วันเวลาปัจจุบัน 19 มี.ค. 2024, 10:19  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 17 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ก.พ. 2019, 14:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 05 มิ.ย. 2009, 10:51
โพสต์: 2758


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8: สาธุค่ะลุง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ก.พ. 2019, 23:50 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Love J. เขียน:
Rosarin เขียน:
Love J. เขียน:
Rosarin เขียน:
Love J. เขียน:
Rosarin เขียน:
Love J. เขียน:
อื้ม ประจักษ์แจ่มชัดอะไร ไม่เห็นทุกขสัจ
เห็นสภาวะนั้น ออกจากสภาวะนั่นแล้วคิด
ว่าเห็นประจักษ์แจ่มชัดมากกว่า แต่ตอน
อยู่ในสภาวะนั้นไม่มีการโยนิโสมนสิการ
ไม่มีการเห็นอริยสัจ 4 มีแต่เห็นดับวนไป

:b32:
ต้องมีตัวตนไปโค้งคำนับหรือคะ
จิตเกิดดับทีละ1ทางไม่เป็นตัว
เกิดแล้วดับแล้วจะเอาหัว
ไปก้มแล้วคิดว่าน้อมรึ
:b32: :b32:


ต้องมีตัวตนไปเห็นว่าไม่ใช่ตัวใช่ตน
อุปาทานเป็นทุกข์ควรละ แล้วก็มรรคจิต ผลจิต
จากนั้นก็พิจารณากิเลสสังโยชน์ที่ยังเหลือ ต่อมา
ก็ค่อย ๆ เห็นแนวทางปฏิบัติเพื่อทำนิโรธให้แจ้งครับ
ไม่วน

ตอนที่คุณเห็นสภาวะนั้นมีการพิจารณาอะไรบ้างมั้ยล่ะครับ
เห็นทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค มั้ยมีการทำกิจประหารกิเลส
รึเปล่า หรือสักว่าเห็นดับ ๆ ไปที่ละ 1 ขณะ ออกจากสภาวะ
นั้นก็นึกเอาว่าตนเองรู้แจ้งอนัตตา สิ้นกิเลสตัณหาอุปาทาน


:b32:
คุณเลิฟเจเขียนว่าต้องมีตัวตนไปเห็นว่าไม่ใช่ตัวใช่ตน (ดิฉันนั่งกายหายมาแล้วก็ไม่ใช่ปัญญานี่คะ)
:b1:
บนนัั้นมันทำสมาธิหลับตาทำฌานไม่ใช่หรือคะเป็นสมาธิเจตสิก
ทำถึงแปลงร่างได้แบบพระเทวทัตรึยังล่ะคะมิจฉาสมาธินะคะ
:b16:
หลับตาขาดจิตเห็นการจะมีการทำงานของจิตเห็นต้องลืมตา
ถึงจะมีจักขุปสาทะรูปสภาพธัมมะของจิตเห็น3ประสานเป็น1
สีสะท้อนแสงเข้าไปในลูกตาดำกระทบในตาดำดับทันทีแล้ว
หลังกระพริบตาเป็นจิตเห็นขณะใหม่แล้วตาไม่บอดไม่เก็ตรึ
:b12: :b12:


ใช่ครับมันจะเห็นขันธ์ ๕ เป็นไตรลักษณ์แง่ใดแง่หนึ่ง
แล้วมันก็เห็นความหลงยึดมั่นเป็นเรา เป็นตัวตนเรา พอ
เห็นดังนั้นมันก็รู้ทันทีว่าควรละใจสรุปดังนี้ จิตก็ทำกิจ
ตามที่ใจได้สรุปหรือ มรรคจิต ผลจิต

ผมไม่เคยนั่งหลับตาทำฌานอะไรมาก่อนเรื่องฌานผม
ไม่รู้

ที่ผมเล่าไม่ใช่ตาเห็น ไม่เกี่ยวกับลืมตา หลับตา กระพริบตา
ผมเห็นเป็นนิมิตทางใจ เพราะฉะนั้นผมไม่เห็นการกระทบกัน
ของแสงสี ตาดำอะไรจะเกี่ยวกับมรรคผล มันก็ทำหน้าที่ตาม
ธรรมชาติของมัน กิเลสมัยอยู่ที่ใจนี่

:b12:
ที่ไม่มีคือปัญญาถึงเกิดมาต้องทำฟัง
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีตรงแล้วเดี๋ยวนี้
ไม่มีใครไปทำตัวจริงธัมมะตามเหตุปัจจัย
ก็ทุกอย่างที่ปรากฏให้รู้ได้นั่นแหละคือนิมิต
นิมิตคือการปรากฏรูปต่างๆทั้งสัจจะทั้งสมมุติ
สัจจะคือปรมัตถ์ใครให้ไปรู้ถึงสีก็บอกว่าทรงตรัสรู้
พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ความจริงตรงทีละ1สัจจะละเอียด
เป็นอนูคือละอองเล็กทีละ1กลาปะไม่มีตัวตนคนหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใด
ลืมตาเห็นเป็นสิ่งหนึ่งสิ่งใดทันทีนั่นแหละคืออัตตานุทิฏฐิมีคนมีวัตถุมีสัตว์และสักกายทิฏฐิคือมีตัวคุณไงคะ
ที่สำคัญคือที่กายใจตัวเองนั่นแหละจำผิดว่ามีตัวเข้าไม่ถึงสัจจะสีเป็นสีเป็นอารมณ์รู้สีอย่างเดียวไม่มีอะไรปน
รูปารมณ์รู้จักไหมจิตรู้ได้ทีละ1และเดียวนี้กำลังเห็นผิดเป็นตัวเองเห็นคนสัตว์วัตถุเรียกคิดเห็นผิดขาดสุตะอยู่
:b32: :b32:


ยอม

จิตรู้อารมณ์ทีละ1สัจจะ
รูปารมณ์คือจิตรู้รูปคือนามรู้รูป
มีเฉพาะรูปนั้นรูปเดียวตรงทีละ1ทาง
สีเป็นสีเกิดทางตาส่วนเห็นเป็นเห็นไม่ใช่สี
เสียงเป็นเสียงเกิดทางหูส่วนได้ยินก็ไม่ใช่เสียง
3ประสานของจิตแต่ละ1ทางมีตัวจริงธัมมะเกิน3อย่าง
คำสอนของพระพุทธเจ้าคือคำจริงตรงปัจจุบันขณะเดี๋ยวนี้
มีแล้วไม่ได้ทำสัจจะคือปรมัตถ์กำลังเกิดดับทีละ1แต่ละ1ไม่ซ้ำกันทุกขณะ
ทำอะไรไม่ได้นอกจากฟังให้เข้าใจว่าอะไรเป็นอะไรก่อนจิตออกจากร่างนี้เข้าใจไหมคะ
:b4: :b4:


ไม่ได้ทำ ไม่ถือเป็นกรรม ดับไปทีละ 1 ขณะผมเข้าใจ

แต่มรรคเป็นการกระทำ ถือเป็นกรรม มีวิบากคือผล
เคยเห็นอุปาทานขันธ์มั้ย เคยเห็นกิจที่ควรทำมั้ย เคย
ทำกิจที่ควรทำมั้ย มันทำในสภาวะนั้นเลย ไม่ได้เห็น
สภาวะแล้วมามโนเอาข้างนอก ทำแล้วก็รู้จักนิโรธ รู้
จักนิโรธแล้วก็ค่อย ๆ เห็นมรรคลำดับต่อไป


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 17 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 39 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร