำเนินชีวิต
จะสักแต่ว่าสมาธิที่เป็นสมาธิ และไม่มีความยึดมั่นถือมั่นสภาวะที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิ ขณะนั้นๆ
ไม่ว่าจะเป็นรูปฌานหรืออรูปฌาน ก็สักแต่ว่ามีเกิดขึ้นเท่านั้น
ไม่มีความติดใจ จนถึงนำมาพูดถึงบ่อยๆ เช่น ปีติ สุข กายหาย ฯลฯ

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2019, 13:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


"ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่น่าชื่นชม
นี้เป็นกำหนด ควรเบื่อหน่าย ควรคลายกำหนัด ควรหลุดพ้น ในสังขารทั้งปวง"




อุปกิเลส เกิดจาก ตัณหา ความอยาก
ความอยากเป็นโสดา สกิทาคา อนาคามี อรหันต์

ต้องรู้ ต้องเห็นตามความเป็นจริง แจ้งออกมาจากจิตว่า
"สังขารก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่น่าชื่นชม
นี้เป็นกำหนด ควรเบื่อหน่าย ควรคลายกำหนัด ควรหลุดพ้น ในสังขารทั้งปวง ฯ"

จึงจะหลุดจากอุปกิเลสได้

หากยังไม่รู้ไม่เห็น เนิ่นนานต่อไป

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ก.ค. 2019, 20:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


วิปัลลาสสูตร

[๔๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ
สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส
ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง ๑
ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข ๑
ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน ๑
ในสิ่งที่ไม่งามว่างาม ๑
สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส ๔ ประการนี้แล

ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ
สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส
ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าไม่เที่ยง ๑
ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นทุกข์ ๑
ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าไม่ใช่ตน ๑
ในสิ่งที่ไม่งามว่าไม่งาม ๑
สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ๔ ประการนี้แล ฯ



เหล่าสัตว์ผู้ถูกมิจฉาทิฐิกำจัด มีจิตฟุ้งซ่าน มีความสำคัญผิด
มีความสำคัญในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง
สำคัญในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข
สำคัญในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน
และสำคัญในสิ่งที่ไม่งามว่างาม

สัตว์คือชนเหล่านั้น ชื่อว่าประกอบแล้วในเครื่องประกอบของมาร
ไม่เป็นผู้เกษมจากโยคะ มีปรกติไปสู่ชาติและมรณะ ย่อมไปสู่สงสาร

ก็ในกาลใด พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้กระทำแสงสว่าง บังเกิดขึ้นในโลก
พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ย่อมประกาศธรรมนี้เป็นเครื่องให้สัตว์ถึงความสงบทุกข์
ชนเหล่านั้น ผู้มีปัญญา ฟังธรรมของพระพุทธเจ้าเหล่านั้นแล้ว ได้จิตของตน
ได้เห็นสิ่งไม่เที่ยงโดยความเป็นของไม่เที่ยง
ได้เห็นทุกข์โดยความเป็นทุกข์
ได้เห็นสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าไม่ใช่ตน
ได้เห็นสิ่งที่ไม่งามโดยความเป็นของไม่งาม
สมาทานสัมมาทิฐิ จึงล่วงทุกข์ทั้งปวงได้
จบสูตรที่ ๙

http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.p ... 410&Z=1433





หมายเหตุ;

“ชนเหล่านั้น ผู้มีปัญญา ได้ฟังธรรมของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น ได้จิตของตน”

มนสิการโดยแยบคาย

พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง ฯ
ภิกษุเหล่านั้นทูลว่า ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือสุขเล่า ฯ
ภิ. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
ควรหรือหนอที่จะเล็งเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา ฯ
ภิ. ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง ฯ
ภิ. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ หรือเป็นสุขเล่า ฯ
ภิ. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
ควรหรือหนอที่จะเล็งเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา ฯ
ภิ. ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน สัญญาเที่ยงหรือไม่เที่ยง ฯ
ภิ. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า ฯ
ภิ. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
ควรหรือหนอที่จะเล็งเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา ฯ
ภิ. ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน สังขารเที่ยงหรือไม่เที่ยง ฯ
ภิ. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า ฯ
ภิ. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
ควรหรือหนอที่จะเล็งเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา ฯ
ภิ. ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง ฯ
ภิ. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ หรือเป็นสุขเล่า ฯ
ภิ. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า ฯ

พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
ควรหรือหนอที่จะเล็งเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา ฯ
ภิ. ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า ฯ


พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล
พวกเธอพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงดังนี้ว่า รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง
ทั้งที่เป็นอดีต ทั้งที่เป็นอนาคต ทั้งที่เป็นปัจจุบัน เป็นไปในภายใน หรือมีในภายนอกก็ตาม
หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในที่ไกลหรือในที่ใกล้ก็ตาม
ทั้งหมดนั่น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา

พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงดังนี้ว่า เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง
ทั้งที่เป็นอดีต ทั้งที่เป็นอนาคต ทั้งที่เป็นปัจจุบัน เป็นไปในภายในหรือมีในภายนอกก็ตาม
หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในที่ไกลหรือในที่ใกล้ก็ตาม
ทั้งหมดนั่น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา

พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงดังนี้ว่า สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง
ทั้งที่เป็นอดีต ทั้งที่เป็นอนาคต ทั้งที่เป็นปัจจุบัน เป็นไปในภายในหรือมีในภายนอกก็ตาม
หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในที่ไกลหรือในที่ใกล้ก็ตาม
ทั้งหมดนั่น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา

พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงดังนี้ว่า สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง
ทั้งที่เป็นอดีต ทั้งที่เป็นอนาคต ทั้งที่เป็นปัจจุบัน เป็นไปในภายในหรือมีในภายนอกก็ตาม
หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในที่ไกลหรือในที่ใกล้ก็ตาม
ทั้งหมดนั่น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา

พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงดังนี้ว่า วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง
ทั้งที่เป็นอดีต ทั้งที่เป็นอนาคต ทั้งที่เป็นปัจจุบัน เป็นไปในภายในหรือมีในภายนอกก็ตาม
หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในที่ไกลหรือในที่ใกล้ก็ตาม
ทั้งหมดนั่น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา

ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับแล้วเห็นอยู่อย่างนี้
ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขาร แม้ในวิญญาณ
เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น
เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณรู้ว่า หลุดพ้นแล้วรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
กิจที่ควรทำ ได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ค. 2019, 01:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
พระอัสสชิเถระแสดงธรรม
[๖๕] ลำดับนั้น ท่านพระอัสสชิ ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แก่สารีบุตรปริพาชก ว่าดังนี้:-

ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอย่างนี้.


ผมเคยสงสัยมาตลอดว่า ข้อความนี้หมายถึงอะไร
แม้ว่าจะมีการแปลออกมาตลอด ก็ยังเก็บความสงสัยนั้นอยู่

ผมจึงมาพิจารณาว่า
เป็นคำพูดที่สื่อสารระหว่างคนไม่รู้จักกัน2คน
ความหมายที่ท่านแสดงจึงเป็นความหมายที่ แสดงความหมายของพุทธศาสนา
แสดงลักษณะการสอนของพระพุทธเจ้า ว่าพระพุทธเจ้า ท่านจะสอนให้เห็นทั้งเหตุเกิด และการที่จะดับเหตุของธรรมนั้น

เช่น การลักขโมย
พระพุทธเจ้าจะชี้ให้เห็นเหตุคือ อยากได้ของคนอื่น
และพระพุทธเจ้าจะแสดงการดับลงความอยากได้ของคนอื่น ด้วยธรรมะ เช่น การรักษาศีล5
นั่นคือ ไม่ว่าในโลกใบนี้จะมีธรรมในรูปแบบไหน พระพุทธเจ้าก็จะสามารถแสดงเหตุของธรรมนั้นๆได้
และจะแสดงความดับลงของเหตุนั้น

นี่คือความหมายที่ผมเข้าใจ หลังจากสงสัยมานานหลายปี ว่าคำพูดของอัสสชิเถระ หมายถึงอะไร

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 35 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 27 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร