ลานธรรมจักร
http://www.dhammajak.net/forums/

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็นอนิจ
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=57303
หน้า 4 จากทั้งหมด 4

เจ้าของ:  eragon_joe [ 18 มี.ค. 2019, 16:45 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

:b32: :b32: :b32:

หาโอกาสเข้ามาแทรกไม่ได้เลย...

:b32: :b32: :b32:


กับเรื่อง มิจฉา หรือ สัมมา เอกอนยังไม่มีความเห็นใด ๆ
เพราะ ความรู้สึกเอกอน ไม่ได้น้อมไปในทั้ง 2 ฝั่งอย่าง เต็มที่

ซึ่งบางครั้ง เอกอนก็บอกไม่ได้ ว่า ผู้ปฏิบัติจะต้องทรงตัวอยู่ในแต่เขตแดนแห่งสัมมาอย่างเดียวหรือไม่
ในวันที่ ความรู้ทางธรรมครุกกรุ่นในใจ วิริยะอาจหาญในธรรมมันอัดแน่น
เขตแดนแห่งสัมมาก็ปรากฏชัดเจนให้เราทรงตัวอยู่ในเขตแดน
อันเป็นหนทางที่เราเข้าใจว่าเป็น สัมมาทิฎฐิ และจิตก็ตั้งมั่น ยึดไว้ ประคองไว้ ทรงไว้

แต่เมื่อบางครั้งที่ภาระงานทางโลกเยอะ
ก็ทำให้เอกอน ห่างเหิน และ ได้คลายการยึดในเขตแดนอันเป็นที่หมายทางธรรมที่เคยเข้าใจว่าเป็นสัมมา
ซึ่งเมื่อเกิดการคลายความยึด บางครั้งเราก็จะเห็นตัวเราในช่วงวันเวลาเหล่านั้น

...ว่าเราหลงในธรรมอันเป็นสัมมา...

:b1:

การย่างก้าวในเขตแดนที่ โลภะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ก็เป็นการย่างก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ

ซึ่งการย่างก้าวในเขตแดนแห่งสัมมา ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นกัน

และการย่างก้าวที่คลายออกจาก ทั้ง 2 ด้าน ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นเดียวกันอีกนั่นล่ะ


:b1:

ซึ่งบางครั้งเราก็ยังตัดสินใจอะไรกับมันไม่ออกหรอก

มันเหมือนราวกับว่า "มันไม่ได้มีอะไร.........สักอย่าง"

บางครั้งเราอาจจะต้องยึดสัมมาในบางช่วง เพื่อก้าวพ้นจากมิจฉาที่รุมร้าว
แต่กระนั้น ก็คงไม่ใช่เรื่องที่ เราจะขังจิตเอาไว้แต่ในแดนสัมมา

สัมมา-มิจฉา ... บางทีมันอาจจะไม่ใช่ทั้งสองที่จะเป็นที่อันเป็นไปของจิตจริง ๆ

บางครั้งก็เลยก็ได้แต่ดูมันอยู่เงียบ ๆ ทำความรู้กับมันไป

:b1:

ซึ่งการเงียบ บางครั้งมันก็เป็นอารมณ์ที่เป็นมิตรกับเรา
เพราะ เราแค่ทำความรู้สึกตัวอยู่ แต่ยังไม่ได้เข้าไปให้ค่ากับมัน

:b1:

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 18 มี.ค. 2019, 19:40 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

eragon_joe เขียน:
:b32: :b32: :b32:

หาโอกาสเข้ามาแทรกไม่ได้เลย...

:b32: :b32: :b32:


กับเรื่อง มิจฉา หรือ สัมมา เอกอนยังไม่มีความเห็นใด ๆ
เพราะ ความรู้สึกเอกอน ไม่ได้น้อมไปในทั้ง 2 ฝั่งอย่าง เต็มที่

ซึ่งบางครั้ง เอกอนก็บอกไม่ได้ ว่า ผู้ปฏิบัติจะต้องทรงตัวอยู่ในแต่เขตแดนแห่งสัมมาอย่างเดียวหรือไม่
ในวันที่ ความรู้ทางธรรมครุกกรุ่นในใจ วิริยะอาจหาญในธรรมมันอัดแน่น
เขตแดนแห่งสัมมาก็ปรากฏชัดเจนให้เราทรงตัวอยู่ในเขตแดน
อันเป็นหนทางที่เราเข้าใจว่าเป็น สัมมาทิฎฐิ และจิตก็ตั้งมั่น ยึดไว้ ประคองไว้ ทรงไว้

แต่เมื่อบางครั้งที่ภาระงานทางโลกเยอะ
ก็ทำให้เอกอน ห่างเหิน และ ได้คลายการยึดในเขตแดนอันเป็นที่หมายทางธรรมที่เคยเข้าใจว่าเป็นสัมมา
ซึ่งเมื่อเกิดการคลายความยึด บางครั้งเราก็จะเห็นตัวเราในช่วงวันเวลาเหล่านั้น

...ว่าเราหลงในธรรมอันเป็นสัมมา...

:b1:

การย่างก้าวในเขตแดนที่ โลภะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ก็เป็นการย่างก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ

ซึ่งการย่างก้าวในเขตแดนแห่งสัมมา ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นกัน

และการย่างก้าวที่คลายออกจาก ทั้ง 2 ด้าน ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นเดียวกันอีกนั่นล่ะ


:b1:

ซึ่งบางครั้งเราก็ยังตัดสินใจอะไรกับมันไม่ออกหรอก

มันเหมือนราวกับว่า "มันไม่ได้มีอะไร.........สักอย่าง"

บางครั้งเราอาจจะต้องยึดสัมมาในบางช่วง เพื่อก้าวพ้นจากมิจฉาที่รุมร้าว
แต่กระนั้น ก็คงไม่ใช่เรื่องที่ เราจะขังจิตเอาไว้แต่ในแดนสัมมา

สัมมา-มิจฉา ... บางทีมันอาจจะไม่ใช่ทั้งสองที่จะเป็นที่อันเป็นไปของจิตจริง ๆ

บางครั้งก็เลยก็ได้แต่ดูมันอยู่เงียบ ๆ ทำความรู้กับมันไป

:b1:

ซึ่งการเงียบ บางครั้งมันก็เป็นอารมณ์ที่เป็นมิตรกับเรา
เพราะ เราแค่ทำความรู้สึกตัวอยู่ แต่ยังไม่ได้เข้าไปให้ค่ากับมัน

:b1:



สาธุ ท่านเอกอนพูดถูกดีแล้วล่ะครับ :b8: :b8: :b8: (ผมเองยังเข้าไม่ถึงระดับท่านเลยนะนี่ยังห่างไกลยิ่งนัก)

อุปมาเหมือนความหมกมุ่น กับ ความเพียร หรือ.. คนบ้า กับ อัจฉริยะ มันต่างกันแค่พลิกฝ่ามือ คือ..
- อันนึงระลึกไม่ได้ ยั้งคิดไม่ได้ ใจลอย หรือไม่มีความสงบ
- อันนึงระลึกได้ ยับยั้งแยกแยะพิจารณาได้ อย่างสงบตั้งมั่น

การอยู่ระหว่างของ 2 อย่างนี้ เราก็มองเห็นทั้ง 2 ฝั่ง เมื่อกำหนดรู้ ก็จะเห็นสิ่งที่ควรเสพย์ และไม่ควรเสพย์เอง แต่ทว่าจะสามารถพยุงตนในสิ่งที่ถูก ดี ควร ได้มากน้อยแค่ไหน ก็อยู่ที่ใจเราสะสมอบรมจิตในความดีมาพอแล้วหรือยัง

ความดีกับความชั่วต่างกันที่ อันหนึ่งมันเบาเย็นใจไม่เร่าร้อน จิตหนักแน่นมีกำลังฉลาดในการปล่อยวาง แต่อีกอันมันหน่วงตรึง กดข่ม บีบใจให้อ่อแอไม่มีกำลังหวั่นไหวง่าย ไหลพล่านไปตามทุกอย่างที่ตนรับรู้

โดยส่วนตัวผมก็เลยเห็นว่า หากยังเป็นคนดีไม่ได้ ก็ไม่มีทางจะถึงธรรมสูง เพราะต่อให้ท่องครบพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ รู้ครบ 84,000 พระธรรมขันธ์ หมกมุ่นปฏิบัติให้ตาย เขาก็ยังเป็นคนขั่วเหมือนเดิม และไม่รู้สิ่งใดของจริง เพราะพระพุทธศาสนาทำที่ใจเป็นหลัก

ดังนั้นเมื่อตราบที่ยังเข้าไม่ถึงถูกตรงทั้ง กาย วาจา ใจ ก็วางใจไว้กลางๆ สบายๆ ไม่หมกมุ่น แต่ไม่ละเลย รู้ประมาณตน รู้พอดีมันก็เพียงพอแล้ว เหมือนที่ท่านเอกอนกล่าวไว้ข้างต้นนั้นแหละครับ
(เพราะเราแค่ฆราวาส ปุถุชน ..มีแต่คนไม่ถึงธรรมแต่บ้าอัตตาธรรมเท่านั้นแหละฟุ้งซ่านผิดถูก นี่สูง นั่นต่ำ นี่ใช่ นั่นผิด ทั้งๆที่ตนไม่เคยรู้เห็นอะไรแท้จริงเลย)

โดยความเห็นจากปัญญาที่ยังไม่ถึงเศษฝุ่นติดพระบาทของพระพุทธศาสดาและพระอริยะสาวกอย่างผม ในทางสัมมานั้นผมเห็นว่า
- การชื่นชอบความดี เป็นเหตุให้เจริญทาน และศีล
- การชื่นขอบความดี ทำให้ใจดำรงมั่นในทาน และศีล
- การดำรงมั่นในความดี เป็นเหตุให้ดำรงมั่นใน ทาน และศีลอยู่ทุกเมื่อ
- การดำรงมั่นในความดี อันประกอบด้วยทานและศีล ทำให้เกิดความเอาใจใส่ในความดี
- การเอาใจใส่ในความดี ทำให้เกิดความคิดถึงแต่สิ่งที่ดี คงความดีไว้ รักษาความดีไว้ไม่ให้เสื่อมด้วยดี
- การคงไว้ซึ่งความดี ทำให้เรารับรู้ถึงผลของความดีแต่ละอย่าง แยกต่างหากจากการทำชั่ว เห็นผลสืบต่อของการกระทำความดี เมื่อพิจารณาเห็นย่อมเกิดความรู้แยกแยะความสืบต่อของการกระทำทั้งดีและชั่ว เช่นว่า.. การทำชั่วแม้น้อยนิดก็ยังใจให้เร่าร้อน การทำดีแม้ไม่เห็นผลแต่ก็ทำให้เราไปอยู่ที่ได้ก็เย็นกายสบายใจไม่เร่าร้อน ไม่หวากดกลัว ไม่หวาดระแวง ไม่ต้องหลบซ่อนหลีกเร้น
- เมื่อสอดส่องพิจารณาดีแล้วอย่างนี้เป็นต้น ย่อมเกิดเป็นความเห็น ระลึกรู้พิจารณาแยกแยะดีชั่ว มีหิริพละ โอตตัปปะพละ มีใจน้อมลงสู่การสะสมเหตุในมรรคแบบสาสวะไปจนถึงการอบรมจิตให้ถึงมรรคแบบอนาสวะได้อย่างมั่นคงไม่หวั่นไหว

- ดังนั้นผมจึงเห็นว่าตราบใดที่ยังปุถุชนอยู่ ไม่ควรก้าวล่วงกรรมใคร กรรมแม้น้อยนิดก็ให้ผล บางคนในเวบนี้คงเคยรับรู้ได้แล้ว
- ตราบที่ใจตนยังชั่ว วาจายังชั่ว กายยังชั่ว ก็ไม่ควรมาพร่ำเพ้อโอ้อวด เรื่องพร่ำเพ้อโอ้อวดมันเป็นเรื่องของโลก เพราะความเป็นโลกนี้คนจะดำรงอยู่ด้วยกิเลสตัณหา เป็นสันดานปุถุชนแบบโลกๆเขาทำกัน แค่เพียงกล่าวอ้างธรรมของพระพุทธเจ้ามาเท่านั้น แทนที่จะทำให้พระธรรมสูงค่ากลับยิ่งทำให้เสื่อมเพราะตน เพราะคนอื่นย่อมเห็นว่าการศึกษาธรรมแล้วเป็นแบบคนสันดารปุถุชนเหล่านั้นทำ
- ส่วนโลกุตระเป็นเรื่องของพระอริยะผู้ตัดละสมมติกิเลสของปลอมได้แล้ว ท่านไม่เอาอารมณ์ทางโลกมาปะปน ท่านไม่โม้ธรรมสูง ท่านอยู่กับโลกได้อย่างปรกติ เพราะไม่บ้า ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงธรรม แต่เข้าถึงธรรมแล้วนั่นเอง

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 มี.ค. 2019, 04:42 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

แค่อากาศ เขียน:
eragon_joe เขียน:
:b32: :b32: :b32:

หาโอกาสเข้ามาแทรกไม่ได้เลย...

:b32: :b32: :b32:


กับเรื่อง มิจฉา หรือ สัมมา เอกอนยังไม่มีความเห็นใด ๆ
เพราะ ความรู้สึกเอกอน ไม่ได้น้อมไปในทั้ง 2 ฝั่งอย่าง เต็มที่

ซึ่งบางครั้ง เอกอนก็บอกไม่ได้ ว่า ผู้ปฏิบัติจะต้องทรงตัวอยู่ในแต่เขตแดนแห่งสัมมาอย่างเดียวหรือไม่
ในวันที่ ความรู้ทางธรรมครุกกรุ่นในใจ วิริยะอาจหาญในธรรมมันอัดแน่น
เขตแดนแห่งสัมมาก็ปรากฏชัดเจนให้เราทรงตัวอยู่ในเขตแดน
อันเป็นหนทางที่เราเข้าใจว่าเป็น สัมมาทิฎฐิ และจิตก็ตั้งมั่น ยึดไว้ ประคองไว้ ทรงไว้

แต่เมื่อบางครั้งที่ภาระงานทางโลกเยอะ
ก็ทำให้เอกอน ห่างเหิน และ ได้คลายการยึดในเขตแดนอันเป็นที่หมายทางธรรมที่เคยเข้าใจว่าเป็นสัมมา
ซึ่งเมื่อเกิดการคลายความยึด บางครั้งเราก็จะเห็นตัวเราในช่วงวันเวลาเหล่านั้น

...ว่าเราหลงในธรรมอันเป็นสัมมา...

:b1:

การย่างก้าวในเขตแดนที่ โลภะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ก็เป็นการย่างก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ

ซึ่งการย่างก้าวในเขตแดนแห่งสัมมา ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นกัน

และการย่างก้าวที่คลายออกจาก ทั้ง 2 ด้าน ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นเดียวกันอีกนั่นล่ะ


:b1:

ซึ่งบางครั้งเราก็ยังตัดสินใจอะไรกับมันไม่ออกหรอก

มันเหมือนราวกับว่า "มันไม่ได้มีอะไร.........สักอย่าง"

บางครั้งเราอาจจะต้องยึดสัมมาในบางช่วง เพื่อก้าวพ้นจากมิจฉาที่รุมร้าว
แต่กระนั้น ก็คงไม่ใช่เรื่องที่ เราจะขังจิตเอาไว้แต่ในแดนสัมมา

สัมมา-มิจฉา ... บางทีมันอาจจะไม่ใช่ทั้งสองที่จะเป็นที่อันเป็นไปของจิตจริง ๆ

บางครั้งก็เลยก็ได้แต่ดูมันอยู่เงียบ ๆ ทำความรู้กับมันไป

:b1:

ซึ่งการเงียบ บางครั้งมันก็เป็นอารมณ์ที่เป็นมิตรกับเรา
เพราะ เราแค่ทำความรู้สึกตัวอยู่ แต่ยังไม่ได้เข้าไปให้ค่ากับมัน

:b1:



สาธุ ท่านเอกอนพูดถูกดีแล้วล่ะครับ :b8: :b8: :b8: (ผมเองยังเข้าไม่ถึงระดับท่านเลยนะนี่ยังห่างไกลยิ่งนัก)

อุปมาเหมือนความหมกมุ่น กับ ความเพียร หรือ.. คนบ้า กับ อัจฉริยะ มันต่างกันแค่พลิกฝ่ามือ คือ..
- อันนึงระลึกไม่ได้ ยั้งคิดไม่ได้ ใจลอย หรือไม่มีความสงบ
- อันนึงระลึกได้ ยับยั้งแยกแยะพิจารณาได้ อย่างสงบตั้งมั่น

การอยู่ระหว่างของ 2 อย่างนี้ เราก็มองเห็นทั้ง 2 ฝั่ง เมื่อกำหนดรู้ ก็จะเห็นสิ่งที่ควรเสพย์ และไม่ควรเสพย์เอง แต่ทว่าจะสามารถพยุงตนในสิ่งที่ถูก ดี ควร ได้มากน้อยแค่ไหน ก็อยู่ที่ใจเราสะสมอบรมจิตในความดีมาพอแล้วหรือยัง

ความดีกับความชั่วต่างกันที่ อันหนึ่งมันเบาเย็นใจไม่เร่าร้อน จิตหนักแน่นมีกำลังฉลาดในการปล่อยวาง แต่อีกอันมันหน่วงตรึง กดข่ม บีบใจให้อ่อแอไม่มีกำลังหวั่นไหวง่าย ไหลพล่านไปตามทุกอย่างที่ตนรับรู้

โดยส่วนตัวผมก็เลยเห็นว่า หากยังเป็นคนดีไม่ได้ ก็ไม่มีทางจะถึงธรรมสูง เพราะต่อให้ท่องครบพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ รู้ครบ 84,000 พระธรรมขันธ์ หมกมุ่นปฏิบัติให้ตาย เขาก็ยังเป็นคนขั่วเหมือนเดิม และไม่รู้สิ่งใดของจริง เพราะพระพุทธศาสนาทำที่ใจเป็นหลัก

ดังนั้นเมื่อตราบที่ยังเข้าไม่ถึงถูกตรงทั้ง กาย วาจา ใจ ก็วางใจไว้กลางๆ สบายๆ ไม่หมกมุ่น แต่ไม่ละเลย รู้ประมาณตน รู้พอดีมันก็เพียงพอแล้ว เหมือนที่ท่านเอกอนกล่าวไว้ข้างต้นนั้นแหละครับ
(เพราะเราแค่ฆราวาส ปุถุชน ..มีแต่คนไม่ถึงธรรมแต่บ้าอัตตาธรรมเท่านั้นแหละฟุ้งซ่านผิดถูก นี่สูง นั่นต่ำ นี่ใช่ นั่นผิด ทั้งๆที่ตนไม่เคยรู้เห็นอะไรแท้จริงเลย)

โดยความเห็นจากปัญญาที่ยังไม่ถึงเศษฝุ่นติดพระบาทของพระพุทธศาสดาและพระอริยะสาวกอย่างผม ในทางสัมมานั้นผมเห็นว่า
- การชื่นชอบความดี เป็นเหตุให้เจริญทาน และศีล
- การชื่นขอบความดี ทำให้ใจดำรงมั่นในทาน และศีล
- การดำรงมั่นในความดี เป็นเหตุให้ดำรงมั่นใน ทาน และศีลอยู่ทุกเมื่อ
- การดำรงมั่นในความดี อันประกอบด้วยทานและศีล ทำให้เกิดความเอาใจใส่ในความดี
- การเอาใจใส่ในความดี ทำให้เกิดความคิดถึงแต่สิ่งที่ดี คงความดีไว้ รักษาความดีไว้ไม่ให้เสื่อมด้วยดี
- การคงไว้ซึ่งความดี ทำให้เรารับรู้ถึงผลของความดีแต่ละอย่าง แยกต่างหากจากการทำชั่ว เห็นผลสืบต่อของการกระทำความดี เมื่อพิจารณาเห็นย่อมเกิดความรู้แยกแยะความสืบต่อของการกระทำทั้งดีและชั่ว เช่นว่า.. การทำชั่วแม้น้อยนิดก็ยังใจให้เร่าร้อน การทำดีแม้ไม่เห็นผลแต่ก็ทำให้เราไปอยู่ที่ได้ก็เย็นกายสบายใจไม่เร่าร้อน ไม่หวากดกลัว ไม่หวาดระแวง ไม่ต้องหลบซ่อนหลีกเร้น
- เมื่อสอดส่องพิจารณาดีแล้วอย่างนี้เป็นต้น ย่อมเกิดเป็นความเห็น ระลึกรู้พิจารณาแยกแยะดีชั่ว มีหิริพละ โอตตัปปะพละ มีใจน้อมลงสู่การสะสมเหตุในมรรคแบบสาสวะไปจนถึงการอบรมจิตให้ถึงมรรคแบบอนาสวะได้อย่างมั่นคงไม่หวั่นไหว

- ดังนั้นผมจึงเห็นว่าตราบใดที่ยังปุถุชนอยู่ ไม่ควรก้าวล่วงกรรมใคร กรรมแม้น้อยนิดก็ให้ผล บางคนในเวบนี้คงเคยรับรู้ได้แล้ว
- ตราบที่ใจตนยังชั่ว วาจายังชั่ว กายยังชั่ว ก็ไม่ควรมาพร่ำเพ้อโอ้อวด เรื่องพร่ำเพ้อโอ้อวดมันเป็นเรื่องของโลก เพราะความเป็นโลกนี้คนจะดำรงอยู่ด้วยกิเลสตัณหา เป็นสันดานปุถุชนแบบโลกๆเขาทำกัน แค่เพียงกล่าวอ้างธรรมของพระพุทธเจ้ามาเท่านั้น แทนที่จะทำให้พระธรรมสูงค่ากลับยิ่งทำให้เสื่อมเพราะตน เพราะคนอื่นย่อมเห็นว่าการศึกษาธรรมแล้วเป็นแบบคนสันดารปุถุชนเหล่านั้นทำ
- ส่วนโลกุตระเป็นเรื่องของพระอริยะผู้ตัดละสมมติกิเลสของปลอมได้แล้ว ท่านไม่เอาอารมณ์ทางโลกมาปะปน ท่านไม่โม้ธรรมสูง ท่านอยู่กับโลกได้อย่างปรกติ เพราะไม่บ้า ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงธรรม แต่เข้าถึงธรรมแล้วนั่นเอง




เพราะคุณแค่อากาศ ยังคงบ้าน้ำลายเละเทะ
เรยบอดจากไตรลักษณ์

เห็นกล่าวว่ายังไม่เข้าถึงระดับพี่เอกอน ยังห่างไกล
ยังไม่ถึงแบบพี่เอกอนอีก ต๊ายตาย

ก็ ลองให้พี่เอกอน กล่าวถึงเมดูนะคะ
ว่าจะว่ายังไง

ก็อยากรู้จากใจจริง จากคำสารภาพ ของ พี่เอกอนเหมือนกาน

คริคริ

tongue

เจ้าของ:  eragon_joe [ 20 มี.ค. 2019, 10:05 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
eragon_joe เขียน:
:b32: :b32: :b32:

หาโอกาสเข้ามาแทรกไม่ได้เลย...

:b32: :b32: :b32:


กับเรื่อง มิจฉา หรือ สัมมา เอกอนยังไม่มีความเห็นใด ๆ
เพราะ ความรู้สึกเอกอน ไม่ได้น้อมไปในทั้ง 2 ฝั่งอย่าง เต็มที่

ซึ่งบางครั้ง เอกอนก็บอกไม่ได้ ว่า ผู้ปฏิบัติจะต้องทรงตัวอยู่ในแต่เขตแดนแห่งสัมมาอย่างเดียวหรือไม่
ในวันที่ ความรู้ทางธรรมครุกกรุ่นในใจ วิริยะอาจหาญในธรรมมันอัดแน่น
เขตแดนแห่งสัมมาก็ปรากฏชัดเจนให้เราทรงตัวอยู่ในเขตแดน
อันเป็นหนทางที่เราเข้าใจว่าเป็น สัมมาทิฎฐิ และจิตก็ตั้งมั่น ยึดไว้ ประคองไว้ ทรงไว้

แต่เมื่อบางครั้งที่ภาระงานทางโลกเยอะ
ก็ทำให้เอกอน ห่างเหิน และ ได้คลายการยึดในเขตแดนอันเป็นที่หมายทางธรรมที่เคยเข้าใจว่าเป็นสัมมา
ซึ่งเมื่อเกิดการคลายความยึด บางครั้งเราก็จะเห็นตัวเราในช่วงวันเวลาเหล่านั้น

...ว่าเราหลงในธรรมอันเป็นสัมมา...

:b1:

การย่างก้าวในเขตแดนที่ โลภะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ก็เป็นการย่างก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ

ซึ่งการย่างก้าวในเขตแดนแห่งสัมมา ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นกัน

และการย่างก้าวที่คลายออกจาก ทั้ง 2 ด้าน ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นเดียวกันอีกนั่นล่ะ


:b1:

ซึ่งบางครั้งเราก็ยังตัดสินใจอะไรกับมันไม่ออกหรอก

มันเหมือนราวกับว่า "มันไม่ได้มีอะไร.........สักอย่าง"

บางครั้งเราอาจจะต้องยึดสัมมาในบางช่วง เพื่อก้าวพ้นจากมิจฉาที่รุมร้าว
แต่กระนั้น ก็คงไม่ใช่เรื่องที่ เราจะขังจิตเอาไว้แต่ในแดนสัมมา

สัมมา-มิจฉา ... บางทีมันอาจจะไม่ใช่ทั้งสองที่จะเป็นที่อันเป็นไปของจิตจริง ๆ

บางครั้งก็เลยก็ได้แต่ดูมันอยู่เงียบ ๆ ทำความรู้กับมันไป

:b1:

ซึ่งการเงียบ บางครั้งมันก็เป็นอารมณ์ที่เป็นมิตรกับเรา
เพราะ เราแค่ทำความรู้สึกตัวอยู่ แต่ยังไม่ได้เข้าไปให้ค่ากับมัน

:b1:



สาธุ ท่านเอกอนพูดถูกดีแล้วล่ะครับ :b8: :b8: :b8: (ผมเองยังเข้าไม่ถึงระดับท่านเลยนะนี่ยังห่างไกลยิ่งนัก)

อุปมาเหมือนความหมกมุ่น กับ ความเพียร หรือ.. คนบ้า กับ อัจฉริยะ มันต่างกันแค่พลิกฝ่ามือ คือ..
- อันนึงระลึกไม่ได้ ยั้งคิดไม่ได้ ใจลอย หรือไม่มีความสงบ
- อันนึงระลึกได้ ยับยั้งแยกแยะพิจารณาได้ อย่างสงบตั้งมั่น

การอยู่ระหว่างของ 2 อย่างนี้ เราก็มองเห็นทั้ง 2 ฝั่ง เมื่อกำหนดรู้ ก็จะเห็นสิ่งที่ควรเสพย์ และไม่ควรเสพย์เอง แต่ทว่าจะสามารถพยุงตนในสิ่งที่ถูก ดี ควร ได้มากน้อยแค่ไหน ก็อยู่ที่ใจเราสะสมอบรมจิตในความดีมาพอแล้วหรือยัง

ความดีกับความชั่วต่างกันที่ อันหนึ่งมันเบาเย็นใจไม่เร่าร้อน จิตหนักแน่นมีกำลังฉลาดในการปล่อยวาง แต่อีกอันมันหน่วงตรึง กดข่ม บีบใจให้อ่อแอไม่มีกำลังหวั่นไหวง่าย ไหลพล่านไปตามทุกอย่างที่ตนรับรู้

โดยส่วนตัวผมก็เลยเห็นว่า หากยังเป็นคนดีไม่ได้ ก็ไม่มีทางจะถึงธรรมสูง เพราะต่อให้ท่องครบพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ รู้ครบ 84,000 พระธรรมขันธ์ หมกมุ่นปฏิบัติให้ตาย เขาก็ยังเป็นคนขั่วเหมือนเดิม และไม่รู้สิ่งใดของจริง เพราะพระพุทธศาสนาทำที่ใจเป็นหลัก

ดังนั้นเมื่อตราบที่ยังเข้าไม่ถึงถูกตรงทั้ง กาย วาจา ใจ ก็วางใจไว้กลางๆ สบายๆ ไม่หมกมุ่น แต่ไม่ละเลย รู้ประมาณตน รู้พอดีมันก็เพียงพอแล้ว เหมือนที่ท่านเอกอนกล่าวไว้ข้างต้นนั้นแหละครับ
(เพราะเราแค่ฆราวาส ปุถุชน ..มีแต่คนไม่ถึงธรรมแต่บ้าอัตตาธรรมเท่านั้นแหละฟุ้งซ่านผิดถูก นี่สูง นั่นต่ำ นี่ใช่ นั่นผิด ทั้งๆที่ตนไม่เคยรู้เห็นอะไรแท้จริงเลย)

โดยความเห็นจากปัญญาที่ยังไม่ถึงเศษฝุ่นติดพระบาทของพระพุทธศาสดาและพระอริยะสาวกอย่างผม ในทางสัมมานั้นผมเห็นว่า
- การชื่นชอบความดี เป็นเหตุให้เจริญทาน และศีล
- การชื่นขอบความดี ทำให้ใจดำรงมั่นในทาน และศีล
- การดำรงมั่นในความดี เป็นเหตุให้ดำรงมั่นใน ทาน และศีลอยู่ทุกเมื่อ
- การดำรงมั่นในความดี อันประกอบด้วยทานและศีล ทำให้เกิดความเอาใจใส่ในความดี
- การเอาใจใส่ในความดี ทำให้เกิดความคิดถึงแต่สิ่งที่ดี คงความดีไว้ รักษาความดีไว้ไม่ให้เสื่อมด้วยดี
- การคงไว้ซึ่งความดี ทำให้เรารับรู้ถึงผลของความดีแต่ละอย่าง แยกต่างหากจากการทำชั่ว เห็นผลสืบต่อของการกระทำความดี เมื่อพิจารณาเห็นย่อมเกิดความรู้แยกแยะความสืบต่อของการกระทำทั้งดีและชั่ว เช่นว่า.. การทำชั่วแม้น้อยนิดก็ยังใจให้เร่าร้อน การทำดีแม้ไม่เห็นผลแต่ก็ทำให้เราไปอยู่ที่ได้ก็เย็นกายสบายใจไม่เร่าร้อน ไม่หวากดกลัว ไม่หวาดระแวง ไม่ต้องหลบซ่อนหลีกเร้น
- เมื่อสอดส่องพิจารณาดีแล้วอย่างนี้เป็นต้น ย่อมเกิดเป็นความเห็น ระลึกรู้พิจารณาแยกแยะดีชั่ว มีหิริพละ โอตตัปปะพละ มีใจน้อมลงสู่การสะสมเหตุในมรรคแบบสาสวะไปจนถึงการอบรมจิตให้ถึงมรรคแบบอนาสวะได้อย่างมั่นคงไม่หวั่นไหว

- ดังนั้นผมจึงเห็นว่าตราบใดที่ยังปุถุชนอยู่ ไม่ควรก้าวล่วงกรรมใคร กรรมแม้น้อยนิดก็ให้ผล บางคนในเวบนี้คงเคยรับรู้ได้แล้ว
- ตราบที่ใจตนยังชั่ว วาจายังชั่ว กายยังชั่ว ก็ไม่ควรมาพร่ำเพ้อโอ้อวด เรื่องพร่ำเพ้อโอ้อวดมันเป็นเรื่องของโลก เพราะความเป็นโลกนี้คนจะดำรงอยู่ด้วยกิเลสตัณหา เป็นสันดานปุถุชนแบบโลกๆเขาทำกัน แค่เพียงกล่าวอ้างธรรมของพระพุทธเจ้ามาเท่านั้น แทนที่จะทำให้พระธรรมสูงค่ากลับยิ่งทำให้เสื่อมเพราะตน เพราะคนอื่นย่อมเห็นว่าการศึกษาธรรมแล้วเป็นแบบคนสันดารปุถุชนเหล่านั้นทำ
- ส่วนโลกุตระเป็นเรื่องของพระอริยะผู้ตัดละสมมติกิเลสของปลอมได้แล้ว ท่านไม่เอาอารมณ์ทางโลกมาปะปน ท่านไม่โม้ธรรมสูง ท่านอยู่กับโลกได้อย่างปรกติ เพราะไม่บ้า ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงธรรม แต่เข้าถึงธรรมแล้วนั่นเอง




เพราะคุณแค่อากาศ ยังคงบ้าน้ำลายเละเทะ
เรยบอดจากไตรลักษณ์

เห็นกล่าวว่ายังไม่เข้าถึงระดับพี่เอกอน ยังห่างไกล
ยังไม่ถึงแบบพี่เอกอนอีก ต๊ายตาย

ก็ ลองให้พี่เอกอน กล่าวถึงเมดูนะคะ
ว่าจะว่ายังไง

ก็อยากรู้จากใจจริง จากคำสารภาพ ของ พี่เอกอนเหมือนกาน

คริคริ

tongue


:b1: :b16:

จริง ๆ พี่เอกอนเคยพูดไปแล้ว แต่คงไม่มีใครเอะใจ

ซึ่งเรื่องราวความรู้สึกที่พี่เอกอนมีต่อน้องเม พูดไปก็คงเป็นเรื่องยากที่ใคร ๆ จะเข้าใจ

จริง ๆ ก็คิดจะเกริ่น ๆ ในเรื่องนี้อยู่เหมือนกัน แต่ยังไม่ทันได้ทำ
น้องเมก็มาทักซะก่อน ... :b1:

น้องเม เป็น แดจาวู สำหรับพี่เอกอน

:b1:

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 20 มี.ค. 2019, 12:13 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
eragon_joe เขียน:
:b32: :b32: :b32:

หาโอกาสเข้ามาแทรกไม่ได้เลย...

:b32: :b32: :b32:


กับเรื่อง มิจฉา หรือ สัมมา เอกอนยังไม่มีความเห็นใด ๆ
เพราะ ความรู้สึกเอกอน ไม่ได้น้อมไปในทั้ง 2 ฝั่งอย่าง เต็มที่

ซึ่งบางครั้ง เอกอนก็บอกไม่ได้ ว่า ผู้ปฏิบัติจะต้องทรงตัวอยู่ในแต่เขตแดนแห่งสัมมาอย่างเดียวหรือไม่
ในวันที่ ความรู้ทางธรรมครุกกรุ่นในใจ วิริยะอาจหาญในธรรมมันอัดแน่น
เขตแดนแห่งสัมมาก็ปรากฏชัดเจนให้เราทรงตัวอยู่ในเขตแดน
อันเป็นหนทางที่เราเข้าใจว่าเป็น สัมมาทิฎฐิ และจิตก็ตั้งมั่น ยึดไว้ ประคองไว้ ทรงไว้

แต่เมื่อบางครั้งที่ภาระงานทางโลกเยอะ
ก็ทำให้เอกอน ห่างเหิน และ ได้คลายการยึดในเขตแดนอันเป็นที่หมายทางธรรมที่เคยเข้าใจว่าเป็นสัมมา
ซึ่งเมื่อเกิดการคลายความยึด บางครั้งเราก็จะเห็นตัวเราในช่วงวันเวลาเหล่านั้น

...ว่าเราหลงในธรรมอันเป็นสัมมา...

:b1:

การย่างก้าวในเขตแดนที่ โลภะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ก็เป็นการย่างก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ

ซึ่งการย่างก้าวในเขตแดนแห่งสัมมา ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นกัน

และการย่างก้าวที่คลายออกจาก ทั้ง 2 ด้าน ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นเดียวกันอีกนั่นล่ะ


:b1:

ซึ่งบางครั้งเราก็ยังตัดสินใจอะไรกับมันไม่ออกหรอก

มันเหมือนราวกับว่า "มันไม่ได้มีอะไร.........สักอย่าง"

บางครั้งเราอาจจะต้องยึดสัมมาในบางช่วง เพื่อก้าวพ้นจากมิจฉาที่รุมร้าว
แต่กระนั้น ก็คงไม่ใช่เรื่องที่ เราจะขังจิตเอาไว้แต่ในแดนสัมมา

สัมมา-มิจฉา ... บางทีมันอาจจะไม่ใช่ทั้งสองที่จะเป็นที่อันเป็นไปของจิตจริง ๆ

บางครั้งก็เลยก็ได้แต่ดูมันอยู่เงียบ ๆ ทำความรู้กับมันไป

:b1:

ซึ่งการเงียบ บางครั้งมันก็เป็นอารมณ์ที่เป็นมิตรกับเรา
เพราะ เราแค่ทำความรู้สึกตัวอยู่ แต่ยังไม่ได้เข้าไปให้ค่ากับมัน

:b1:



สาธุ ท่านเอกอนพูดถูกดีแล้วล่ะครับ :b8: :b8: :b8: (ผมเองยังเข้าไม่ถึงระดับท่านเลยนะนี่ยังห่างไกลยิ่งนัก)

อุปมาเหมือนความหมกมุ่น กับ ความเพียร หรือ.. คนบ้า กับ อัจฉริยะ มันต่างกันแค่พลิกฝ่ามือ คือ..
- อันนึงระลึกไม่ได้ ยั้งคิดไม่ได้ ใจลอย หรือไม่มีความสงบ
- อันนึงระลึกได้ ยับยั้งแยกแยะพิจารณาได้ อย่างสงบตั้งมั่น

การอยู่ระหว่างของ 2 อย่างนี้ เราก็มองเห็นทั้ง 2 ฝั่ง เมื่อกำหนดรู้ ก็จะเห็นสิ่งที่ควรเสพย์ และไม่ควรเสพย์เอง แต่ทว่าจะสามารถพยุงตนในสิ่งที่ถูก ดี ควร ได้มากน้อยแค่ไหน ก็อยู่ที่ใจเราสะสมอบรมจิตในความดีมาพอแล้วหรือยัง

ความดีกับความชั่วต่างกันที่ อันหนึ่งมันเบาเย็นใจไม่เร่าร้อน จิตหนักแน่นมีกำลังฉลาดในการปล่อยวาง แต่อีกอันมันหน่วงตรึง กดข่ม บีบใจให้อ่อแอไม่มีกำลังหวั่นไหวง่าย ไหลพล่านไปตามทุกอย่างที่ตนรับรู้

โดยส่วนตัวผมก็เลยเห็นว่า หากยังเป็นคนดีไม่ได้ ก็ไม่มีทางจะถึงธรรมสูง เพราะต่อให้ท่องครบพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ รู้ครบ 84,000 พระธรรมขันธ์ หมกมุ่นปฏิบัติให้ตาย เขาก็ยังเป็นคนขั่วเหมือนเดิม และไม่รู้สิ่งใดของจริง เพราะพระพุทธศาสนาทำที่ใจเป็นหลัก

ดังนั้นเมื่อตราบที่ยังเข้าไม่ถึงถูกตรงทั้ง กาย วาจา ใจ ก็วางใจไว้กลางๆ สบายๆ ไม่หมกมุ่น แต่ไม่ละเลย รู้ประมาณตน รู้พอดีมันก็เพียงพอแล้ว เหมือนที่ท่านเอกอนกล่าวไว้ข้างต้นนั้นแหละครับ
(เพราะเราแค่ฆราวาส ปุถุชน ..มีแต่คนไม่ถึงธรรมแต่บ้าอัตตาธรรมเท่านั้นแหละฟุ้งซ่านผิดถูก นี่สูง นั่นต่ำ นี่ใช่ นั่นผิด ทั้งๆที่ตนไม่เคยรู้เห็นอะไรแท้จริงเลย)

โดยความเห็นจากปัญญาที่ยังไม่ถึงเศษฝุ่นติดพระบาทของพระพุทธศาสดาและพระอริยะสาวกอย่างผม ในทางสัมมานั้นผมเห็นว่า
- การชื่นชอบความดี เป็นเหตุให้เจริญทาน และศีล
- การชื่นขอบความดี ทำให้ใจดำรงมั่นในทาน และศีล
- การดำรงมั่นในความดี เป็นเหตุให้ดำรงมั่นใน ทาน และศีลอยู่ทุกเมื่อ
- การดำรงมั่นในความดี อันประกอบด้วยทานและศีล ทำให้เกิดความเอาใจใส่ในความดี
- การเอาใจใส่ในความดี ทำให้เกิดความคิดถึงแต่สิ่งที่ดี คงความดีไว้ รักษาความดีไว้ไม่ให้เสื่อมด้วยดี
- การคงไว้ซึ่งความดี ทำให้เรารับรู้ถึงผลของความดีแต่ละอย่าง แยกต่างหากจากการทำชั่ว เห็นผลสืบต่อของการกระทำความดี เมื่อพิจารณาเห็นย่อมเกิดความรู้แยกแยะความสืบต่อของการกระทำทั้งดีและชั่ว เช่นว่า.. การทำชั่วแม้น้อยนิดก็ยังใจให้เร่าร้อน การทำดีแม้ไม่เห็นผลแต่ก็ทำให้เราไปอยู่ที่ได้ก็เย็นกายสบายใจไม่เร่าร้อน ไม่หวากดกลัว ไม่หวาดระแวง ไม่ต้องหลบซ่อนหลีกเร้น
- เมื่อสอดส่องพิจารณาดีแล้วอย่างนี้เป็นต้น ย่อมเกิดเป็นความเห็น ระลึกรู้พิจารณาแยกแยะดีชั่ว มีหิริพละ โอตตัปปะพละ มีใจน้อมลงสู่การสะสมเหตุในมรรคแบบสาสวะไปจนถึงการอบรมจิตให้ถึงมรรคแบบอนาสวะได้อย่างมั่นคงไม่หวั่นไหว

- ดังนั้นผมจึงเห็นว่าตราบใดที่ยังปุถุชนอยู่ ไม่ควรก้าวล่วงกรรมใคร กรรมแม้น้อยนิดก็ให้ผล บางคนในเวบนี้คงเคยรับรู้ได้แล้ว
- ตราบที่ใจตนยังชั่ว วาจายังชั่ว กายยังชั่ว ก็ไม่ควรมาพร่ำเพ้อโอ้อวด เรื่องพร่ำเพ้อโอ้อวดมันเป็นเรื่องของโลก เพราะความเป็นโลกนี้คนจะดำรงอยู่ด้วยกิเลสตัณหา เป็นสันดานปุถุชนแบบโลกๆเขาทำกัน แค่เพียงกล่าวอ้างธรรมของพระพุทธเจ้ามาเท่านั้น แทนที่จะทำให้พระธรรมสูงค่ากลับยิ่งทำให้เสื่อมเพราะตน เพราะคนอื่นย่อมเห็นว่าการศึกษาธรรมแล้วเป็นแบบคนสันดารปุถุชนเหล่านั้นทำ
- ส่วนโลกุตระเป็นเรื่องของพระอริยะผู้ตัดละสมมติกิเลสของปลอมได้แล้ว ท่านไม่เอาอารมณ์ทางโลกมาปะปน ท่านไม่โม้ธรรมสูง ท่านอยู่กับโลกได้อย่างปรกติ เพราะไม่บ้า ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงธรรม แต่เข้าถึงธรรมแล้วนั่นเอง




เพราะคุณแค่อากาศ ยังคงบ้าน้ำลายเละเทะ
เรยบอดจากไตรลักษณ์

เห็นกล่าวว่ายังไม่เข้าถึงระดับพี่เอกอน ยังห่างไกล
ยังไม่ถึงแบบพี่เอกอนอีก ต๊ายตาย

ก็ ลองให้พี่เอกอน กล่าวถึงเมดูนะคะ
ว่าจะว่ายังไง

ก็อยากรู้จากใจจริง จากคำสารภาพ ของ พี่เอกอนเหมือนกาน

คริคริ

tongue


ที่ไหนมีแค่อากาศ ที่นั่นมีเม เมกับแค่อากาศเป็นแฟนกัน :b32: :b32: :b32:

เม หยาบคาย ก้าวร้าว หลู่คุณท่าน อวดโม้
แค่อากาศ สุภาพชน ถ่อมตน เป็นมิตร ถนอมน้ำใจ ใฝ่รู้

เนื้อคู่จริงๆ แต่เวลาอยู่กัน 2 คนนี่ เรียกที่รักจ๋าๆนะ :b32: :b32: :b32:

ถ้ามองในมุมดีๆมันก็ดีนะ ทำให้คนแยกออกได้ระหว่าง รู้บ้างไม่รู้บ้าง แต่ไม่ถือตน กับ รู้บ้างไม่รู้บ้างแต่ถือตน อันนี้ช่วยให้หลายๆคนเห็นแล้วเลือกที่ละมานะทิฏฐิได้นะ

ดังนั้นเมกับอากาศจึงคู่กัน ที่ไหนมีแค่อากาศที่นั่นมีเม :b18: :b18: :b18:

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 มี.ค. 2019, 13:25 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
eragon_joe เขียน:
:b32: :b32: :b32:

หาโอกาสเข้ามาแทรกไม่ได้เลย...

:b32: :b32: :b32:


กับเรื่อง มิจฉา หรือ สัมมา เอกอนยังไม่มีความเห็นใด ๆ
เพราะ ความรู้สึกเอกอน ไม่ได้น้อมไปในทั้ง 2 ฝั่งอย่าง เต็มที่

ซึ่งบางครั้ง เอกอนก็บอกไม่ได้ ว่า ผู้ปฏิบัติจะต้องทรงตัวอยู่ในแต่เขตแดนแห่งสัมมาอย่างเดียวหรือไม่
ในวันที่ ความรู้ทางธรรมครุกกรุ่นในใจ วิริยะอาจหาญในธรรมมันอัดแน่น
เขตแดนแห่งสัมมาก็ปรากฏชัดเจนให้เราทรงตัวอยู่ในเขตแดน
อันเป็นหนทางที่เราเข้าใจว่าเป็น สัมมาทิฎฐิ และจิตก็ตั้งมั่น ยึดไว้ ประคองไว้ ทรงไว้

แต่เมื่อบางครั้งที่ภาระงานทางโลกเยอะ
ก็ทำให้เอกอน ห่างเหิน และ ได้คลายการยึดในเขตแดนอันเป็นที่หมายทางธรรมที่เคยเข้าใจว่าเป็นสัมมา
ซึ่งเมื่อเกิดการคลายความยึด บางครั้งเราก็จะเห็นตัวเราในช่วงวันเวลาเหล่านั้น

...ว่าเราหลงในธรรมอันเป็นสัมมา...

:b1:

การย่างก้าวในเขตแดนที่ โลภะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ก็เป็นการย่างก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ

ซึ่งการย่างก้าวในเขตแดนแห่งสัมมา ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นกัน

และการย่างก้าวที่คลายออกจาก ทั้ง 2 ด้าน ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นเดียวกันอีกนั่นล่ะ


:b1:

ซึ่งบางครั้งเราก็ยังตัดสินใจอะไรกับมันไม่ออกหรอก

มันเหมือนราวกับว่า "มันไม่ได้มีอะไร.........สักอย่าง"

บางครั้งเราอาจจะต้องยึดสัมมาในบางช่วง เพื่อก้าวพ้นจากมิจฉาที่รุมร้าว
แต่กระนั้น ก็คงไม่ใช่เรื่องที่ เราจะขังจิตเอาไว้แต่ในแดนสัมมา

สัมมา-มิจฉา ... บางทีมันอาจจะไม่ใช่ทั้งสองที่จะเป็นที่อันเป็นไปของจิตจริง ๆ

บางครั้งก็เลยก็ได้แต่ดูมันอยู่เงียบ ๆ ทำความรู้กับมันไป

:b1:

ซึ่งการเงียบ บางครั้งมันก็เป็นอารมณ์ที่เป็นมิตรกับเรา
เพราะ เราแค่ทำความรู้สึกตัวอยู่ แต่ยังไม่ได้เข้าไปให้ค่ากับมัน

:b1:



สาธุ ท่านเอกอนพูดถูกดีแล้วล่ะครับ :b8: :b8: :b8: (ผมเองยังเข้าไม่ถึงระดับท่านเลยนะนี่ยังห่างไกลยิ่งนัก)

อุปมาเหมือนความหมกมุ่น กับ ความเพียร หรือ.. คนบ้า กับ อัจฉริยะ มันต่างกันแค่พลิกฝ่ามือ คือ..
- อันนึงระลึกไม่ได้ ยั้งคิดไม่ได้ ใจลอย หรือไม่มีความสงบ
- อันนึงระลึกได้ ยับยั้งแยกแยะพิจารณาได้ อย่างสงบตั้งมั่น

การอยู่ระหว่างของ 2 อย่างนี้ เราก็มองเห็นทั้ง 2 ฝั่ง เมื่อกำหนดรู้ ก็จะเห็นสิ่งที่ควรเสพย์ และไม่ควรเสพย์เอง แต่ทว่าจะสามารถพยุงตนในสิ่งที่ถูก ดี ควร ได้มากน้อยแค่ไหน ก็อยู่ที่ใจเราสะสมอบรมจิตในความดีมาพอแล้วหรือยัง

ความดีกับความชั่วต่างกันที่ อันหนึ่งมันเบาเย็นใจไม่เร่าร้อน จิตหนักแน่นมีกำลังฉลาดในการปล่อยวาง แต่อีกอันมันหน่วงตรึง กดข่ม บีบใจให้อ่อแอไม่มีกำลังหวั่นไหวง่าย ไหลพล่านไปตามทุกอย่างที่ตนรับรู้

โดยส่วนตัวผมก็เลยเห็นว่า หากยังเป็นคนดีไม่ได้ ก็ไม่มีทางจะถึงธรรมสูง เพราะต่อให้ท่องครบพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ รู้ครบ 84,000 พระธรรมขันธ์ หมกมุ่นปฏิบัติให้ตาย เขาก็ยังเป็นคนขั่วเหมือนเดิม และไม่รู้สิ่งใดของจริง เพราะพระพุทธศาสนาทำที่ใจเป็นหลัก

ดังนั้นเมื่อตราบที่ยังเข้าไม่ถึงถูกตรงทั้ง กาย วาจา ใจ ก็วางใจไว้กลางๆ สบายๆ ไม่หมกมุ่น แต่ไม่ละเลย รู้ประมาณตน รู้พอดีมันก็เพียงพอแล้ว เหมือนที่ท่านเอกอนกล่าวไว้ข้างต้นนั้นแหละครับ
(เพราะเราแค่ฆราวาส ปุถุชน ..มีแต่คนไม่ถึงธรรมแต่บ้าอัตตาธรรมเท่านั้นแหละฟุ้งซ่านผิดถูก นี่สูง นั่นต่ำ นี่ใช่ นั่นผิด ทั้งๆที่ตนไม่เคยรู้เห็นอะไรแท้จริงเลย)

โดยความเห็นจากปัญญาที่ยังไม่ถึงเศษฝุ่นติดพระบาทของพระพุทธศาสดาและพระอริยะสาวกอย่างผม ในทางสัมมานั้นผมเห็นว่า
- การชื่นชอบความดี เป็นเหตุให้เจริญทาน และศีล
- การชื่นขอบความดี ทำให้ใจดำรงมั่นในทาน และศีล
- การดำรงมั่นในความดี เป็นเหตุให้ดำรงมั่นใน ทาน และศีลอยู่ทุกเมื่อ
- การดำรงมั่นในความดี อันประกอบด้วยทานและศีล ทำให้เกิดความเอาใจใส่ในความดี
- การเอาใจใส่ในความดี ทำให้เกิดความคิดถึงแต่สิ่งที่ดี คงความดีไว้ รักษาความดีไว้ไม่ให้เสื่อมด้วยดี
- การคงไว้ซึ่งความดี ทำให้เรารับรู้ถึงผลของความดีแต่ละอย่าง แยกต่างหากจากการทำชั่ว เห็นผลสืบต่อของการกระทำความดี เมื่อพิจารณาเห็นย่อมเกิดความรู้แยกแยะความสืบต่อของการกระทำทั้งดีและชั่ว เช่นว่า.. การทำชั่วแม้น้อยนิดก็ยังใจให้เร่าร้อน การทำดีแม้ไม่เห็นผลแต่ก็ทำให้เราไปอยู่ที่ได้ก็เย็นกายสบายใจไม่เร่าร้อน ไม่หวากดกลัว ไม่หวาดระแวง ไม่ต้องหลบซ่อนหลีกเร้น
- เมื่อสอดส่องพิจารณาดีแล้วอย่างนี้เป็นต้น ย่อมเกิดเป็นความเห็น ระลึกรู้พิจารณาแยกแยะดีชั่ว มีหิริพละ โอตตัปปะพละ มีใจน้อมลงสู่การสะสมเหตุในมรรคแบบสาสวะไปจนถึงการอบรมจิตให้ถึงมรรคแบบอนาสวะได้อย่างมั่นคงไม่หวั่นไหว

- ดังนั้นผมจึงเห็นว่าตราบใดที่ยังปุถุชนอยู่ ไม่ควรก้าวล่วงกรรมใคร กรรมแม้น้อยนิดก็ให้ผล บางคนในเวบนี้คงเคยรับรู้ได้แล้ว
- ตราบที่ใจตนยังชั่ว วาจายังชั่ว กายยังชั่ว ก็ไม่ควรมาพร่ำเพ้อโอ้อวด เรื่องพร่ำเพ้อโอ้อวดมันเป็นเรื่องของโลก เพราะความเป็นโลกนี้คนจะดำรงอยู่ด้วยกิเลสตัณหา เป็นสันดานปุถุชนแบบโลกๆเขาทำกัน แค่เพียงกล่าวอ้างธรรมของพระพุทธเจ้ามาเท่านั้น แทนที่จะทำให้พระธรรมสูงค่ากลับยิ่งทำให้เสื่อมเพราะตน เพราะคนอื่นย่อมเห็นว่าการศึกษาธรรมแล้วเป็นแบบคนสันดารปุถุชนเหล่านั้นทำ
- ส่วนโลกุตระเป็นเรื่องของพระอริยะผู้ตัดละสมมติกิเลสของปลอมได้แล้ว ท่านไม่เอาอารมณ์ทางโลกมาปะปน ท่านไม่โม้ธรรมสูง ท่านอยู่กับโลกได้อย่างปรกติ เพราะไม่บ้า ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงธรรม แต่เข้าถึงธรรมแล้วนั่นเอง




เพราะคุณแค่อากาศ ยังคงบ้าน้ำลายเละเทะ
เรยบอดจากไตรลักษณ์

เห็นกล่าวว่ายังไม่เข้าถึงระดับพี่เอกอน ยังห่างไกล
ยังไม่ถึงแบบพี่เอกอนอีก ต๊ายตาย

ก็ ลองให้พี่เอกอน กล่าวถึงเมดูนะคะ
ว่าจะว่ายังไง

ก็อยากรู้จากใจจริง จากคำสารภาพ ของ พี่เอกอนเหมือนกาน

คริคริ

tongue


ที่ไหนมีแค่อากาศ ที่นั่นมีเม เมกับแค่อากาศเป็นแฟนกัน :b32: :b32: :b32:

เม หยาบคาย ก้าวร้าว หลู่คุณท่าน อวดโม้
แค่อากาศ สุภาพชน ถ่อมตน เป็นมิตร ถนอมน้ำใจ ใฝ่รู้

เนื้อคู่จริงๆ แต่เวลาอยู่กัน 2 คนนี่ เรียกที่รักจ๋าๆนะ :b32: :b32: :b32:

ถ้ามองในมุมดีๆมันก็ดีนะ ทำให้คนแยกออกได้ระหว่าง รู้บ้างไม่รู้บ้าง แต่ไม่ถือตน กับ รู้บ้างไม่รู้บ้างแต่ถือตน อันนี้ช่วยให้หลายๆคนเห็นแล้วเลือกที่ละมานะทิฏฐิได้นะ

ดังนั้นเมกับอากาศจึงคู่กัน ที่ไหนมีแค่อากาศที่นั่นมีเม :b18: :b18: :b18:


คริคริ

เสียใจด้วยอ่ะค่ะ คนสวยเลือกได้

อากาศ มีเป็นแสนโกฎโลกธาตุ มากมาย

แต่อวกาศบริสุทธิ์กว่า เพราะ ไมมีอากาศ

และนิพพาน ไม่มีอากาศห่วยๆ แบบนี้

smiley

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 มี.ค. 2019, 13:39 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

eragon_joe เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
eragon_joe เขียน:
:b32: :b32: :b32:

หาโอกาสเข้ามาแทรกไม่ได้เลย...

:b32: :b32: :b32:


กับเรื่อง มิจฉา หรือ สัมมา เอกอนยังไม่มีความเห็นใด ๆ
เพราะ ความรู้สึกเอกอน ไม่ได้น้อมไปในทั้ง 2 ฝั่งอย่าง เต็มที่

ซึ่งบางครั้ง เอกอนก็บอกไม่ได้ ว่า ผู้ปฏิบัติจะต้องทรงตัวอยู่ในแต่เขตแดนแห่งสัมมาอย่างเดียวหรือไม่
ในวันที่ ความรู้ทางธรรมครุกกรุ่นในใจ วิริยะอาจหาญในธรรมมันอัดแน่น
เขตแดนแห่งสัมมาก็ปรากฏชัดเจนให้เราทรงตัวอยู่ในเขตแดน
อันเป็นหนทางที่เราเข้าใจว่าเป็น สัมมาทิฎฐิ และจิตก็ตั้งมั่น ยึดไว้ ประคองไว้ ทรงไว้

แต่เมื่อบางครั้งที่ภาระงานทางโลกเยอะ
ก็ทำให้เอกอน ห่างเหิน และ ได้คลายการยึดในเขตแดนอันเป็นที่หมายทางธรรมที่เคยเข้าใจว่าเป็นสัมมา
ซึ่งเมื่อเกิดการคลายความยึด บางครั้งเราก็จะเห็นตัวเราในช่วงวันเวลาเหล่านั้น

...ว่าเราหลงในธรรมอันเป็นสัมมา...

:b1:

การย่างก้าวในเขตแดนที่ โลภะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ก็เป็นการย่างก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ

ซึ่งการย่างก้าวในเขตแดนแห่งสัมมา ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นกัน

และการย่างก้าวที่คลายออกจาก ทั้ง 2 ด้าน ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นเดียวกันอีกนั่นล่ะ


:b1:

ซึ่งบางครั้งเราก็ยังตัดสินใจอะไรกับมันไม่ออกหรอก

มันเหมือนราวกับว่า "มันไม่ได้มีอะไร.........สักอย่าง"

บางครั้งเราอาจจะต้องยึดสัมมาในบางช่วง เพื่อก้าวพ้นจากมิจฉาที่รุมร้าว
แต่กระนั้น ก็คงไม่ใช่เรื่องที่ เราจะขังจิตเอาไว้แต่ในแดนสัมมา

สัมมา-มิจฉา ... บางทีมันอาจจะไม่ใช่ทั้งสองที่จะเป็นที่อันเป็นไปของจิตจริง ๆ

บางครั้งก็เลยก็ได้แต่ดูมันอยู่เงียบ ๆ ทำความรู้กับมันไป

:b1:

ซึ่งการเงียบ บางครั้งมันก็เป็นอารมณ์ที่เป็นมิตรกับเรา
เพราะ เราแค่ทำความรู้สึกตัวอยู่ แต่ยังไม่ได้เข้าไปให้ค่ากับมัน

:b1:



สาธุ ท่านเอกอนพูดถูกดีแล้วล่ะครับ :b8: :b8: :b8: (ผมเองยังเข้าไม่ถึงระดับท่านเลยนะนี่ยังห่างไกลยิ่งนัก)

อุปมาเหมือนความหมกมุ่น กับ ความเพียร หรือ.. คนบ้า กับ อัจฉริยะ มันต่างกันแค่พลิกฝ่ามือ คือ..
- อันนึงระลึกไม่ได้ ยั้งคิดไม่ได้ ใจลอย หรือไม่มีความสงบ
- อันนึงระลึกได้ ยับยั้งแยกแยะพิจารณาได้ อย่างสงบตั้งมั่น

การอยู่ระหว่างของ 2 อย่างนี้ เราก็มองเห็นทั้ง 2 ฝั่ง เมื่อกำหนดรู้ ก็จะเห็นสิ่งที่ควรเสพย์ และไม่ควรเสพย์เอง แต่ทว่าจะสามารถพยุงตนในสิ่งที่ถูก ดี ควร ได้มากน้อยแค่ไหน ก็อยู่ที่ใจเราสะสมอบรมจิตในความดีมาพอแล้วหรือยัง

ความดีกับความชั่วต่างกันที่ อันหนึ่งมันเบาเย็นใจไม่เร่าร้อน จิตหนักแน่นมีกำลังฉลาดในการปล่อยวาง แต่อีกอันมันหน่วงตรึง กดข่ม บีบใจให้อ่อแอไม่มีกำลังหวั่นไหวง่าย ไหลพล่านไปตามทุกอย่างที่ตนรับรู้

โดยส่วนตัวผมก็เลยเห็นว่า หากยังเป็นคนดีไม่ได้ ก็ไม่มีทางจะถึงธรรมสูง เพราะต่อให้ท่องครบพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ รู้ครบ 84,000 พระธรรมขันธ์ หมกมุ่นปฏิบัติให้ตาย เขาก็ยังเป็นคนขั่วเหมือนเดิม และไม่รู้สิ่งใดของจริง เพราะพระพุทธศาสนาทำที่ใจเป็นหลัก

ดังนั้นเมื่อตราบที่ยังเข้าไม่ถึงถูกตรงทั้ง กาย วาจา ใจ ก็วางใจไว้กลางๆ สบายๆ ไม่หมกมุ่น แต่ไม่ละเลย รู้ประมาณตน รู้พอดีมันก็เพียงพอแล้ว เหมือนที่ท่านเอกอนกล่าวไว้ข้างต้นนั้นแหละครับ
(เพราะเราแค่ฆราวาส ปุถุชน ..มีแต่คนไม่ถึงธรรมแต่บ้าอัตตาธรรมเท่านั้นแหละฟุ้งซ่านผิดถูก นี่สูง นั่นต่ำ นี่ใช่ นั่นผิด ทั้งๆที่ตนไม่เคยรู้เห็นอะไรแท้จริงเลย)

โดยความเห็นจากปัญญาที่ยังไม่ถึงเศษฝุ่นติดพระบาทของพระพุทธศาสดาและพระอริยะสาวกอย่างผม ในทางสัมมานั้นผมเห็นว่า
- การชื่นชอบความดี เป็นเหตุให้เจริญทาน และศีล
- การชื่นขอบความดี ทำให้ใจดำรงมั่นในทาน และศีล
- การดำรงมั่นในความดี เป็นเหตุให้ดำรงมั่นใน ทาน และศีลอยู่ทุกเมื่อ
- การดำรงมั่นในความดี อันประกอบด้วยทานและศีล ทำให้เกิดความเอาใจใส่ในความดี
- การเอาใจใส่ในความดี ทำให้เกิดความคิดถึงแต่สิ่งที่ดี คงความดีไว้ รักษาความดีไว้ไม่ให้เสื่อมด้วยดี
- การคงไว้ซึ่งความดี ทำให้เรารับรู้ถึงผลของความดีแต่ละอย่าง แยกต่างหากจากการทำชั่ว เห็นผลสืบต่อของการกระทำความดี เมื่อพิจารณาเห็นย่อมเกิดความรู้แยกแยะความสืบต่อของการกระทำทั้งดีและชั่ว เช่นว่า.. การทำชั่วแม้น้อยนิดก็ยังใจให้เร่าร้อน การทำดีแม้ไม่เห็นผลแต่ก็ทำให้เราไปอยู่ที่ได้ก็เย็นกายสบายใจไม่เร่าร้อน ไม่หวากดกลัว ไม่หวาดระแวง ไม่ต้องหลบซ่อนหลีกเร้น
- เมื่อสอดส่องพิจารณาดีแล้วอย่างนี้เป็นต้น ย่อมเกิดเป็นความเห็น ระลึกรู้พิจารณาแยกแยะดีชั่ว มีหิริพละ โอตตัปปะพละ มีใจน้อมลงสู่การสะสมเหตุในมรรคแบบสาสวะไปจนถึงการอบรมจิตให้ถึงมรรคแบบอนาสวะได้อย่างมั่นคงไม่หวั่นไหว

- ดังนั้นผมจึงเห็นว่าตราบใดที่ยังปุถุชนอยู่ ไม่ควรก้าวล่วงกรรมใคร กรรมแม้น้อยนิดก็ให้ผล บางคนในเวบนี้คงเคยรับรู้ได้แล้ว
- ตราบที่ใจตนยังชั่ว วาจายังชั่ว กายยังชั่ว ก็ไม่ควรมาพร่ำเพ้อโอ้อวด เรื่องพร่ำเพ้อโอ้อวดมันเป็นเรื่องของโลก เพราะความเป็นโลกนี้คนจะดำรงอยู่ด้วยกิเลสตัณหา เป็นสันดานปุถุชนแบบโลกๆเขาทำกัน แค่เพียงกล่าวอ้างธรรมของพระพุทธเจ้ามาเท่านั้น แทนที่จะทำให้พระธรรมสูงค่ากลับยิ่งทำให้เสื่อมเพราะตน เพราะคนอื่นย่อมเห็นว่าการศึกษาธรรมแล้วเป็นแบบคนสันดารปุถุชนเหล่านั้นทำ
- ส่วนโลกุตระเป็นเรื่องของพระอริยะผู้ตัดละสมมติกิเลสของปลอมได้แล้ว ท่านไม่เอาอารมณ์ทางโลกมาปะปน ท่านไม่โม้ธรรมสูง ท่านอยู่กับโลกได้อย่างปรกติ เพราะไม่บ้า ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงธรรม แต่เข้าถึงธรรมแล้วนั่นเอง




เพราะคุณแค่อากาศ ยังคงบ้าน้ำลายเละเทะ
เรยบอดจากไตรลักษณ์

เห็นกล่าวว่ายังไม่เข้าถึงระดับพี่เอกอน ยังห่างไกล
ยังไม่ถึงแบบพี่เอกอนอีก ต๊ายตาย

ก็ ลองให้พี่เอกอน กล่าวถึงเมดูนะคะ
ว่าจะว่ายังไง

ก็อยากรู้จากใจจริง จากคำสารภาพ ของ พี่เอกอนเหมือนกาน

คริคริ

tongue


:b1: :b16:

จริง ๆ พี่เอกอนเคยพูดไปแล้ว แต่คงไม่มีใครเอะใจ

ซึ่งเรื่องราวความรู้สึกที่พี่เอกอนมีต่อน้องเม พูดไปก็คงเป็นเรื่องยากที่ใคร ๆ จะเข้าใจ

จริง ๆ ก็คิดจะเกริ่น ๆ ในเรื่องนี้อยู่เหมือนกัน แต่ยังไม่ทันได้ทำ
น้องเมก็มาทักซะก่อน ... :b1:

น้องเม เป็น แดจาวู สำหรับพี่เอกอน

:b1:


เป็นสิ่งมหัศจรรย์ในสมองพี่หราค๊ะ
แค่คนทั่วไปยากที่ใครจะมารู้ค่า

เดียวเม ให้หวยเรย

เลข 0 คือความมหัศจรรย์
สัตตาวาส มี 9
เมื่อเอา 0 มาต่อ มาเกิดร่วมกะตน

คนเหล่านั้น ก็ทวีค่าขึ้นไป 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100000000000000000

แต่ไม่รู้จักเม
คริคริ

tongue

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 20 มี.ค. 2019, 14:35 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
eragon_joe เขียน:
:b32: :b32: :b32:

หาโอกาสเข้ามาแทรกไม่ได้เลย...

:b32: :b32: :b32:


กับเรื่อง มิจฉา หรือ สัมมา เอกอนยังไม่มีความเห็นใด ๆ
เพราะ ความรู้สึกเอกอน ไม่ได้น้อมไปในทั้ง 2 ฝั่งอย่าง เต็มที่

ซึ่งบางครั้ง เอกอนก็บอกไม่ได้ ว่า ผู้ปฏิบัติจะต้องทรงตัวอยู่ในแต่เขตแดนแห่งสัมมาอย่างเดียวหรือไม่
ในวันที่ ความรู้ทางธรรมครุกกรุ่นในใจ วิริยะอาจหาญในธรรมมันอัดแน่น
เขตแดนแห่งสัมมาก็ปรากฏชัดเจนให้เราทรงตัวอยู่ในเขตแดน
อันเป็นหนทางที่เราเข้าใจว่าเป็น สัมมาทิฎฐิ และจิตก็ตั้งมั่น ยึดไว้ ประคองไว้ ทรงไว้

แต่เมื่อบางครั้งที่ภาระงานทางโลกเยอะ
ก็ทำให้เอกอน ห่างเหิน และ ได้คลายการยึดในเขตแดนอันเป็นที่หมายทางธรรมที่เคยเข้าใจว่าเป็นสัมมา
ซึ่งเมื่อเกิดการคลายความยึด บางครั้งเราก็จะเห็นตัวเราในช่วงวันเวลาเหล่านั้น

...ว่าเราหลงในธรรมอันเป็นสัมมา...

:b1:

การย่างก้าวในเขตแดนที่ โลภะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ก็เป็นการย่างก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ

ซึ่งการย่างก้าวในเขตแดนแห่งสัมมา ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นกัน

และการย่างก้าวที่คลายออกจาก ทั้ง 2 ด้าน ก็เป็นย่างก้าวที่เราก็ก้าวไปพร้อมกับอารมณ์หนึ่ง ๆ เช่นเดียวกันอีกนั่นล่ะ


:b1:

ซึ่งบางครั้งเราก็ยังตัดสินใจอะไรกับมันไม่ออกหรอก

มันเหมือนราวกับว่า "มันไม่ได้มีอะไร.........สักอย่าง"

บางครั้งเราอาจจะต้องยึดสัมมาในบางช่วง เพื่อก้าวพ้นจากมิจฉาที่รุมร้าว
แต่กระนั้น ก็คงไม่ใช่เรื่องที่ เราจะขังจิตเอาไว้แต่ในแดนสัมมา

สัมมา-มิจฉา ... บางทีมันอาจจะไม่ใช่ทั้งสองที่จะเป็นที่อันเป็นไปของจิตจริง ๆ

บางครั้งก็เลยก็ได้แต่ดูมันอยู่เงียบ ๆ ทำความรู้กับมันไป

:b1:

ซึ่งการเงียบ บางครั้งมันก็เป็นอารมณ์ที่เป็นมิตรกับเรา
เพราะ เราแค่ทำความรู้สึกตัวอยู่ แต่ยังไม่ได้เข้าไปให้ค่ากับมัน

:b1:



สาธุ ท่านเอกอนพูดถูกดีแล้วล่ะครับ :b8: :b8: :b8: (ผมเองยังเข้าไม่ถึงระดับท่านเลยนะนี่ยังห่างไกลยิ่งนัก)

อุปมาเหมือนความหมกมุ่น กับ ความเพียร หรือ.. คนบ้า กับ อัจฉริยะ มันต่างกันแค่พลิกฝ่ามือ คือ..
- อันนึงระลึกไม่ได้ ยั้งคิดไม่ได้ ใจลอย หรือไม่มีความสงบ
- อันนึงระลึกได้ ยับยั้งแยกแยะพิจารณาได้ อย่างสงบตั้งมั่น

การอยู่ระหว่างของ 2 อย่างนี้ เราก็มองเห็นทั้ง 2 ฝั่ง เมื่อกำหนดรู้ ก็จะเห็นสิ่งที่ควรเสพย์ และไม่ควรเสพย์เอง แต่ทว่าจะสามารถพยุงตนในสิ่งที่ถูก ดี ควร ได้มากน้อยแค่ไหน ก็อยู่ที่ใจเราสะสมอบรมจิตในความดีมาพอแล้วหรือยัง

ความดีกับความชั่วต่างกันที่ อันหนึ่งมันเบาเย็นใจไม่เร่าร้อน จิตหนักแน่นมีกำลังฉลาดในการปล่อยวาง แต่อีกอันมันหน่วงตรึง กดข่ม บีบใจให้อ่อแอไม่มีกำลังหวั่นไหวง่าย ไหลพล่านไปตามทุกอย่างที่ตนรับรู้

โดยส่วนตัวผมก็เลยเห็นว่า หากยังเป็นคนดีไม่ได้ ก็ไม่มีทางจะถึงธรรมสูง เพราะต่อให้ท่องครบพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ รู้ครบ 84,000 พระธรรมขันธ์ หมกมุ่นปฏิบัติให้ตาย เขาก็ยังเป็นคนขั่วเหมือนเดิม และไม่รู้สิ่งใดของจริง เพราะพระพุทธศาสนาทำที่ใจเป็นหลัก

ดังนั้นเมื่อตราบที่ยังเข้าไม่ถึงถูกตรงทั้ง กาย วาจา ใจ ก็วางใจไว้กลางๆ สบายๆ ไม่หมกมุ่น แต่ไม่ละเลย รู้ประมาณตน รู้พอดีมันก็เพียงพอแล้ว เหมือนที่ท่านเอกอนกล่าวไว้ข้างต้นนั้นแหละครับ
(เพราะเราแค่ฆราวาส ปุถุชน ..มีแต่คนไม่ถึงธรรมแต่บ้าอัตตาธรรมเท่านั้นแหละฟุ้งซ่านผิดถูก นี่สูง นั่นต่ำ นี่ใช่ นั่นผิด ทั้งๆที่ตนไม่เคยรู้เห็นอะไรแท้จริงเลย)

โดยความเห็นจากปัญญาที่ยังไม่ถึงเศษฝุ่นติดพระบาทของพระพุทธศาสดาและพระอริยะสาวกอย่างผม ในทางสัมมานั้นผมเห็นว่า
- การชื่นชอบความดี เป็นเหตุให้เจริญทาน และศีล
- การชื่นขอบความดี ทำให้ใจดำรงมั่นในทาน และศีล
- การดำรงมั่นในความดี เป็นเหตุให้ดำรงมั่นใน ทาน และศีลอยู่ทุกเมื่อ
- การดำรงมั่นในความดี อันประกอบด้วยทานและศีล ทำให้เกิดความเอาใจใส่ในความดี
- การเอาใจใส่ในความดี ทำให้เกิดความคิดถึงแต่สิ่งที่ดี คงความดีไว้ รักษาความดีไว้ไม่ให้เสื่อมด้วยดี
- การคงไว้ซึ่งความดี ทำให้เรารับรู้ถึงผลของความดีแต่ละอย่าง แยกต่างหากจากการทำชั่ว เห็นผลสืบต่อของการกระทำความดี เมื่อพิจารณาเห็นย่อมเกิดความรู้แยกแยะความสืบต่อของการกระทำทั้งดีและชั่ว เช่นว่า.. การทำชั่วแม้น้อยนิดก็ยังใจให้เร่าร้อน การทำดีแม้ไม่เห็นผลแต่ก็ทำให้เราไปอยู่ที่ได้ก็เย็นกายสบายใจไม่เร่าร้อน ไม่หวากดกลัว ไม่หวาดระแวง ไม่ต้องหลบซ่อนหลีกเร้น
- เมื่อสอดส่องพิจารณาดีแล้วอย่างนี้เป็นต้น ย่อมเกิดเป็นความเห็น ระลึกรู้พิจารณาแยกแยะดีชั่ว มีหิริพละ โอตตัปปะพละ มีใจน้อมลงสู่การสะสมเหตุในมรรคแบบสาสวะไปจนถึงการอบรมจิตให้ถึงมรรคแบบอนาสวะได้อย่างมั่นคงไม่หวั่นไหว

- ดังนั้นผมจึงเห็นว่าตราบใดที่ยังปุถุชนอยู่ ไม่ควรก้าวล่วงกรรมใคร กรรมแม้น้อยนิดก็ให้ผล บางคนในเวบนี้คงเคยรับรู้ได้แล้ว
- ตราบที่ใจตนยังชั่ว วาจายังชั่ว กายยังชั่ว ก็ไม่ควรมาพร่ำเพ้อโอ้อวด เรื่องพร่ำเพ้อโอ้อวดมันเป็นเรื่องของโลก เพราะความเป็นโลกนี้คนจะดำรงอยู่ด้วยกิเลสตัณหา เป็นสันดานปุถุชนแบบโลกๆเขาทำกัน แค่เพียงกล่าวอ้างธรรมของพระพุทธเจ้ามาเท่านั้น แทนที่จะทำให้พระธรรมสูงค่ากลับยิ่งทำให้เสื่อมเพราะตน เพราะคนอื่นย่อมเห็นว่าการศึกษาธรรมแล้วเป็นแบบคนสันดารปุถุชนเหล่านั้นทำ
- ส่วนโลกุตระเป็นเรื่องของพระอริยะผู้ตัดละสมมติกิเลสของปลอมได้แล้ว ท่านไม่เอาอารมณ์ทางโลกมาปะปน ท่านไม่โม้ธรรมสูง ท่านอยู่กับโลกได้อย่างปรกติ เพราะไม่บ้า ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงธรรม แต่เข้าถึงธรรมแล้วนั่นเอง




เพราะคุณแค่อากาศ ยังคงบ้าน้ำลายเละเทะ
เรยบอดจากไตรลักษณ์

เห็นกล่าวว่ายังไม่เข้าถึงระดับพี่เอกอน ยังห่างไกล
ยังไม่ถึงแบบพี่เอกอนอีก ต๊ายตาย

ก็ ลองให้พี่เอกอน กล่าวถึงเมดูนะคะ
ว่าจะว่ายังไง

ก็อยากรู้จากใจจริง จากคำสารภาพ ของ พี่เอกอนเหมือนกาน

คริคริ

tongue


ที่ไหนมีแค่อากาศ ที่นั่นมีเม เมกับแค่อากาศเป็นแฟนกัน :b32: :b32: :b32:

เม หยาบคาย ก้าวร้าว หลู่คุณท่าน อวดโม้
แค่อากาศ สุภาพชน ถ่อมตน เป็นมิตร ถนอมน้ำใจ ใฝ่รู้

เนื้อคู่จริงๆ แต่เวลาอยู่กัน 2 คนนี่ เรียกที่รักจ๋าๆนะ :b32: :b32: :b32:

ถ้ามองในมุมดีๆมันก็ดีนะ ทำให้คนแยกออกได้ระหว่าง รู้บ้างไม่รู้บ้าง แต่ไม่ถือตน กับ รู้บ้างไม่รู้บ้างแต่ถือตน อันนี้ช่วยให้หลายๆคนเห็นแล้วเลือกที่ละมานะทิฏฐิได้นะ

ดังนั้นเมกับอากาศจึงคู่กัน ที่ไหนมีแค่อากาศที่นั่นมีเม :b18: :b18: :b18:


คริคริ

เสียใจด้วยอ่ะค่ะ คนสวยเลือกได้

อากาศ มีเป็นแสนโกฎโลกธาตุ มากมาย

แต่อวกาศบริสุทธิ์กว่า เพราะ ไมมีอากาศ

และนิพพาน ไม่มีอากาศห่วยๆ แบบนี้

smiley



นี่แหละจุดเริ่มต้นของความรัก :b32: :b32: :b32: :b15: :b15: :b15:

เจ้าของ:  eragon_joe [ 20 มี.ค. 2019, 14:38 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

แค่อากาศ เขียน:

นี่แหละจุดเริ่มต้นของความรัก :b32: :b32: :b32: :b15: :b15: :b15:


แต่เท่าที่เอกอนรู้ (รู้สึก)
น้องเมเป็นฝ่ายเลือกได้น่ะ... :b32:

เช่นว่า ถ้าน้องเมจะไม่คุยกับเอกอน
ไม่ใช่เอกอนพอใจที่จะเลือกคุยหรือเลือกไม่คุยนะ
น้องเม เลือกได้ จร้าาาาาา

:b12:

ซึ่งถ้าหากว่าน้องเมคุยด้วย (หรือคนในกลุ่มน้องเมคุยด้วย) จงให้เข้าใจว่า จงอุ่นใจ

:b1: :b1: :b1:

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 มี.ค. 2019, 14:57 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:

นี่แหละจุดเริ่มต้นของความรัก :b32: :b32: :b32: :b15: :b15: :b15:


แต่เท่าที่เอกอนรู้ (รู้สึก)
น้องเมเป็นฝ่ายเลือกได้น่ะ... :b32:

เช่นว่า ถ้าน้องเมจะไม่คุยกับเอกอน
ไม่ใช่เอกอนพอใจที่จะเลือกคุยหรือเลือกไม่คุยนะ
น้องเม เลือกได้ จร้าาาาาา

:b12:

ซึ่งถ้าหากว่าน้องเมคุยด้วย (หรือคนในกลุ่มน้องเมคุยด้วย) จงให้เข้าใจว่า จงอุ่นใจ

:b1: :b1: :b1:


อร๊าย ที่นานๆมาคุยกะพี่เอกอน

ก็ไม่อยากทำให้พี่เอกอน อุ่นใจไงคะ
จะอุ่นเครื่องไว้ทำมัน ไม่ต้องอุ่นเครื่องแระ ให้ดับเครื่องเรยดีกว่า

เดี๋ยวเพิ่มฝุ่น 2.5 ในคุณแค่อากาศอีก เพราะเค้ามีแต่ปั่นป่วนหัวใจ

คริคริ
tongue

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 มี.ค. 2019, 15:19 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โลกสวย เขียน:
eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:

นี่แหละจุดเริ่มต้นของความรัก :b32: :b32: :b32: :b15: :b15: :b15:


แต่เท่าที่เอกอนรู้ (รู้สึก)
น้องเมเป็นฝ่ายเลือกได้น่ะ... :b32:

เช่นว่า ถ้าน้องเมจะไม่คุยกับเอกอน
ไม่ใช่เอกอนพอใจที่จะเลือกคุยหรือเลือกไม่คุยนะ
น้องเม เลือกได้ จร้าาาาาา

:b12:

ซึ่งถ้าหากว่าน้องเมคุยด้วย (หรือคนในกลุ่มน้องเมคุยด้วย) จงให้เข้าใจว่า จงอุ่นใจ

:b1: :b1: :b1:


อร๊าย ที่นานๆมาคุยกะพี่เอกอน

ก็ไม่อยากทำให้พี่เอกอน อุ่นใจไงคะ
จะอุ่นเครื่องไว้ทำมัน ไม่ต้องอุ่นเครื่องแระ ให้ดับเครื่องเรยดีกว่า

เดี๋ยวเพิ่มฝุ่น 2.5 ในคุณแค่อากาศอีก เพราะเค้ามีแต่ปั่นป่วนหัวใจ

คริคริ
tongue


อ่อ เม จะไปหลายวันน๊า ใครที่เมลืมไม่ได้บอกทางจม. ก็ฝากบอกผ่านทางพี่เอกอนนี้แหละ

ว่าเมจาไม่อยู่น๊าคร๊า ไม่ได้เข้ามา

มองเงยให้สูง 100 เปอร์เซนต์
มองหัวต่ำ 100 เปอร์เซนต์
มองไปรอบๆ

แล้วจะรู้เอง ว่า จะยืนจุดไหน เพื่อมองปรากฎการณ์ทั้งหลาย
ด้วยความไม่เคลื่อนค่ะ

ไปหลายวันน๊ะค๊ะ

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 20 มี.ค. 2019, 20:47 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โลกสวย เขียน:
eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:

นี่แหละจุดเริ่มต้นของความรัก :b32: :b32: :b32: :b15: :b15: :b15:


แต่เท่าที่เอกอนรู้ (รู้สึก)
น้องเมเป็นฝ่ายเลือกได้น่ะ... :b32:

เช่นว่า ถ้าน้องเมจะไม่คุยกับเอกอน
ไม่ใช่เอกอนพอใจที่จะเลือกคุยหรือเลือกไม่คุยนะ
น้องเม เลือกได้ จร้าาาาาา

:b12:

ซึ่งถ้าหากว่าน้องเมคุยด้วย (หรือคนในกลุ่มน้องเมคุยด้วย) จงให้เข้าใจว่า จงอุ่นใจ

:b1: :b1: :b1:


อร๊าย ที่นานๆมาคุยกะพี่เอกอน

ก็ไม่อยากทำให้พี่เอกอน อุ่นใจไงคะ
จะอุ่นเครื่องไว้ทำมัน ไม่ต้องอุ่นเครื่องแระ ให้ดับเครื่องเรยดีกว่า

เดี๋ยวเพิ่มฝุ่น 2.5 ในคุณแค่อากาศอีก เพราะเค้ามีแต่ปั่นป่วนหัวใจ

คริคริ
tongue


ไปดี มาดี ล้างขันธ์ให้เยอะๆ แล้วลองค้นใจดูอาจจะเจอพี่อยู่ในนั้น :b15: :b15: :b15: อิอิ

เจ้าของ:  โลกสวย [ 20 มี.ค. 2019, 23:03 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:

นี่แหละจุดเริ่มต้นของความรัก :b32: :b32: :b32: :b15: :b15: :b15:


แต่เท่าที่เอกอนรู้ (รู้สึก)
น้องเมเป็นฝ่ายเลือกได้น่ะ... :b32:

เช่นว่า ถ้าน้องเมจะไม่คุยกับเอกอน
ไม่ใช่เอกอนพอใจที่จะเลือกคุยหรือเลือกไม่คุยนะ
น้องเม เลือกได้ จร้าาาาาา

:b12:

ซึ่งถ้าหากว่าน้องเมคุยด้วย (หรือคนในกลุ่มน้องเมคุยด้วย) จงให้เข้าใจว่า จงอุ่นใจ

:b1: :b1: :b1:


อร๊าย ที่นานๆมาคุยกะพี่เอกอน

ก็ไม่อยากทำให้พี่เอกอน อุ่นใจไงคะ
จะอุ่นเครื่องไว้ทำมัน ไม่ต้องอุ่นเครื่องแระ ให้ดับเครื่องเรยดีกว่า

เดี๋ยวเพิ่มฝุ่น 2.5 ในคุณแค่อากาศอีก เพราะเค้ามีแต่ปั่นป่วนหัวใจ

คริคริ
tongue


ไปดี มาดี ล้างขันธ์ให้เยอะๆ แล้วลองค้นใจดูอาจจะเจอพี่อยู่ในนั้น :b15: :b15: :b15: อิอิ


555


บอกแล้วว่า แค่อวกาศ ก็ไม่มีอากาศแล้ว
ในอวกาศ มีแต่ หินก้อนโตๆ แบบพระอาทิตย์ ดวงจันทร์
และ นกที่บินอพยพข้ามดวงดาว


ขันธ์วิมุติ ไม่มีหรอก อากาศ


น๊าคร้า
ไปแระ บายๆ

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 26 มี.ค. 2019, 12:58 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โลกสวย เขียน:

555


บอกแล้วว่า แค่อวกาศ ก็ไม่มีอากาศแล้ว
ในอวกาศ มีแต่ หินก้อนโตๆ แบบพระอาทิตย์ ดวงจันทร์
และ นกที่บินอพยพข้ามดวงดาว


ขันธ์วิมุติ ไม่มีหรอก อากาศ


น๊าคร้า
ไปแระ บายๆ


อย่าออกไปนอกโลกความจริงกลับมาๆๆๆเม :b32: :b32: :b32:

หน้า 4 จากทั้งหมด 4 เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group
http://www.phpbb.com/