วันเวลาปัจจุบัน 24 เม.ย. 2024, 06:51  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 26 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 15:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



ท่านเจพูดมาก็เป็นส่วนถูกนะ

ข้อนี้สำคัญ ไตรลักษณ์ต้องแยกระหว่าง คนรู้ กับ คนถึง

คนรู้เป็นอย่างไร ก็ปุถุชนโดยปรกติทั่วไป เรียนรู้ท่องจำ แล้วเชื่อตามตำรา เชื่อตามคำสอนตามๆกันมา ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บอกว่านี้คือวิปัสสนา คนที่ได้ทำได้แค่รู้ ก็เอาใจเข้ายึดครอง คำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การเอาใจเข้ายึดครองนี้เป็นโมหะ ทุ่สุดก็กายเป็นยึดอัตตาไตรลักษณ์ คือ ยึดหลงว่าไม่เที่ยง ยึดหลงว่าไม่มีตัวตน ยึดหลงว่าทุกข์ ก็เมื่อหลงตัวตนยึดถือคำเหล่านี้ โดยอาศัยอนุมานเอาบ้าง คิดตามเอาบ้าง จดจำสำคัญมั่นหมายไว้ในใจบ้าง จึงเกิดตัวตนของความไม่เที่ยง ตัวตนของความไม่ใช่ตัวตน ตัวตนของทุกข์ แทนที่จะเพียงแค่รู้ ผู้นับเนื่องเอาจากการท่องจำเอาไม่ใช่องค์มรรคสัมมาทิฏฐิ เป็นความเห็นที่สะสมเหตุอันเป็นบุญแก่ขันธ์เท่านั้น ไม่ใช่องค์มรรค
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่รู้ไตรลักษณ์จึงยังยึดมั่นถือมั่นหลงอยู่กับความคิด คำสอนบอกกล่าวตามๆกันมาจากคนที่เคารพบ้าง คนที่น่าเชื่อถือบ้าง จากตำราบ้าง จากการคิดนึกตามบ้าง โดยที่ไม่เคยเห็นของจริงเลย
- ผลลัพธ์ คือ กิเลสครบพร้อมยังหมกมุ่นไตรลักษณ์ ไม่รู้เห็นธรรม ไม่ถึงธรรมแท้

คนถึงเป็นอย่างไร ก็ปุถุชนผู้มีสันดานพระอริยะขึ้นไป จนถึงพระอริยะสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ถึงความไม่ยึด ไม่เอาใจเข้ายึดครอง ไม่หลง ไม่นับตัวตนแม้แต่คำว่าไตรลักษณ์ แต่ท่านพูดถึงไตรลักษณ์เพราะนับเนื่องเอาด้วยจิตที่เข้าถึงของจริง ไปรู้เห็นตามจริง เข้าไปเห็นความเป็นไปของสังขารตามจริง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้เห็นตามจริง การละ การตัด การสละคืนของท่าน เช่นกายไม่มีสิ่งใดเกินกว่ากองธาตุที่รอันจะเสื่อมสูญ ไม่มีตัวตนบุคคลใด ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ขงใคร ด้วยเห็นจากการนับเนื่องเอาจาก ไม่มีใคร ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกองธาตุเหล่านั้น ไม่อาจจะนับเอาได้ว่าเป็นใครในหมู่ธาตุ ในธาตุเป็นของใคร มันเกิดขั้น ตั้งอยู่ ดับไปตามเหตุปัจจัยของมัน ไม่ได้อยู่ได้บังคับบัญชาของผู้ใด มันแค่กอปรขึ้นตามเหตุปัจจัยอันอาศัยให้นามรูปมีจึงมีวิญญาณ และ วิญญาณมีจึงมีนามรูป กายก็สมมติ ความรู้สึกก็สมมติ ธัมารมณ์ก็สมมติ นับเนื่องโดยรอบ ๓ อาการ ๑๒ โดยจะได้มากน้อยตามแต่จิตที่น้อมลงองค์มรรคมากน้อยแค่ไหน ตัด ละ สละคืน อบ่างไร ละสังโยชน์ได้แค่ไหน ดังนั้น..สัมมาทิฏฐิอันเป็นองค์มรรคแท้ๆ..มีแค่ในพระอริยะสาวกเท่านั้น
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จึงไม่ยึด ถึงความว่าง ความไม่มี ความสละคืน ไม่นับเนื่องเอาด้วยสังขารโลก
- ผลลัพธ์ คือ พระอริยะสาวกของพระพุทธเจ้า อันเป็นคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุถรุษได้ ๘ บุรุษดังนี้


----------------------------------------------------

ดังนั้นไตรลักษณ์ที่เรารู้เห็นนั้นมีมากปานได้..

- อัตตาไตรลักษณ์ หรือไม่อัตตาไตรลักษณ์
- ฟุ้งไตรลักษณ์ หรือเห็นไตรลักษณ์
- รู้ธรรม หรือถึงธรรม


----------------------------------------------------


Re: ถวายอะไรได้บุญมาก

s006 เอ่?



ถวายไตรลักษณ์ หรอค๊ะ ได้บุญมาก ?

ไปไหนมา สามวาสองศอก เละเทะอีกแล้ว

tongue



น่าจะเป็นเมนะเละเทะสุด ตีรวนเรื่องนั้นเรื่องนี้รวมกันได้ :b32: :b32: :b32: พูดถึงน้ำเปล่า ไปมั่วใส่น้ำอัดลม แม้จะบอกว่าน้ำเหมือนกัน แต่สภาพความเป็นสิ่งนั้นมันต่างกัน :b32: :b32: :b32: แต่ก็ยังยกรวบยอดได้แบบมั่วๆ

คิดถึงมากล่ะสิ อยากคุยกับเค้าใช่มั้ย จีบพี่ได้นะ แต่จะเอามั้ยอีกเรื่อง :b32: :b32: :b32:


ถ่างพระเนตรดู กะทู้มั่งน๊าค๊ะ
จะได้ไม่มั่ว

tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 16:09 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:

ถ่างพระเนตรดู กะทู้มั่งน๊าค๊ะ
จะได้ไม่มั่ว


tongue



อ้าวโทษทีป้าเม มันผิดกระทู้นี่

งงเลยอะ

คลิกข้อมูลจาก อนิจจัง อนัตตาท่านเจ ดันมากระทู้นี้ โทษทีๆๆๆ เลยทำคนแก่อย่างป้าเมงง

งงอะคลิกกระทู้นั้นทำไมมาโผล่กระทู้นี้ ดูข้อมูลอ้างอิงสิ :b10: :b10: :b10:

tongue tongue

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แก้ไขล่าสุดโดย แค่อากาศ เมื่อ 17 มี.ค. 2019, 16:24, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 16:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


งั้นพี่ขอแก้ตัวนะเมที่รักของพี่ ไหนๆก็ลงผิดกระทู้แระ :b32: :b32: :b32:

รสมน เขียน:
ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด?

โยม : หลวงปู่ครับ ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด
ผมอยากได้บุญมากๆ เวลาทำบุญ

หลวงปู่ : ถวายความอยากได้ของคุณน่ะ ได้บุญมากที่สุด

หลวงปู่หา สุภโร



ที่หลวงปู่หาบอกถวายความอยากน่ะ ท่านหมายถึง จาคะ อาศัยการให้ด้วยใจสละ จนถึงการสละคืนโลภะ ฉันทะราคะ หากเราสละคืนความโลภถวายเป็น พุทธบูชา ธรรมะบูชา สังฆะบูชา นี้อะบุญมากโข

- ดังนั้นเวลาไปวัดเมื่อเราถวายภัตราหาร หรือสังฆทานเสร็จ พระท่านมักจะให้กรวดน้ำอุทิศบุญกุศลให้ บิดา มารดา บุพการี ญาติ มิตร เทพ เทวดา เจ้ากรรมนายเวร ทั้งหลาย คือ..สละความโลภในบุญของเราเพื่อการให้ เพื่อการสละ สุขในการสละให้ เป็นการละโลภในบุญกุศล ละความยึดหลงในบุญกุศล สละคืนโลภะ ความโลภก็ไม่มี มีแต่จิตที่ผ่องใส มีใจเอื้อเฟื้อ อิ่มใจ เว้นจากความเบียดเบียน นี่แหละบุญ มหาบุญ
- ซึ่งจุดนี้คนส่วนมากจะคิดแค่ว่าเราทำบุญให้ได้บุญ ได้แล้วจึงแผ่ไปต่อ แต่โดยนัยยะการอบรมจิต ข้อวัตรปฏิบัตินี้ พระพุทธเจ้า พระอนหันตสาวกผู้ปฏิบัติตรงตามพระศาสดาได้แสดงถึงพุทธวิธีไว้อย่างแยบคายมาก
..ซึ่งผมจะคอยอบรมจิตปฏิบัติให้ได้ประจำๆทุกครั้งที่ถวายสิ่งของให้พระ คือ ปารถนาเพียงสิ่งนี้ให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พระภิกษุในการดำรงชีพ ดำรงขันธ์เพื่อเจริญในพระพุทธศาสนาสืบไป ไม่เอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่ตนถวายหมายเอาบุญบารมี แต่ทำด้วยในสละ พอถึงความสละแล้วมันอิ่มใจ สงบเป็นสุข ตอนนี้แหละมีกำลังใจดีมาก มีกำลังแผ่ไป จะแผ่ต่อที่ไหนตลอดทาง ก็ถึงหมดเะพราะบุญสละมันเยอะ

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 18:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
งั้นพี่ขอแก้ตัวนะเมที่รักของพี่ ไหนๆก็ลงผิดกระทู้แระ :b32: :b32: :b32:

รสมน เขียน:
ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด?

โยม : หลวงปู่ครับ ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด
ผมอยากได้บุญมากๆ เวลาทำบุญ

หลวงปู่ : ถวายความอยากได้ของคุณน่ะ ได้บุญมากที่สุด

หลวงปู่หา สุภโร



ที่หลวงปู่หาบอกถวายความอยากน่ะ ท่านหมายถึง จาคะ อาศัยการให้ด้วยใจสละ จนถึงการสละคืนโลภะ ฉันทะราคะ หากเราสละคืนความโลภถวายเป็น พุทธบูชา ธรรมะบูชา สังฆะบูชา นี้อะบุญมากโข

- ดังนั้นเวลาไปวัดเมื่อเราถวายภัตราหาร หรือสังฆทานเสร็จ พระท่านมักจะให้กรวดน้ำอุทิศบุญกุศลให้ บิดา มารดา บุพการี ญาติ มิตร เทพ เทวดา เจ้ากรรมนายเวร ทั้งหลาย คือ..สละความโลภในบุญของเราเพื่อการให้ เพื่อการสละ สุขในการสละให้ เป็นการละโลภในบุญกุศล ละความยึดหลงในบุญกุศล สละคืนโลภะ ความโลภก็ไม่มี มีแต่จิตที่ผ่องใส มีใจเอื้อเฟื้อ อิ่มใจ เว้นจากความเบียดเบียน นี่แหละบุญ มหาบุญ
- ซึ่งจุดนี้คนส่วนมากจะคิดแค่ว่าเราทำบุญให้ได้บุญ ได้แล้วจึงแผ่ไปต่อ แต่โดยนัยยะการอบรมจิต ข้อวัตรปฏิบัตินี้ พระพุทธเจ้า พระอนหันตสาวกผู้ปฏิบัติตรงตามพระศาสดาได้แสดงถึงพุทธวิธีไว้อย่างแยบคายมาก
..ซึ่งผมจะคอยอบรมจิตปฏิบัติให้ได้ประจำๆทุกครั้งที่ถวายสิ่งของให้พระ คือ ปารถนาเพียงสิ่งนี้ให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พระภิกษุในการดำรงชีพ ดำรงขันธ์เพื่อเจริญในพระพุทธศาสนาสืบไป ไม่เอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่ตนถวายหมายเอาบุญบารมี แต่ทำด้วยในสละ พอถึงความสละแล้วมันอิ่มใจ สงบเป็นสุข ตอนนี้แหละมีกำลังใจดีมาก มีกำลังแผ่ไป จะแผ่ต่อที่ไหนตลอดทาง ก็ถึงหมดเะพราะบุญสละมันเยอะ




ผลที่ได้จากการทำบุญ เค้าเรียกว่า อานิสงค์

ไม่ใช่ทำบุญมากแล้ว เป็นพ่อบุญมาก พ่อบุญสละเยอะ
เละเทะอีกแร๊ว
tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 18:10 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
งั้นพี่ขอแก้ตัวนะเมที่รักของพี่ ไหนๆก็ลงผิดกระทู้แระ :b32: :b32: :b32:

รสมน เขียน:
ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด?

โยม : หลวงปู่ครับ ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด
ผมอยากได้บุญมากๆ เวลาทำบุญ

หลวงปู่ : ถวายความอยากได้ของคุณน่ะ ได้บุญมากที่สุด

หลวงปู่หา สุภโร



ที่หลวงปู่หาบอกถวายความอยากน่ะ ท่านหมายถึง จาคะ อาศัยการให้ด้วยใจสละ จนถึงการสละคืนโลภะ ฉันทะราคะ หากเราสละคืนความโลภถวายเป็น พุทธบูชา ธรรมะบูชา สังฆะบูชา นี้อะบุญมากโข

- ดังนั้นเวลาไปวัดเมื่อเราถวายภัตราหาร หรือสังฆทานเสร็จ พระท่านมักจะให้กรวดน้ำอุทิศบุญกุศลให้ บิดา มารดา บุพการี ญาติ มิตร เทพ เทวดา เจ้ากรรมนายเวร ทั้งหลาย คือ..สละความโลภในบุญของเราเพื่อการให้ เพื่อการสละ สุขในการสละให้ เป็นการละโลภในบุญกุศล ละความยึดหลงในบุญกุศล สละคืนโลภะ ความโลภก็ไม่มี มีแต่จิตที่ผ่องใส มีใจเอื้อเฟื้อ อิ่มใจ เว้นจากความเบียดเบียน นี่แหละบุญ มหาบุญ
- ซึ่งจุดนี้คนส่วนมากจะคิดแค่ว่าเราทำบุญให้ได้บุญ ได้แล้วจึงแผ่ไปต่อ แต่โดยนัยยะการอบรมจิต ข้อวัตรปฏิบัตินี้ พระพุทธเจ้า พระอนหันตสาวกผู้ปฏิบัติตรงตามพระศาสดาได้แสดงถึงพุทธวิธีไว้อย่างแยบคายมาก
..ซึ่งผมจะคอยอบรมจิตปฏิบัติให้ได้ประจำๆทุกครั้งที่ถวายสิ่งของให้พระ คือ ปารถนาเพียงสิ่งนี้ให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พระภิกษุในการดำรงชีพ ดำรงขันธ์เพื่อเจริญในพระพุทธศาสนาสืบไป ไม่เอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่ตนถวายหมายเอาบุญบารมี แต่ทำด้วยในสละ พอถึงความสละแล้วมันอิ่มใจ สงบเป็นสุข ตอนนี้แหละมีกำลังใจดีมาก มีกำลังแผ่ไป จะแผ่ต่อที่ไหนตลอดทาง ก็ถึงหมดเะพราะบุญสละมันเยอะ




ผลที่ได้จากการทำบุญ เค้าเรียกว่า อานิสงค์

ไม่ใช่ทำบุญมากแล้ว เป็นพ่อบุญมาก พ่อบุญสละเยอะ
เละเทะอีกแร๊ว
tongue



เขาพูดถึงบุญก็ต้องใช้ คำว่าบุญสิเม เพราะคำนั้นเขาเข้าใจกันแล้วว่าคืออะไร การให้ทาน ถวายทาน อานิสงส์คือ บุญบารมีแห่งกุศลในการสละนะจ๊ะ บุญกับ บาป คือ ผลเป็นอานาิสงส์จากการกระทำดีหรือชั่วนั่นเอง แต่คนไทยเรียกทับศัพท์กันว่าทำบุญ เมน่าจะเข้าใจอะไรผิดมั้งคะที่รัก :b32: :b32: :b32:

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 18:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
งั้นพี่ขอแก้ตัวนะเมที่รักของพี่ ไหนๆก็ลงผิดกระทู้แระ :b32: :b32: :b32:

รสมน เขียน:
ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด?

โยม : หลวงปู่ครับ ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด
ผมอยากได้บุญมากๆ เวลาทำบุญ

หลวงปู่ : ถวายความอยากได้ของคุณน่ะ ได้บุญมากที่สุด

หลวงปู่หา สุภโร



ที่หลวงปู่หาบอกถวายความอยากน่ะ ท่านหมายถึง จาคะ อาศัยการให้ด้วยใจสละ จนถึงการสละคืนโลภะ ฉันทะราคะ หากเราสละคืนความโลภถวายเป็น พุทธบูชา ธรรมะบูชา สังฆะบูชา นี้อะบุญมากโข

- ดังนั้นเวลาไปวัดเมื่อเราถวายภัตราหาร หรือสังฆทานเสร็จ พระท่านมักจะให้กรวดน้ำอุทิศบุญกุศลให้ บิดา มารดา บุพการี ญาติ มิตร เทพ เทวดา เจ้ากรรมนายเวร ทั้งหลาย คือ..สละความโลภในบุญของเราเพื่อการให้ เพื่อการสละ สุขในการสละให้ เป็นการละโลภในบุญกุศล ละความยึดหลงในบุญกุศล สละคืนโลภะ ความโลภก็ไม่มี มีแต่จิตที่ผ่องใส มีใจเอื้อเฟื้อ อิ่มใจ เว้นจากความเบียดเบียน นี่แหละบุญ มหาบุญ
- ซึ่งจุดนี้คนส่วนมากจะคิดแค่ว่าเราทำบุญให้ได้บุญ ได้แล้วจึงแผ่ไปต่อ แต่โดยนัยยะการอบรมจิต ข้อวัตรปฏิบัตินี้ พระพุทธเจ้า พระอนหันตสาวกผู้ปฏิบัติตรงตามพระศาสดาได้แสดงถึงพุทธวิธีไว้อย่างแยบคายมาก
..ซึ่งผมจะคอยอบรมจิตปฏิบัติให้ได้ประจำๆทุกครั้งที่ถวายสิ่งของให้พระ คือ ปารถนาเพียงสิ่งนี้ให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พระภิกษุในการดำรงชีพ ดำรงขันธ์เพื่อเจริญในพระพุทธศาสนาสืบไป ไม่เอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่ตนถวายหมายเอาบุญบารมี แต่ทำด้วยในสละ พอถึงความสละแล้วมันอิ่มใจ สงบเป็นสุข ตอนนี้แหละมีกำลังใจดีมาก มีกำลังแผ่ไป จะแผ่ต่อที่ไหนตลอดทาง ก็ถึงหมดเะพราะบุญสละมันเยอะ




ผลที่ได้จากการทำบุญ เค้าเรียกว่า อานิสงค์

ไม่ใช่ทำบุญมากแล้ว เป็นพ่อบุญมาก พ่อบุญสละเยอะ
เละเทะอีกแร๊ว
tongue



เขาพูดถึงบุญก็ต้องใช้ คำว่าบุญสิเม เพราะคำนั้นเขาเข้าใจกันแล้วว่าคืออะไร การให้ทาน ถวายทาน อานิสงส์คือ บุญบารมีแห่งกุศลในการสละนะจ๊ะ บุญกับ บาป คือ ผลเป็นอานาิสงส์จากการกระทำดีหรือชั่วนั่นเอง แต่คนไทยเรียกทับศัพท์กันว่าทำบุญ เมน่าจะเข้าใจอะไรผิดมั้งคะที่รัก :b32: :b32: :b32:


ไปสละบุญ เรยเหลือแต่บาป

เค้าเรียกว่าอานิสงค์ ของการทำบุญคร้า

เข้าใจผิด แล้วหละคุณพี่ ไปเริ่มเรียนพระธรรมซะน๊ะค๊ะ
จาได้ไม่เละเทะ

tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 18:32 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
งั้นพี่ขอแก้ตัวนะเมที่รักของพี่ ไหนๆก็ลงผิดกระทู้แระ :b32: :b32: :b32:

รสมน เขียน:
ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด?

โยม : หลวงปู่ครับ ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด
ผมอยากได้บุญมากๆ เวลาทำบุญ

หลวงปู่ : ถวายความอยากได้ของคุณน่ะ ได้บุญมากที่สุด

หลวงปู่หา สุภโร



ที่หลวงปู่หาบอกถวายความอยากน่ะ ท่านหมายถึง จาคะ อาศัยการให้ด้วยใจสละ จนถึงการสละคืนโลภะ ฉันทะราคะ หากเราสละคืนความโลภถวายเป็น พุทธบูชา ธรรมะบูชา สังฆะบูชา นี้อะบุญมากโข

- ดังนั้นเวลาไปวัดเมื่อเราถวายภัตราหาร หรือสังฆทานเสร็จ พระท่านมักจะให้กรวดน้ำอุทิศบุญกุศลให้ บิดา มารดา บุพการี ญาติ มิตร เทพ เทวดา เจ้ากรรมนายเวร ทั้งหลาย คือ..สละความโลภในบุญของเราเพื่อการให้ เพื่อการสละ สุขในการสละให้ เป็นการละโลภในบุญกุศล ละความยึดหลงในบุญกุศล สละคืนโลภะ ความโลภก็ไม่มี มีแต่จิตที่ผ่องใส มีใจเอื้อเฟื้อ อิ่มใจ เว้นจากความเบียดเบียน นี่แหละบุญ มหาบุญ
- ซึ่งจุดนี้คนส่วนมากจะคิดแค่ว่าเราทำบุญให้ได้บุญ ได้แล้วจึงแผ่ไปต่อ แต่โดยนัยยะการอบรมจิต ข้อวัตรปฏิบัตินี้ พระพุทธเจ้า พระอนหันตสาวกผู้ปฏิบัติตรงตามพระศาสดาได้แสดงถึงพุทธวิธีไว้อย่างแยบคายมาก
..ซึ่งผมจะคอยอบรมจิตปฏิบัติให้ได้ประจำๆทุกครั้งที่ถวายสิ่งของให้พระ คือ ปารถนาเพียงสิ่งนี้ให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พระภิกษุในการดำรงชีพ ดำรงขันธ์เพื่อเจริญในพระพุทธศาสนาสืบไป ไม่เอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่ตนถวายหมายเอาบุญบารมี แต่ทำด้วยในสละ พอถึงความสละแล้วมันอิ่มใจ สงบเป็นสุข ตอนนี้แหละมีกำลังใจดีมาก มีกำลังแผ่ไป จะแผ่ต่อที่ไหนตลอดทาง ก็ถึงหมดเะพราะบุญสละมันเยอะ




ผลที่ได้จากการทำบุญ เค้าเรียกว่า อานิสงค์

ไม่ใช่ทำบุญมากแล้ว เป็นพ่อบุญมาก พ่อบุญสละเยอะ
เละเทะอีกแร๊ว
tongue



เขาพูดถึงบุญก็ต้องใช้ คำว่าบุญสิเม เพราะคำนั้นเขาเข้าใจกันแล้วว่าคืออะไร การให้ทาน ถวายทาน อานิสงส์คือ บุญบารมีแห่งกุศลในการสละนะจ๊ะ บุญกับ บาป คือ ผลเป็นอานาิสงส์จากการกระทำดีหรือชั่วนั่นเอง แต่คนไทยเรียกทับศัพท์กันว่าทำบุญ เมน่าจะเข้าใจอะไรผิดมั้งคะที่รัก :b32: :b32: :b32:


ไปสละบุญ เรยเหลือแต่บาป

เค้าเรียกว่าอานิสงค์ ของการทำบุญคร้า

เข้าใจผิด แล้วหละคุณพี่ ไปเริ่มเรียนพระธรรมซะน๊ะค๊ะ
จาได้ไม่เละเทะ

tongue



สงสัยเมจะอ่านอะไรแล้วเข้าใจยากนะคะ อบรมจิต อบรมปัญญาให้มากนะจ๊ะ เพราะเมไม่เคยให้ไงจ๊ะ ตระหนี่อยู่เลยไม่เข้าใจ ว่าแผ่บุญสละบุญอุทิศให้้เป็นอย่างไร เพราะคนคิดแบบนี้นี่แหละจ๊ะ เลยหวงบุญอยากได้บุญบารมีกันจนอุปาทานบุญ

แผ่สละเอาบุญบารมีให้ไม่เป็น(นี่พื้นๆเลยนะ) ก็คงยากที่จะรู้จักการเอาความสุขสำเร็จ กุศลจิตกุศลกรรมที่เกิดมีแก่กายใจตนอย่างไรไปให้เขาได้รับรู้ความรู้สึกและความสำเร็จประโยชน์สุขแบบนั้นได้ :b16: :b16: :b16:

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 18:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
งั้นพี่ขอแก้ตัวนะเมที่รักของพี่ ไหนๆก็ลงผิดกระทู้แระ :b32: :b32: :b32:

รสมน เขียน:
ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด?

โยม : หลวงปู่ครับ ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด
ผมอยากได้บุญมากๆ เวลาทำบุญ

หลวงปู่ : ถวายความอยากได้ของคุณน่ะ ได้บุญมากที่สุด

หลวงปู่หา สุภโร



ที่หลวงปู่หาบอกถวายความอยากน่ะ ท่านหมายถึง จาคะ อาศัยการให้ด้วยใจสละ จนถึงการสละคืนโลภะ ฉันทะราคะ หากเราสละคืนความโลภถวายเป็น พุทธบูชา ธรรมะบูชา สังฆะบูชา นี้อะบุญมากโข

- ดังนั้นเวลาไปวัดเมื่อเราถวายภัตราหาร หรือสังฆทานเสร็จ พระท่านมักจะให้กรวดน้ำอุทิศบุญกุศลให้ บิดา มารดา บุพการี ญาติ มิตร เทพ เทวดา เจ้ากรรมนายเวร ทั้งหลาย คือ..สละความโลภในบุญของเราเพื่อการให้ เพื่อการสละ สุขในการสละให้ เป็นการละโลภในบุญกุศล ละความยึดหลงในบุญกุศล สละคืนโลภะ ความโลภก็ไม่มี มีแต่จิตที่ผ่องใส มีใจเอื้อเฟื้อ อิ่มใจ เว้นจากความเบียดเบียน นี่แหละบุญ มหาบุญ
- ซึ่งจุดนี้คนส่วนมากจะคิดแค่ว่าเราทำบุญให้ได้บุญ ได้แล้วจึงแผ่ไปต่อ แต่โดยนัยยะการอบรมจิต ข้อวัตรปฏิบัตินี้ พระพุทธเจ้า พระอนหันตสาวกผู้ปฏิบัติตรงตามพระศาสดาได้แสดงถึงพุทธวิธีไว้อย่างแยบคายมาก
..ซึ่งผมจะคอยอบรมจิตปฏิบัติให้ได้ประจำๆทุกครั้งที่ถวายสิ่งของให้พระ คือ ปารถนาเพียงสิ่งนี้ให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พระภิกษุในการดำรงชีพ ดำรงขันธ์เพื่อเจริญในพระพุทธศาสนาสืบไป ไม่เอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่ตนถวายหมายเอาบุญบารมี แต่ทำด้วยในสละ พอถึงความสละแล้วมันอิ่มใจ สงบเป็นสุข ตอนนี้แหละมีกำลังใจดีมาก มีกำลังแผ่ไป จะแผ่ต่อที่ไหนตลอดทาง ก็ถึงหมดเะพราะบุญสละมันเยอะ




ผลที่ได้จากการทำบุญ เค้าเรียกว่า อานิสงค์

ไม่ใช่ทำบุญมากแล้ว เป็นพ่อบุญมาก พ่อบุญสละเยอะ
เละเทะอีกแร๊ว
tongue



เขาพูดถึงบุญก็ต้องใช้ คำว่าบุญสิเม เพราะคำนั้นเขาเข้าใจกันแล้วว่าคืออะไร การให้ทาน ถวายทาน อานิสงส์คือ บุญบารมีแห่งกุศลในการสละนะจ๊ะ บุญกับ บาป คือ ผลเป็นอานาิสงส์จากการกระทำดีหรือชั่วนั่นเอง แต่คนไทยเรียกทับศัพท์กันว่าทำบุญ เมน่าจะเข้าใจอะไรผิดมั้งคะที่รัก :b32: :b32: :b32:


ไปสละบุญ เรยเหลือแต่บาป

เค้าเรียกว่าอานิสงค์ ของการทำบุญคร้า

เข้าใจผิด แล้วหละคุณพี่ ไปเริ่มเรียนพระธรรมซะน๊ะค๊ะ
จาได้ไม่เละเทะ

tongue



สงสัยเมจะอ่านอะไรแล้วเข้าใจยากนะคะ อบรมจิต อบรมปัญญาให้มากนะจ๊ะ เพราะเมไม่เคยให้ไงจ๊ะ ตระหนี่อยู่เลยไม่เข้าใจ ว่าแผ่บุญสละบุญอุทิศให้้เป็นอย่างไร เพราะคนคิดแบบนี้นี่แหละจ๊ะ เลยหวงบุญอยากได้บุญบารมีกันจนอุปาทานบุญ

แผ่สละเอาบุญบารมีให้ไม่เป็น(นี่พื้นๆเลยนะ) ก็คงยากที่จะรู้จักการเอาความสุขสำเร็จ กุศลจิตกุศลกรรมที่เกิดมีแก่กายใจตนอย่างไรไปให้เขาได้รับรู้ความรู้สึกและความสำเร็จประโยชน์สุขแบบนั้นได้ :b16: :b16: :b16:



ก็นี่ให้ธรรมทานพี่อากาศอยู่ไงค๊ะ
อ่านไม่อะไร เข้าใจยากเนอะ
อบรมจิต อบรมปัญญาให้มากๆเนอะค๊ะ

จะได้รู้ว่า ธรรมทาน คืออะไร

tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 20:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มีผู้กล่าวถึง "อานิสงส์" ดูความหมาย

อานิสงส์ ผลดี หรือ ผลที่น่าปรารถนา น่าพอใจ อันสืบเนื่อง หรือ พลอยได้ จากกรรมดี, ผลงอกเงยแห่งบุญกุศล, คุณ, ข้อดี, ผลที่เป็นกำไร, ผลได้พิเศษ

"อานิสงส์" มีความหมายต่างจาก "ผล" ที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยขอบเขตที่กว้าง หรือ แคบกว่ากัน หรือ โดยตรงโดยอ้อม เช่น ทำกรรมดีโดยคิดต่อคนอื่นด้วยเมตตาแล้วเกิดผลดี คือ มีจิตใจแช่มชื่น สบาย ผ่อนคลาย เลือดลมเดินดี มีสุขภาพ ตลอดถึงว่า ถ้าตายด้วยจิตอย่างนั้น ก็ไปเกิดดี นี้เป็นวิบาก
พร้อมกันนั้นก็มีผลพ่วงอื่นๆ เช่น หน้าตาผ่องใส เป็นที่รักใคร่ชอบใจของคนอื่น อย่างนี้ เป็นอานิสงส์

แต่ถ้าทำกรรมไม่ดี โดยคิดต่อคนอื่นด้วยโทสะแล้ว เกิดผลร้ายต่อตนเองที่ตรงข้ามกับข้างต้น จนถึงไปเกิดในทุคติ ก็เป็นวิบาก และในฝ่ายร้ายนี้ไม่มีอานิสงส์ (วิบาก เป็นผลโดยตรง และเป็นได้ทั้งข้างดี และข้างร้าย
ส่วนอานิสงส์ หมายถึง ผลพ่วงพลอย หรือ งอกเงยในด้านดีอย่างเดียว
ถ้าเป็นผลพลอยด้านร้าย ก็อยู่ในคำว่านิสสันท์)


อนึ่ง วิบาก ใช้เฉพาะกับผลของกรรมเท่านั้น

แต่อานิสงส์ หมายถึงคุณ ข้อดี หรือ ผลได้พิเศษในเรื่องราวทั่วไปด้วย เช่น อานิสงส์ของการบริโภคอาหาร
อานิสงส์ของธรรมข้อนั้นๆ จีวรเป็นอานิสงส์ของกฐิน,

โดยทั่วไป อานิสงส์ มีความหมายตรงข้ามกับ อาทีนพ ซึ่งแปลว่า โทษ ข้อเสีย ข้อด้อย จุดอ่อน หรือผลร้าย เช่นในคำว่า กามาทีนพ (โทษของกาม) และเนกขัมมานิสงส์ (คุณ หรือ ผลดีในเนกขัมมะ)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2019, 20:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


วางผลซึ่งพูดถึงกันบ่อยๆไว้ด้วย


ผล สิ่งที่เกิดจากเหตุ, ประโยชน์หรือโทษที่ได้รับสนองหรือตอบแทน,

"ผล" มีชื่อเรียกหลายอย่างตามความหมายที่จำเพาะ หรือที่มีนัยต่างกันออกไป เฉพาะอย่างยิ่งคือ วิบาก (วิบากผล)
นิสสันท์ (นิสสันทผล) อานิสงส์ (อานิสงสผล) คำเหล่านี้ มีความหมายก่ายเกยกันอยู่บ้าง และบางทีก็ใช้อย่างหลวมๆ ทำให้ปะปนสับสนกัน
แต่ว่า ตามความหมายพื้นฐาน วิบาก หมายถึงผลโดยตรงของกรรมต่อชีวิตของผู้กระทำ ไม่ว่าจะเป็นผลดี หรือ ผลร้ายสุดแต่กรรมดี หรือ กรรมชั่วที่เขาได้ทำ,

นิสสันท์ หมาย ถึงผลโดยอ้อมที่สืบเนื่อง หรือ พ่วงพลอยมากับผลแห่งกรรมนั้น ไม่ว่าจะเป็นอิฏฐารมณ์ หรืออนิฏฐารมณ์ อันนำมาซึ่งสุข หรือ โศก ทั้งที่เกิดแก่ตัวเขาเอง และแก่คนอื่นที่เกี่ยวข้อง
(ตัวอย่างดังในหลักปฏิจจสมุปบาท ว่า ภพ เป็นวิบาก ชาติชรามรณะ เป็นนิสสันท์, และ โสกะ ปริเทวะ เป็นต้น เป็นนิสสันท์พ่วงต่อออกไปอีก ซึ่งอาจจะไม่เกิดขึ้นก็ได้)
และ
นิสสันท์ นั้น ใช้ได้กับผลในเรื่องทั่วไป เช่น เอาวัตถุดิบมาเข้าโรงงานอุตสาหกรรม เกิดเป็นนิสสันท์หลั่งไหลออกมา ทั้งที่น่าปรารถนา คือ ผลิตภัณฑ์ และที่ไม่น่าปรารถนา เช่น กากและของเสียต่างๆ

อานิสงส์ หมายถึงผลที่ดีงอกเงย หรือคุณค่าประโยชน์แถมเหมือนเป็นกำไร ซึ่งพลอยได้ หรือ พ่วงเพิ่มสืบเนื่องจากกรรมที่ดี เช่น เอาความรู้ที่เป็นประโยชน์ไปสอนเขา แล้วเกิดมีอานิสงส์ เช่น เขารักใคร่นับถือ ตลอดจนได้ลาภบางอย่าง ดังนี้ ก็ได้

หมายถึงผลดี คุณค่า ประโยชน์ของการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยทั่วไป ก็ได้,

อานิสงส์นี้ ตรงข้ามกับอาทีนพ (หรืออาทีนวะ) ซึ่งหมายถึงโทษ ผลร้าย ส่วนเสีย ข้อบกพร่อง,

พึงเห็นตัวอย่างดังพุทธพจน์ว่า (องฺ.ปญฺจก.22/227/287) "ภิกษุทั้งหลาย อาทีนพ ในเพราะโภคทรัพย์ ๕ ประการ ....คือ โภคทรัพย์เป็นของทั่วไปแก่ไฟ ๑ เป็นของทั่วไปแก่น้ำ ๑ เป็นของทั่วไปแก่ผู้ครองบ้านเรือน ๑ เป็นของทั่วไปแก่โจร ๑ เป็นของทั่วไปแก่ทายาทอัปรีย์ ๑...

ภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในเพราะโภคทรัพย์ ๕ ประการ ....คือ โภคทรัพย์ บุคคลเลี้ยงตนให้เป็นสุข...๑ เลี้ยงให้มารดาบิดาให้เป็นสุข...๑ เลี้ยงบุตรภรรยา คนใช้ กรรมกร และคนงานให้เป็นสุข...๑ เลี้ยงมิตรสหายและคนใกล้ชิดช่วยกิจการ ให้เป็นสุข ให้อิ่มพอบริหารให้เป็นสุขโดยชอบ ๑ บำเพ็ญทักษิณาในสมณพราหมณ์ทั้งหลาย อย่างที่มีผลเลิศ อันให้ประสบสิ่งดีงาม มีผลเป็นสุข เป็นไปเพื่อสวรรค์ ๑

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มี.ค. 2019, 15:08 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
งั้นพี่ขอแก้ตัวนะเมที่รักของพี่ ไหนๆก็ลงผิดกระทู้แระ :b32: :b32: :b32:

รสมน เขียน:
ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด?

โยม : หลวงปู่ครับ ถวายอะไรได้บุญมากที่สุด
ผมอยากได้บุญมากๆ เวลาทำบุญ

หลวงปู่ : ถวายความอยากได้ของคุณน่ะ ได้บุญมากที่สุด

หลวงปู่หา สุภโร



ที่หลวงปู่หาบอกถวายความอยากน่ะ ท่านหมายถึง จาคะ อาศัยการให้ด้วยใจสละ จนถึงการสละคืนโลภะ ฉันทะราคะ หากเราสละคืนความโลภถวายเป็น พุทธบูชา ธรรมะบูชา สังฆะบูชา นี้อะบุญมากโข

- ดังนั้นเวลาไปวัดเมื่อเราถวายภัตราหาร หรือสังฆทานเสร็จ พระท่านมักจะให้กรวดน้ำอุทิศบุญกุศลให้ บิดา มารดา บุพการี ญาติ มิตร เทพ เทวดา เจ้ากรรมนายเวร ทั้งหลาย คือ..สละความโลภในบุญของเราเพื่อการให้ เพื่อการสละ สุขในการสละให้ เป็นการละโลภในบุญกุศล ละความยึดหลงในบุญกุศล สละคืนโลภะ ความโลภก็ไม่มี มีแต่จิตที่ผ่องใส มีใจเอื้อเฟื้อ อิ่มใจ เว้นจากความเบียดเบียน นี่แหละบุญ มหาบุญ
- ซึ่งจุดนี้คนส่วนมากจะคิดแค่ว่าเราทำบุญให้ได้บุญ ได้แล้วจึงแผ่ไปต่อ แต่โดยนัยยะการอบรมจิต ข้อวัตรปฏิบัตินี้ พระพุทธเจ้า พระอนหันตสาวกผู้ปฏิบัติตรงตามพระศาสดาได้แสดงถึงพุทธวิธีไว้อย่างแยบคายมาก
..ซึ่งผมจะคอยอบรมจิตปฏิบัติให้ได้ประจำๆทุกครั้งที่ถวายสิ่งของให้พระ คือ ปารถนาเพียงสิ่งนี้ให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พระภิกษุในการดำรงชีพ ดำรงขันธ์เพื่อเจริญในพระพุทธศาสนาสืบไป ไม่เอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่ตนถวายหมายเอาบุญบารมี แต่ทำด้วยในสละ พอถึงความสละแล้วมันอิ่มใจ สงบเป็นสุข ตอนนี้แหละมีกำลังใจดีมาก มีกำลังแผ่ไป จะแผ่ต่อที่ไหนตลอดทาง ก็ถึงหมดเะพราะบุญสละมันเยอะ




ผลที่ได้จากการทำบุญ เค้าเรียกว่า อานิสงค์

ไม่ใช่ทำบุญมากแล้ว เป็นพ่อบุญมาก พ่อบุญสละเยอะ
เละเทะอีกแร๊ว
tongue



เขาพูดถึงบุญก็ต้องใช้ คำว่าบุญสิเม เพราะคำนั้นเขาเข้าใจกันแล้วว่าคืออะไร การให้ทาน ถวายทาน อานิสงส์คือ บุญบารมีแห่งกุศลในการสละนะจ๊ะ บุญกับ บาป คือ ผลเป็นอานาิสงส์จากการกระทำดีหรือชั่วนั่นเอง แต่คนไทยเรียกทับศัพท์กันว่าทำบุญ เมน่าจะเข้าใจอะไรผิดมั้งคะที่รัก :b32: :b32: :b32:


ไปสละบุญ เรยเหลือแต่บาป

เค้าเรียกว่าอานิสงค์ ของการทำบุญคร้า

เข้าใจผิด แล้วหละคุณพี่ ไปเริ่มเรียนพระธรรมซะน๊ะค๊ะ
จาได้ไม่เละเทะ

tongue



สงสัยเมจะอ่านอะไรแล้วเข้าใจยากนะคะ อบรมจิต อบรมปัญญาให้มากนะจ๊ะ เพราะเมไม่เคยให้ไงจ๊ะ ตระหนี่อยู่เลยไม่เข้าใจ ว่าแผ่บุญสละบุญอุทิศให้้เป็นอย่างไร เพราะคนคิดแบบนี้นี่แหละจ๊ะ เลยหวงบุญอยากได้บุญบารมีกันจนอุปาทานบุญ

แผ่สละเอาบุญบารมีให้ไม่เป็น(นี่พื้นๆเลยนะ) ก็คงยากที่จะรู้จักการเอาความสุขสำเร็จ กุศลจิตกุศลกรรมที่เกิดมีแก่กายใจตนอย่างไรไปให้เขาได้รับรู้ความรู้สึกและความสำเร็จประโยชน์สุขแบบนั้นได้ :b16: :b16: :b16:



ก็นี่ให้ธรรมทานพี่อากาศอยู่ไงค๊ะ
อ่านไม่อะไร เข้าใจยากเนอะ
อบรมจิต อบรมปัญญาให้มากๆเนอะค๊ะ

จะได้รู้ว่า ธรรมทาน คืออะไร

tongue



ดีใจเมเป็นห่วง คิดถึงเค้ามากล่ะสิที่รัก คุยกันเหมือนโลกนี้มีเราแค่ 2 คึนเลยนะที่รักของพี่ :b32: :b32: :b32:

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 26 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 72 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร