วันเวลาปัจจุบัน 26 เม.ย. 2024, 02:37  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 274 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 19  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2019, 14:40 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ตั้งกระทู้เสร็จก็ขี้เกียจพิมพ์ต่อแระ อยู่ๆทุกอย่างมันดับไปเอง

ถามท่านผู้รู้ทุกท่านดีกว่าว่า เอาพละ ๕ มาใช้ยังไง เอาหัวใจเศรษฐี ใช้ยังไง ข้างต้นผมยกเอาพระอริยะสัจ ๔ กับ หัวใจนักปราชญ์ แล้ว
[/color]
ใช้กับ WIN & WIN ได้มั้ย

สูงสุด สู่สามัญ [/size]

ท่านอ๊บ ท่านเอกอน ท่านทริปเปิ้ลเอส ท่านกรัซกาย ป้ารส ท่าน J และ ผู้รู้ทุกๆท่าน ต้องมาตอบด้วยนะครับ นี่เป็นพุทธเศรษฐศาสตร์ พุทธบริหาร เลยนะครับ อิอิ


มันจะไปยากอะไรเล่า เราเองมีอาชีพอะไร ก็ทำงานนั้นๆให้สำเร็จ ธรรมะก็เข้าหมดแล้ว ไม่ต้องไปนั่งเคาะนั่งไล่ทีละตัวๆหรอก

แต่จะให้แม่ค้าส้มตำไปเล่นหุ้น ก็ไม่ไหว คิกๆๆ ดูความสามารถกำลังสติปัญญาตนเอง


กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
การดำรงชีพนี้ เป็นการทำให้ได้มาซึ่งทั้งปัจจัย ๔
1. อาหาร
2. ที่อยู่อาศัย
3. เครื่องนุ่งห่ม
4. ยารักษาโรค

ดังนี้ขอเชิญทุกท่านมาแบ่งปันกันครับ


4 ข้อที่นำมานั่นน่า เขาเรียกว่า ปัจจัย คือ เครื่องอาศัย ที่จำเป็นขั้นพื้นฐานของมนุษย์

ว่า ต้องมีอาหาร (มีข้าวกิน) เครื่องนุ่งห่ม (มีเสื้อผ้าสวมใส่) ที่อยู่อาศัย (มีบ้าน คือ ที่อยู่อาศัย) ยามเจ็บป่วย มียารักษาโรค แบบเรียกว่าปัจจัย เครื่องอาศัยบรรพชิต แต่ถ้าพูดกว้างๆ ก็เป็นเครื่องอาศัยของมนุษย์นั่นเอง



ดีแล้วถูกแล้วครับท่านกรัซกาย :b35: :b35: :b35:

ดังนี้เราจึงได้เห็นหลายมุมมอง สติปัญญา ความสามารถ ประสบการณ์ของแต่ละท่านในการดำรงชีพได้ เพราะแต่ละคนจะอยู่ในคนละจุดกัน ความรู้ใดหากมีแล้วไม่ได้เอาไปใช้ก็ไม่เกิดประโยชน์ มันก็สูญเปล่าใช่มั้ยครับ

มันทำให้มองย้อนเห็นได้ว่า ระดับความรู้ ความสามารถของแต่ละคน สภาพแวดล้อม และการดำรงชีพมันต่างกัน การอบรมสติปัญญาก็ย่อมต่างกันใช่ไหมครับ พระพุทธเจ้าก็จึงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ด้วยความต่างกันดังนี้แหละ

ทีนี้จะเห็นว่าบางคนที่ไปรู้ธรรมตั้งมากมายแต่แค่ท่องจำ กลับเอามาใช้กับตนไม่ได้ หรือตนไม่เอามาใช้ มันก็ไม่เกิดประโยชน์กลายเป็นใบลานเปล่าไปใช่ไหมครับ ด้วยเหตุดังนี้ ใครรู้ธรรมใดบ้าง กล่าวธรรมใดบ้าง ก็ควรเอาธรรมนั้นมาเจริญให้แจ้งใจและใช้ในชีวิตประจำวันได้ มันก็จะเกิดประโยชน์สูงสุด

ผมเองเป็นลูกแม่ค้าขายส้มตำนะครับ ทุกคนในบ้านล้วนแต่ขายส้มตำ ผัดหมี่ ปิ้งไก่ กับข้าวอาหารอีสานหมดทุกคน :b32: :b32: :b32: แต่ขณะที่ทุกคนขายส้มตำพ่อแม่ก็ปลูกฝังให้เรียนรู้ทุกคน

คนรวยไม่มีสติปัญญา ก็ไม่สามารถต่อยอดเงินได้รอแต่วันเจ็งวันหมดบุญเก่าแล้วก็ฉิบหาย
คนจนมีสติปัญญา ใฝ่รู้ มีความเพียร พัฒนาตนเองอยู่เสมอ ไม่นั่งรอโอกาสมาหา แต่เดินไปหาโอกาสเอง ต่อให้เป็นแค่พ่อค้า แม่ค้า เป็นพนักงานต๊อกต๋อยในบริษัท แต่เพราะใฝ่รู้ เรียนรู้ พิจารณา เพิ่มศักยภาพตน ทุกอย่างมันก็ดีขึ้นตามลำดับ
(ลองดูพ่อค้าแม่ค้าจนๆที่กลายเป็นธุรกิจใหญ่โตสิครับ มันไม่ใช่โชคช่วย) :b32: :b32: :b32:

ส่วนญาติพี่น้องผมก็กลายเป็นเจ้าของกิจการบ้าง เป็นผู้จัดการบ้าง เป็น ผอ.บ้าง เป็นข้าราชการระดับชำนาญการบ้าง ก็เพราะเป็นลูกแม่ค้าขายส้มตำนี่แหละครับ ส่วนหลานผมเป็นหลานแม่ค้าขายส้มตำแต่เขาก็เล่นหุ้นก็โอเคนะเงินก็สูง รู้ระยะการเทขาย รู้เวลาการตักซื้อ เรียนรู้ไหวพริบการทำงานกับลูกค้า สิ่งใดสนองความต้องการลูกค้าได้ สิ่งใดที่ลูกค้าไม่เข้าร้าน และความขยันใฝ่รู้และสิ่งที่พ่อแม่สอนให้ ใฝ่รู้ ขยัน ซื่อสัตย์ อดทน รู้จักให้ ทุกวันนี้ญาติพี่น้องจึงได้ดีทุกคน :b16: :b16: :b16:

มุมมองในธรรมแบบ..พุทธเมตตา พุทธกรุณา คือ เมื่อคนเรามีความเป็นอยู่วิถีชีวิตที่ดีอยู่แล้ว ไม่แก่งแย่งคดโกงกัน ทำงานด้วยใจบริสุทธิ์ มีหลักธรรมในการดำรงชีพ ประกอบอาชีพทำมาหากิน มันก็ไม่มีอะไรที่จะต้องเบียดเบียนกัน สัตว์ก็เว้นจากเวร ภัย พยาบาท เมื่อทุกคนดำรงอยู่ในชีวิตที่ดีมีข้อธรรมในการดำรงชีพ สิ่งดีๆก็เกิดมีทั่วกัน

สังเกตุไหมครับ ที่ผมกล่าว..แม้แค่สิ่งที่เราใช้ในชีวิตประจำวันอยู่เป็นประจำ ยังมาพลิกแพลงใช้กับงานใหญ่ระดับองค์กรได้ เพราะพิจาณาอุปมาอุปไมยด้วยพระอริยะสัจ ๔ เพื่อแก้ปัญหาในแบบอุปสมะ คือ สันติ แล้วจะนับประสาอะไรกับการเอาความรู้แม้ในระดับการบริหารองค์กร มาบริหารชีวิตตนเองและครอบครัวไม่ได้ :b16: :b16: :b16: อยู่ที่สติปัญญาของเราจะนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่างหากครับ ดังนี้ก็สามารถเอาธรรมะของพระพุทธเจ้ามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ทั้งหมด เพราะธรรมพระพุทธเจ้ามี 2 อย่างคือ ฆราวาส กับบรรพชิต คือ สาสวะ แบบสะสมบุญบารมีแก่ขันธ์ และ แบบอนาสวะเพื่อตัดสังโยชน์ ดังนี้ธรรมของพระพุทธเจ้าจึงไม่ขัดต่อโลก เมื่อทำเป็นประจำจนมันลงใจก็จะกลายเป็นอุปนิสัย มันก็จะทำให้จริตสันดารเราใช้ปัญญาและธรรมมะแก้ปัญหามากกว่าใช้อารมณ์ความรู้สึกนึกคิด สิ่งนี้มันติดตามไปทุกภพชาติ เป็นอริยะทรัพย์คือปัญญา

แต่.. ว่าแต่ว่า ..ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ ยกมาแล้วตอบผมด้วยนะครับ คุยเล่นกันสนุกสนานแต่ประกอบไปด้วยประโยชน์ครับ แลกเปลี่ยนกันครับ :b12: :b12: :b12:


---------------------------------------------------------------



sssboun เขียน:
:b8:

หลักการพื้นฐานนั้นเราควรจะรู้เมื่อเราทำสิ่งใดหนึ่ง
เช่น พิมพ์ข้อความส่ง หรือโพสในที่นี้ ทุกท่านมองเห็น
ว่าได้อะไรบ้างครับ s006 s006 s006

:b8:


ดีแล้วถูกแล้วครับท่านทริปเปิ้ลเอส :b35: :b35: :b35:

สิ่งที่ได้จากการเห็นในกรทู้ทุกกระทู้ อยู่ที่ สติ ปัญญา ของแต่ละคนจะเห็นสิ่งใด เช่นในกระทู้นี้ ก็จะเริ่มจากการนำธรรมมามาใช้กับปัญญาในทางโลก ซึ่งกระทู้ที่คุยกับท่านเอกอนกับท่านอ๊บไว้นี้ เป็นระดับสติปัญญาของ หัวหน้างาน ผู้จัดการ ผู้อำนวยการ ผู้บริหาร เขาใช้กันน่ะครับ ส่วนพนักงานเงินเดือนทั่วไปเมื่อเรียนรู้แล้วก็เป็นกรอบปัญญาให้เห็นหลักการบริหาร พุทธบริหาร วิถีคิด ก็เป็นประสบการณ์ชีวิตในการแก้ปัญหาของเขาต่อไป ตลอดไปถึงการดำรงชีพที่ดี มีทุกข์น้อย หรือไม่มีเลย เมื่อเกิดปัญหาก็ใช้สติปัญญาแก่ไข เรียกว่ามี สุตะ ทาน ศีล วิริยะ ทมะ ขันติ จาคะ อุปสมะ สติ สมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาโดยสันติ อันเป็นธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสสอน เป็นศีลอริยะในสัลเลขะธรรมด้วยครับ

:b8: :b8: :b8: :b16: :b16: :b16:


---------------------------------------------------------------

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2019, 17:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ตั้งกระทู้เสร็จก็ขี้เกียจพิมพ์ต่อแระ อยู่ๆทุกอย่างมันดับไปเอง

ถามท่านผู้รู้ทุกท่านดีกว่าว่า เอาพละ ๕ มาใช้ยังไง เอาหัวใจเศรษฐี ใช้ยังไง ข้างต้นผมยกเอาพระอริยะสัจ ๔ กับ หัวใจนักปราชญ์ แล้ว
[/color]
ใช้กับ WIN & WIN ได้มั้ย

สูงสุด สู่สามัญ [/size]

ท่านอ๊บ ท่านเอกอน ท่านทริปเปิ้ลเอส ท่านกรัซกาย ป้ารส ท่าน J และ ผู้รู้ทุกๆท่าน ต้องมาตอบด้วยนะครับ นี่เป็นพุทธเศรษฐศาสตร์ พุทธบริหาร เลยนะครับ อิอิ


มันจะไปยากอะไรเล่า เราเองมีอาชีพอะไร ก็ทำงานนั้นๆให้สำเร็จ ธรรมะก็เข้าหมดแล้ว ไม่ต้องไปนั่งเคาะนั่งไล่ทีละตัวๆหรอก

แต่จะให้แม่ค้าส้มตำไปเล่นหุ้น ก็ไม่ไหว คิกๆๆ ดูความสามารถกำลังสติปัญญาตนเอง


กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
การดำรงชีพนี้ เป็นการทำให้ได้มาซึ่งทั้งปัจจัย ๔
1. อาหาร
2. ที่อยู่อาศัย
3. เครื่องนุ่งห่ม
4. ยารักษาโรค

ดังนี้ขอเชิญทุกท่านมาแบ่งปันกันครับ


4 ข้อที่นำมานั่นน่า เขาเรียกว่า ปัจจัย คือ เครื่องอาศัย ที่จำเป็นขั้นพื้นฐานของมนุษย์

ว่า ต้องมีอาหาร (มีข้าวกิน) เครื่องนุ่งห่ม (มีเสื้อผ้าสวมใส่) ที่อยู่อาศัย (มีบ้าน คือ ที่อยู่อาศัย) ยามเจ็บป่วย มียารักษาโรค แบบเรียกว่าปัจจัย เครื่องอาศัยบรรพชิต แต่ถ้าพูดกว้างๆ ก็เป็นเครื่องอาศัยของมนุษย์นั่นเอง



ดีแล้วถูกแล้วครับท่านกรัซกาย :b35: :b35: :b35:

ดังนี้เราจึงได้เห็นหลายมุมมอง สติปัญญา ความสามารถ ประสบการณ์ของแต่ละท่านในการดำรงชีพได้ เพราะแต่ละคนจะอยู่ในคนละจุดกัน ความรู้ใดหากมีแล้วไม่ได้เอาไปใช้ก็ไม่เกิดประโยชน์ มันก็สูญเปล่าใช่มั้ยครับ

มันทำให้มองย้อนเห็นได้ว่า ระดับความรู้ ความสามารถของแต่ละคน สภาพแวดล้อม และการดำรงชีพมันต่างกัน การอบรมสติปัญญาก็ย่อมต่างกันใช่ไหมครับ พระพุทธเจ้าก็จึงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ด้วยความต่างกันดังนี้แหละ

ทีนี้จะเห็นว่าบางคนที่ไปรู้ธรรมตั้งมากมายแต่แค่ท่องจำ กลับเอามาใช้กับตนไม่ได้ หรือตนไม่เอามาใช้ มันก็ไม่เกิดประโยชน์กลายเป็นใบลานเปล่าไปใช่ไหมครับ ด้วยเหตุดังนี้ ใครรู้ธรรมใดบ้าง กล่าวธรรมใดบ้าง ก็ควรเอาธรรมนั้นมาเจริญให้แจ้งใจและใช้ในชีวิตประจำวันได้ มันก็จะเกิดประโยชน์สูงสุด

ผมเองเป็นลูกแม่ค้าขายส้มตำนะครับ ทุกคนในบ้านล้วนแต่ขายส้มตำ ผัดหมี่ ปิ้งไก่ กับข้าวอาหารอีสานหมดทุกคน :b32: :b32: :b32: แต่ขณะที่ทุกคนขายส้มตำพ่อแม่ก็ปลูกฝังให้เรียนรู้ทุกคน

คนรวยไม่มีสติปัญญา ก็ไม่สามารถต่อยอดเงินได้รอแต่วันเจ็งวันหมดบุญเก่าแล้วก็ฉิบหาย
คนจนมีสติปัญญา ใฝ่รู้ มีความเพียร พัฒนาตนเองอยู่เสมอ ไม่นั่งรอโอกาสมาหา แต่เดินไปหาโอกาสเอง ต่อให้เป็นแค่พ่อค้า แม่ค้า เป็นพนักงานต๊อกต๋อยในบริษัท แต่เพราะใฝ่รู้ เรียนรู้ พิจารณา เพิ่มศักยภาพตน ทุกอย่างมันก็ดีขึ้นตามลำดับ
(ลองดูพ่อค้าแม่ค้าจนๆที่กลายเป็นธุรกิจใหญ่โตสิครับ มันไม่ใช่โชคช่วย) :b32: :b32: :b32:

ส่วนญาติพี่น้องผมก็กลายเป็นเจ้าของกิจการบ้าง เป็นผู้จัดการบ้าง เป็น ผอ.บ้าง เป็นข้าราชการระดับชำนาญการบ้าง ก็เพราะเป็นลูกแม่ค้าขายส้มตำนี่แหละครับ ส่วนหลานผมเป็นหลานแม่ค้าขายส้มตำแต่เขาก็เล่นหุ้นก็โอเคนะเงินก็สูง รู้ระยะการเทขาย รู้เวลาการตักซื้อ เรียนรู้ไหวพริบการทำงานกับลูกค้า สิ่งใดสนองความต้องการลูกค้าได้ สิ่งใดที่ลูกค้าไม่เข้าร้าน และความขยันใฝ่รู้และสิ่งที่พ่อแม่สอนให้ ใฝ่รู้ ขยัน ซื่อสัตย์ อดทน รู้จักให้ ทุกวันนี้ญาติพี่น้องจึงได้ดีทุกคน :b16: :b16: :b16:

มุมมองในธรรมแบบ..พุทธเมตตา พุทธกรุณา คือ เมื่อคนเรามีความเป็นอยู่วิถีชีวิตที่ดีอยู่แล้ว ไม่แก่งแย่งคดโกงกัน ทำงานด้วยใจบริสุทธิ์ มีหลักธรรมในการดำรงชีพ ประกอบอาชีพทำมาหากิน มันก็ไม่มีอะไรที่จะต้องเบียดเบียนกัน สัตว์ก็เว้นจากเวร ภัย พยาบาท เมื่อทุกคนดำรงอยู่ในชีวิตที่ดีมีข้อธรรมในการดำรงชีพ สิ่งดีๆก็เกิดมีทั่วกัน

สังเกตุไหมครับ ที่ผมกล่าว..แม้แค่สิ่งที่เราใช้ในชีวิตประจำวันอยู่เป็นประจำ ยังมาพลิกแพลงใช้กับงานใหญ่ระดับองค์กรได้ เพราะพิจาณาอุปมาอุปไมยด้วยพระอริยะสัจ ๔ เพื่อแก้ปัญหาในแบบอุปสมะ คือ สันติ แล้วจะนับประสาอะไรกับการเอาความรู้แม้ในระดับการบริหารองค์กร มาบริหารชีวิตตนเองและครอบครัวไม่ได้ :b16: :b16: :b16: อยู่ที่สติปัญญาของเราจะนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่างหากครับ ดังนี้ก็สามารถเอาธรรมะของพระพุทธเจ้ามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ทั้งหมด เพราะธรรมพระพุทธเจ้ามี 2 อย่างคือ ฆราวาส กับบรรพชิต คือ สาสวะ แบบสะสมบุญบารมีแก่ขันธ์ และ แบบอนาสวะเพื่อตัดสังโยชน์ ดังนี้ธรรมของพระพุทธเจ้าจึงไม่ขัดต่อโลก เมื่อทำเป็นประจำจนมันลงใจก็จะกลายเป็นอุปนิสัย มันก็จะทำให้จริตสันดารเราใช้ปัญญาและธรรมมะแก้ปัญหามากกว่าใช้อารมณ์ความรู้สึกนึกคิด สิ่งนี้มันติดตามไปทุกภพชาติ เป็นอริยะทรัพย์คือปัญญา

แต่.. ว่าแต่ว่า ..ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ ยกมาแล้วตอบผมด้วยนะครับ คุยเล่นกันสนุกสนานแต่ประกอบไปด้วยประโยชน์ครับ แลกเปลี่ยนกันครับ [/color]


อ้างคำพูด:
ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ


ก็อย่างที่บอกข้างบน เรามีอาชีพอะไร ก็ทำสิ่งนั้นงานนั้นให้สำเร็จลุล่วง เมื่องานสำเร็จแปลว่าธรรมะเข้าหมดแล้ว ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า มุ่งแต่ทำงานให้ดีให้เสร็จ นึกออกไหมครับ

เรามีอาชีพขายส้มตำ ก็ทำสิ่งนั้นให้เสร็จ ให้สำเร็จ ขายหนมครก ก็ทำให้เสร็จ ให้สำเร็จ แค่นี้ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2019, 17:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ตั้งกระทู้เสร็จก็ขี้เกียจพิมพ์ต่อแระ อยู่ๆทุกอย่างมันดับไปเอง

ถามท่านผู้รู้ทุกท่านดีกว่าว่า เอาพละ ๕ มาใช้ยังไง เอาหัวใจเศรษฐี ใช้ยังไง ข้างต้นผมยกเอาพระอริยะสัจ ๔ กับ หัวใจนักปราชญ์ แล้ว
[/color]
ใช้กับ WIN & WIN ได้มั้ย

สูงสุด สู่สามัญ [/size]

ท่านอ๊บ ท่านเอกอน ท่านทริปเปิ้ลเอส ท่านกรัซกาย ป้ารส ท่าน J และ ผู้รู้ทุกๆท่าน ต้องมาตอบด้วยนะครับ นี่เป็นพุทธเศรษฐศาสตร์ พุทธบริหาร เลยนะครับ อิอิ


มันจะไปยากอะไรเล่า เราเองมีอาชีพอะไร ก็ทำงานนั้นๆให้สำเร็จ ธรรมะก็เข้าหมดแล้ว ไม่ต้องไปนั่งเคาะนั่งไล่ทีละตัวๆหรอก

แต่จะให้แม่ค้าส้มตำไปเล่นหุ้น ก็ไม่ไหว คิกๆๆ ดูความสามารถกำลังสติปัญญาตนเอง


กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
การดำรงชีพนี้ เป็นการทำให้ได้มาซึ่งทั้งปัจจัย ๔
1. อาหาร
2. ที่อยู่อาศัย
3. เครื่องนุ่งห่ม
4. ยารักษาโรค

ดังนี้ขอเชิญทุกท่านมาแบ่งปันกันครับ


4 ข้อที่นำมานั่นน่า เขาเรียกว่า ปัจจัย คือ เครื่องอาศัย ที่จำเป็นขั้นพื้นฐานของมนุษย์

ว่า ต้องมีอาหาร (มีข้าวกิน) เครื่องนุ่งห่ม (มีเสื้อผ้าสวมใส่) ที่อยู่อาศัย (มีบ้าน คือ ที่อยู่อาศัย) ยามเจ็บป่วย มียารักษาโรค แบบเรียกว่าปัจจัย เครื่องอาศัยบรรพชิต แต่ถ้าพูดกว้างๆ ก็เป็นเครื่องอาศัยของมนุษย์นั่นเอง



ดีแล้วถูกแล้วครับท่านกรัซกาย :b35: :b35: :b35:

ดังนี้เราจึงได้เห็นหลายมุมมอง สติปัญญา ความสามารถ ประสบการณ์ของแต่ละท่านในการดำรงชีพได้ เพราะแต่ละคนจะอยู่ในคนละจุดกัน ความรู้ใดหากมีแล้วไม่ได้เอาไปใช้ก็ไม่เกิดประโยชน์ มันก็สูญเปล่าใช่มั้ยครับ

มันทำให้มองย้อนเห็นได้ว่า ระดับความรู้ ความสามารถของแต่ละคน สภาพแวดล้อม และการดำรงชีพมันต่างกัน การอบรมสติปัญญาก็ย่อมต่างกันใช่ไหมครับ พระพุทธเจ้าก็จึงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ด้วยความต่างกันดังนี้แหละ

ทีนี้จะเห็นว่าบางคนที่ไปรู้ธรรมตั้งมากมายแต่แค่ท่องจำ กลับเอามาใช้กับตนไม่ได้ หรือตนไม่เอามาใช้ มันก็ไม่เกิดประโยชน์กลายเป็นใบลานเปล่าไปใช่ไหมครับ ด้วยเหตุดังนี้ ใครรู้ธรรมใดบ้าง กล่าวธรรมใดบ้าง ก็ควรเอาธรรมนั้นมาเจริญให้แจ้งใจและใช้ในชีวิตประจำวันได้ มันก็จะเกิดประโยชน์สูงสุด

ผมเองเป็นลูกแม่ค้าขายส้มตำนะครับ ทุกคนในบ้านล้วนแต่ขายส้มตำ ผัดหมี่ ปิ้งไก่ กับข้าวอาหารอีสานหมดทุกคน :b32: :b32: :b32: แต่ขณะที่ทุกคนขายส้มตำพ่อแม่ก็ปลูกฝังให้เรียนรู้ทุกคน

คนรวยไม่มีสติปัญญา ก็ไม่สามารถต่อยอดเงินได้รอแต่วันเจ็งวันหมดบุญเก่าแล้วก็ฉิบหาย
คนจนมีสติปัญญา ใฝ่รู้ มีความเพียร พัฒนาตนเองอยู่เสมอ ไม่นั่งรอโอกาสมาหา แต่เดินไปหาโอกาสเอง ต่อให้เป็นแค่พ่อค้า แม่ค้า เป็นพนักงานต๊อกต๋อยในบริษัท แต่เพราะใฝ่รู้ เรียนรู้ พิจารณา เพิ่มศักยภาพตน ทุกอย่างมันก็ดีขึ้นตามลำดับ
(ลองดูพ่อค้าแม่ค้าจนๆที่กลายเป็นธุรกิจใหญ่โตสิครับ มันไม่ใช่โชคช่วย) :b32: :b32: :b32:

ส่วนญาติพี่น้องผมก็กลายเป็นเจ้าของกิจการบ้าง เป็นผู้จัดการบ้าง เป็น ผอ.บ้าง เป็นข้าราชการระดับชำนาญการบ้าง ก็เพราะเป็นลูกแม่ค้าขายส้มตำนี่แหละครับ ส่วนหลานผมเป็นหลานแม่ค้าขายส้มตำแต่เขาก็เล่นหุ้นก็โอเคนะเงินก็สูง รู้ระยะการเทขาย รู้เวลาการตักซื้อ เรียนรู้ไหวพริบการทำงานกับลูกค้า สิ่งใดสนองความต้องการลูกค้าได้ สิ่งใดที่ลูกค้าไม่เข้าร้าน และความขยันใฝ่รู้และสิ่งที่พ่อแม่สอนให้ ใฝ่รู้ ขยัน ซื่อสัตย์ อดทน รู้จักให้ ทุกวันนี้ญาติพี่น้องจึงได้ดีทุกคน :b16: :b16: :b16:

มุมมองในธรรมแบบ..พุทธเมตตา พุทธกรุณา คือ เมื่อคนเรามีความเป็นอยู่วิถีชีวิตที่ดีอยู่แล้ว ไม่แก่งแย่งคดโกงกัน ทำงานด้วยใจบริสุทธิ์ มีหลักธรรมในการดำรงชีพ ประกอบอาชีพทำมาหากิน มันก็ไม่มีอะไรที่จะต้องเบียดเบียนกัน สัตว์ก็เว้นจากเวร ภัย พยาบาท เมื่อทุกคนดำรงอยู่ในชีวิตที่ดีมีข้อธรรมในการดำรงชีพ สิ่งดีๆก็เกิดมีทั่วกัน

สังเกตุไหมครับ ที่ผมกล่าว..แม้แค่สิ่งที่เราใช้ในชีวิตประจำวันอยู่เป็นประจำ ยังมาพลิกแพลงใช้กับงานใหญ่ระดับองค์กรได้ เพราะพิจาณาอุปมาอุปไมยด้วยพระอริยะสัจ ๔ เพื่อแก้ปัญหาในแบบอุปสมะ คือ สันติ แล้วจะนับประสาอะไรกับการเอาความรู้แม้ในระดับการบริหารองค์กร มาบริหารชีวิตตนเองและครอบครัวไม่ได้ :b16: :b16: :b16: อยู่ที่สติปัญญาของเราจะนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่างหากครับ ดังนี้ก็สามารถเอาธรรมะของพระพุทธเจ้ามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ทั้งหมด เพราะธรรมพระพุทธเจ้ามี 2 อย่างคือ ฆราวาส กับบรรพชิต คือ สาสวะ แบบสะสมบุญบารมีแก่ขันธ์ และ แบบอนาสวะเพื่อตัดสังโยชน์ ดังนี้ธรรมของพระพุทธเจ้าจึงไม่ขัดต่อโลก เมื่อทำเป็นประจำจนมันลงใจก็จะกลายเป็นอุปนิสัย มันก็จะทำให้จริตสันดารเราใช้ปัญญาและธรรมมะแก้ปัญหามากกว่าใช้อารมณ์ความรู้สึกนึกคิด สิ่งนี้มันติดตามไปทุกภพชาติ เป็นอริยะทรัพย์คือปัญญา

แต่.. ว่าแต่ว่า ..ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ ยกมาแล้วตอบผมด้วยนะครับ คุยเล่นกันสนุกสนานแต่ประกอบไปด้วยประโยชน์ครับ แลกเปลี่ยนกันครับ [/color]


อ้างคำพูด:
ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ


ก็อย่างที่บอกข้างบน เรามีอาชีพอะไร ก็ทำสิ่งนั้นงานนั้นให้สำเร็จลุล่วง เมื่องานสำเร็จแปลว่าธรรมะเข้าหมดแล้ว ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า มุ่งแต่ทำงานให้ดีให้เสร็จ นึกออกไหมครับ

เรามีอาชีพขายส้มตำ ก็ทำสิ่งนั้นให้เสร็จ ให้สำเร็จ ขายหนมครก ก็ทำให้เสร็จ ให้สำเร็จ ตามสติปัญญาของเรา แค่นี้ :b32: มิใช่เรามีสติปัญญาแค่นั้นเพียงนั้น ดันไปเล่นหุ้น ไปสมัครเป็นกัปตันขับเครื่องบิน :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2019, 18:00 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ

ก็อย่างที่บอกข้างบน เรามีอาชีพอะไร ก็ทำสิ่งนั้นงานนั้นให้สำเร็จลุล่วง เมื่องานสำเร็จแปลว่าธรรมะเข้าหมดแล้ว ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า มุ่งแต่ทำงานให้ดีให้เสร็จ นึกออกไหมครับ

เรามีอาชีพขายส้มตำ ก็ทำสิ่งนั้นให้เสร็จ ให้สำเร็จ ขายหนมครก ก็ทำให้เสร็จ ให้สำเร็จ ตามสติปัญญาของเรา แค่นี้ :b32: มิใช่เรามีสติปัญญาแค่นั้นเพียงนั้น ดันไปเล่นหุ้น ไปสมัครเป็นกัปตันขับเครื่องบิน :b13:


:b35: :b35: :b35: สาธุเยี่ยมครับ

แล้วมีหลักอะไรบ้างทำให้งานสำเร็จครับ หรือไม่ต้องมี ไม่ต้องคิด หลับหูหลับตาทำไปสำเร็จก็แปลว่าธรรมมะเข้าหมดแล้วอย่างนั้นหราครับ แล้วงานจะออกมาดีได้สำเร็จได้โดยไม่ต้องมีหลักอะไรหราครับ :b32: :b32: :b32:

แล้วคนที่ขายส้มตำ จะไม่สามารถศึกษาเรียนรู้เล่นหุ้นได้หรือครับ แล้วลูกคนขายส้มตำจะไม่สามารถเรียนสอบนักบินได้หรอครับ :b32: :b32: :b32:

อีกอย่างนะที่เราเรียนหนังสือกัน บางอย่างเราก็ไม่ได้ใช้แล้วให้เราเรียนทำไม ผมก็คิดนะ :b9: :b9: :b9:

โดยส่วนตัวแล้วท่านกรัซกายทำงานอะไรครับ เล่นหุ้นหราครับ :b12: :b12:

แนะนำเพิ่มเติมด้วยครับ :b12: :b12: :b12:

แต่จนแล้วจนรอดท่านกรัซกายก็ไม่กล่าวถึงพละ ๕ ในการทำงานบ้างเลย เห็นท่านกรัซกายรู้ธรรมเยอะนะครับดังนั้นใช้ธรรมไหนบ้างมาปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจำวันครีบ ???

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2019, 18:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
อ้างคำพูด:
ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ

ก็อย่างที่บอกข้างบน เรามีอาชีพอะไร ก็ทำสิ่งนั้นงานนั้นให้สำเร็จลุล่วง เมื่องานสำเร็จแปลว่าธรรมะเข้าหมดแล้ว ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า มุ่งแต่ทำงานให้ดีให้เสร็จ นึกออกไหมครับ

เรามีอาชีพขายส้มตำ ก็ทำสิ่งนั้นให้เสร็จ ให้สำเร็จ ขายหนมครก ก็ทำให้เสร็จ ให้สำเร็จ ตามสติปัญญาของเรา แค่นี้ :b32: มิใช่เรามีสติปัญญาแค่นั้นเพียงนั้น ดันไปเล่นหุ้น ไปสมัครเป็นกัปตันขับเครื่องบิน :b13:


:b35: :b35: :b35: สาธุเยี่ยมครับ

แล้วมีหลักอะไรบ้างทำให้งานสำเร็จครับ หรือไม่ต้องมี ไม่ต้องคิด หลับหูหลับตาทำไปสำเร็จก็แปลว่าธรรมมะเข้าหมดแล้วอย่างนั้นหราครับ แล้วงานจะออกมาดีได้สำเร็จได้โดยไม่ต้องมีหลักอะไรหราครับ :b32: :b32: :b32:

แล้วคนที่ขายส้มตำ จะไม่สามารถศึกษาเรียนรู้เล่นหุ้นได้หรือครับ แล้วลูกคนขายส้มตำจะไม่สามารถเรียนสอบนักบินได้หรอครับ :b32: :b32: :b32:

อีกอย่างนะที่เราเรียนหนังสือกัน บางอย่างเราก็ไม่ได้ใช้แล้วให้เราเรียนทำไม ผมก็คิดนะ :b9: :b9: :b9:

โดยส่วนตัวแล้วท่านกรัซกายทำงานอะไรครับ เล่นหุ้นหราครับ :b12: :b12:

แนะนำเพิ่มเติมด้วยครับ :b12: :b12: :b12:

แต่จนแล้วจนรอดท่านกรัซกายก็ไม่กล่าวถึงพละ ๕ ในการทำงานบ้างเลย เห็นท่านกรัซกายรู้ธรรมเยอะนะครับดังนั้นใช้ธรรมไหนบ้างมาปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจำวันครีบ ???


อิอิ คุณก็จะเอาแต่ธรรมะ อยากได้อยากมีธรรมะ บ้าธรรมะ :b32:

ก็บอกแล้วว่า เรามีปัญญาคือรู้เรื่องตำส้มตำ ก็ตำไปขายไป ทำให้ดีให้อร่อย ทำให้งานซึ่งเป็นอาชีพเรานั้นล่วงไป ธรรมะมันเข้าอยู่ขณะทำ โดยที่ไม่ต้องไปรู้มันหรอกว่ามีอะไรบ้าง วัดเอาจากงานที่ทำนั้น

ไปถามเจ้าสัวซีพีดูสิ รู้จักพละธรรม 5 ไหม รู้จักอินทรีย์ 5 ไหม รู้จักอิทธิบาท 4 ไหม มีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ เขาจะพูดสำเนียงไทยผสมจีน ผงม่ายลู้ว่าพาละมีเฒ่าไหร่อาลัยบ้าง ฯลฯ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2019, 20:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
อ้างคำพูด:
ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ

ก็อย่างที่บอกข้างบน เรามีอาชีพอะไร ก็ทำสิ่งนั้นงานนั้นให้สำเร็จลุล่วง เมื่องานสำเร็จแปลว่าธรรมะเข้าหมดแล้ว ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า มุ่งแต่ทำงานให้ดีให้เสร็จ นึกออกไหมครับ

เรามีอาชีพขายส้มตำ ก็ทำสิ่งนั้นให้เสร็จ ให้สำเร็จ ขายหนมครก ก็ทำให้เสร็จ ให้สำเร็จ ตามสติปัญญาของเรา แค่นี้ :b32: มิใช่เรามีสติปัญญาแค่นั้นเพียงนั้น ดันไปเล่นหุ้น ไปสมัครเป็นกัปตันขับเครื่องบิน :b13:


:b35: :b35: :b35: สาธุเยี่ยมครับ

แล้วมีหลักอะไรบ้างทำให้งานสำเร็จครับ หรือไม่ต้องมี ไม่ต้องคิด หลับหูหลับตาทำไปสำเร็จก็แปลว่าธรรมมะเข้าหมดแล้วอย่างนั้นหราครับ แล้วงานจะออกมาดีได้สำเร็จได้โดยไม่ต้องมีหลักอะไรหราครับ :b32: :b32: :b32:

แล้วคนที่ขายส้มตำ จะไม่สามารถศึกษาเรียนรู้เล่นหุ้นได้หรือครับ แล้วลูกคนขายส้มตำจะไม่สามารถเรียนสอบนักบินได้หรอครับ :b32: :b32: :b32:

อีกอย่างนะที่เราเรียนหนังสือกัน บางอย่างเราก็ไม่ได้ใช้แล้วให้เราเรียนทำไม ผมก็คิดนะ :b9: :b9: :b9:

โดยส่วนตัวแล้วท่านกรัซกายทำงานอะไรครับ เล่นหุ้นหราครับ :b12: :b12:

แนะนำเพิ่มเติมด้วยครับ :b12: :b12: :b12:

แต่จนแล้วจนรอดท่านกรัซกายก็ไม่กล่าวถึงพละ ๕ ในการทำงานบ้างเลย เห็นท่านกรัซกายรู้ธรรมเยอะนะครับดังนั้นใช้ธรรมไหนบ้างมาปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจำวันครีบ ???


อิอิ คุณก็จะเอาแต่ธรรมะ อยากได้อยากมีธรรมะ บ้าธรรมะ :b32:

ก็บอกแล้วว่า เรามีปัญญาคือรู้เรื่องตำส้มตำ ก็ตำไปขายไป ทำให้ดีให้อร่อย ทำให้งานซึ่งเป็นอาชีพเรานั้นล่วงไป ธรรมะมันเข้าอยู่ขณะทำ โดยที่ไม่ต้องไปรู้มันหรอกว่ามีอะไรบ้าง วัดเอาจากงานที่ทำนั้น

ไปถามเจ้าสัวซีพีดูสิ รู้จักพละธรรม 5 ไหม รู้จักอินทรีย์ 5 ไหม รู้จักอิทธิบาท 4 ไหม มีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ เขาจะพูดสำเนียงไทยผสมจีน ผงม่ายลู้ว่าพาละมีเฒ่าไหร่อาลัยบ้าง ฯลฯ



ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ สรุปง่ายๆคือ ท่านกรัซกายไม่สามารถบอกได้ว่าจะเอา พละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ

ที่ถามธรรมเพราะนี่คือเวบธรรมมะ เหมือนท่านกรัซกายโพสท์ธรรมมะนับร้อยนับพันกระทู้นั่นแหละครับ แต่ผมต่างจากที่ท่านโพสท์คือ การเอามาใช้งานจริงในชีวิต

ผมก็เข้าใจเรื่องแม้ค้าขายส้มตำจากท่านแระ เพราะมันก็คงประมาณเดียวกับที่ท่านกรัซกายไม่อาจจะบอกได้ว่าเอาพละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ เพราะโดยพื้นฐานท่านกรัซกายไม่ได้สะสมมาทางนี้ จึงไม่สามารถที่จะกล้าวได้ เหมือนแม่ค้าขายส้มตำทั่ไม่อาจจะเรียนรู้เพอ่มเตินแลเวมาเล่นหุ้นได้แบบท่านกล่าวไว้ ขอบคุณที่เมตตาแสดงความเห็น และแบ่งปันความรู้ครับ

:b8: :b8: :b8:

ส่วนเจ้าสัวเขาก็มีธรรมและหลักการของเขาแน่นอนจึงหยัดยืนได้อย่างนี้ ไม่ใช่จับพลัดจับผลูมารวยมา้ก่งใช่มั้ยครับ ดังนั้นเราก็ต้องหาแนวทางการยึดเป็นหลักจึดหมายให้เดินไปถึงใช่มั้ยครับ

อย่างไรก็ขอบคุณท่านครับ :b8: :b8:

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ม.ค. 2019, 08:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
อ้างคำพูด:
ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ

ก็อย่างที่บอกข้างบน เรามีอาชีพอะไร ก็ทำสิ่งนั้นงานนั้นให้สำเร็จลุล่วง เมื่องานสำเร็จแปลว่าธรรมะเข้าหมดแล้ว ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า มุ่งแต่ทำงานให้ดีให้เสร็จ นึกออกไหมครับ

เรามีอาชีพขายส้มตำ ก็ทำสิ่งนั้นให้เสร็จ ให้สำเร็จ ขายหนมครก ก็ทำให้เสร็จ ให้สำเร็จ ตามสติปัญญาของเรา แค่นี้ :b32: มิใช่เรามีสติปัญญาแค่นั้นเพียงนั้น ดันไปเล่นหุ้น ไปสมัครเป็นกัปตันขับเครื่องบิน :b13:


:b35: :b35: :b35: สาธุเยี่ยมครับ

แล้วมีหลักอะไรบ้างทำให้งานสำเร็จครับ หรือไม่ต้องมี ไม่ต้องคิด หลับหูหลับตาทำไปสำเร็จก็แปลว่าธรรมมะเข้าหมดแล้วอย่างนั้นหราครับ แล้วงานจะออกมาดีได้สำเร็จได้โดยไม่ต้องมีหลักอะไรหราครับ :b32: :b32: :b32:

แล้วคนที่ขายส้มตำ จะไม่สามารถศึกษาเรียนรู้เล่นหุ้นได้หรือครับ แล้วลูกคนขายส้มตำจะไม่สามารถเรียนสอบนักบินได้หรอครับ :b32: :b32: :b32:

อีกอย่างนะที่เราเรียนหนังสือกัน บางอย่างเราก็ไม่ได้ใช้แล้วให้เราเรียนทำไม ผมก็คิดนะ :b9: :b9: :b9:

โดยส่วนตัวแล้วท่านกรัซกายทำงานอะไรครับ เล่นหุ้นหราครับ :b12: :b12:

แนะนำเพิ่มเติมด้วยครับ :b12: :b12: :b12:

แต่จนแล้วจนรอดท่านกรัซกายก็ไม่กล่าวถึงพละ ๕ ในการทำงานบ้างเลย เห็นท่านกรัซกายรู้ธรรมเยอะนะครับดังนั้นใช้ธรรมไหนบ้างมาปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจำวันครีบ ???


อิอิ คุณก็จะเอาแต่ธรรมะ อยากได้อยากมีธรรมะ บ้าธรรมะ :b32:

ก็บอกแล้วว่า เรามีปัญญาคือรู้เรื่องตำส้มตำ ก็ตำไปขายไป ทำให้ดีให้อร่อย ทำให้งานซึ่งเป็นอาชีพเรานั้นล่วงไป ธรรมะมันเข้าอยู่ขณะทำ โดยที่ไม่ต้องไปรู้มันหรอกว่ามีอะไรบ้าง วัดเอาจากงานที่ทำนั้น

ไปถามเจ้าสัวซีพีดูสิ รู้จักพละธรรม 5 ไหม รู้จักอินทรีย์ 5 ไหม รู้จักอิทธิบาท 4 ไหม มีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ เขาจะพูดสำเนียงไทยผสมจีน ผงม่ายลู้ว่าพาละมีเฒ่าไหร่อาลัยบ้าง ฯลฯ



ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ สรุปง่ายๆคือ ท่านกรัซกายไม่สามารถบอกได้ว่าจะเอา พละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ

ที่ถามธรรมเพราะนี่คือเวบธรรมมะ เหมือนท่านกรัซกายโพสท์ธรรมมะนับร้อยนับพันกระทู้นั่นแหละครับ แต่ผมต่างจากที่ท่านโพสท์คือ การเอามาใช้งานจริงในชีวิต

ผมก็เข้าใจเรื่องแม้ค้าขายส้มตำจากท่านแระ เพราะมันก็คงประมาณเดียวกับที่ท่านกรัซกายไม่อาจจะบอกได้ว่าเอาพละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ เพราะโดยพื้นฐานท่านกรัซกายไม่ได้สะสมมาทางนี้ จึงไม่สามารถที่จะกล้าวได้ เหมือนแม่ค้าขายส้มตำทั่ไม่อาจจะเรียนรู้เพอ่มเตินแลเวมาเล่นหุ้นได้แบบท่านกล่าวไว้ ขอบคุณที่เมตตาแสดงความเห็น และแบ่งปันความรู้ครับ

:b8: :b8: :b8:

ส่วนเจ้าสัวเขาก็มีธรรมและหลักการของเขาแน่นอนจึงหยัดยืนได้อย่างนี้ ไม่ใช่จับพลัดจับผลูมารวยมา้ก่งใช่มั้ยครับ ดังนั้นเราก็ต้องหาแนวทางการยึดเป็นหลักจึดหมายให้เดินไปถึงใช่มั้ยครับ

อย่างไรก็ขอบคุณท่านครับ :b8: :b8:


อ้างคำพูด:
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ สรุปง่ายๆคือ ท่านกรัซกายไม่สามารถบอกได้ว่าจะเอา พละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ


ก็ทำงานที่เราผิดชอบให้สำเร็จด้วยดี งานสำเร็จด้วยดีนั่นแหละเป็นพละธรรมแล้ว :b1: :b1:

อ้างคำพูด:
ที่ถามธรรมเพราะนี่คือเวบธรรมมะ เหมือนท่านกรัซกายโพสท์ธรรมมะนับร้อยนับพันกระทู้นั่นแหละครับ
แต่ผมต่างจากที่ท่านโพสท์คือ การเอามาใช้งานจริงในชีวิต


พละธรรม มี ๕ ได้แก่อะไรบ้างขอรับ

แล้วคุณเอาหลักมาใช้งานจริงได้ยังไงยกตัวอย่างให้เห็นภาพด้วยขอรับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ม.ค. 2019, 15:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
อ้างคำพูด:
ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ

ก็อย่างที่บอกข้างบน เรามีอาชีพอะไร ก็ทำสิ่งนั้นงานนั้นให้สำเร็จลุล่วง เมื่องานสำเร็จแปลว่าธรรมะเข้าหมดแล้ว ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า มุ่งแต่ทำงานให้ดีให้เสร็จ นึกออกไหมครับ

เรามีอาชีพขายส้มตำ ก็ทำสิ่งนั้นให้เสร็จ ให้สำเร็จ ขายหนมครก ก็ทำให้เสร็จ ให้สำเร็จ ตามสติปัญญาของเรา แค่นี้ :b32: มิใช่เรามีสติปัญญาแค่นั้นเพียงนั้น ดันไปเล่นหุ้น ไปสมัครเป็นกัปตันขับเครื่องบิน :b13:


:b35: :b35: :b35: สาธุเยี่ยมครับ

แล้วมีหลักอะไรบ้างทำให้งานสำเร็จครับ หรือไม่ต้องมี ไม่ต้องคิด หลับหูหลับตาทำไปสำเร็จก็แปลว่าธรรมมะเข้าหมดแล้วอย่างนั้นหราครับ แล้วงานจะออกมาดีได้สำเร็จได้โดยไม่ต้องมีหลักอะไรหราครับ :b32: :b32: :b32:

แล้วคนที่ขายส้มตำ จะไม่สามารถศึกษาเรียนรู้เล่นหุ้นได้หรือครับ แล้วลูกคนขายส้มตำจะไม่สามารถเรียนสอบนักบินได้หรอครับ :b32: :b32: :b32:

อีกอย่างนะที่เราเรียนหนังสือกัน บางอย่างเราก็ไม่ได้ใช้แล้วให้เราเรียนทำไม ผมก็คิดนะ :b9: :b9: :b9:

โดยส่วนตัวแล้วท่านกรัซกายทำงานอะไรครับ เล่นหุ้นหราครับ :b12: :b12:

แนะนำเพิ่มเติมด้วยครับ :b12: :b12: :b12:

แต่จนแล้วจนรอดท่านกรัซกายก็ไม่กล่าวถึงพละ ๕ ในการทำงานบ้างเลย เห็นท่านกรัซกายรู้ธรรมเยอะนะครับดังนั้นใช้ธรรมไหนบ้างมาปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจำวันครีบ ???


อิอิ คุณก็จะเอาแต่ธรรมะ อยากได้อยากมีธรรมะ บ้าธรรมะ :b32:

ก็บอกแล้วว่า เรามีปัญญาคือรู้เรื่องตำส้มตำ ก็ตำไปขายไป ทำให้ดีให้อร่อย ทำให้งานซึ่งเป็นอาชีพเรานั้นล่วงไป ธรรมะมันเข้าอยู่ขณะทำ โดยที่ไม่ต้องไปรู้มันหรอกว่ามีอะไรบ้าง วัดเอาจากงานที่ทำนั้น

ไปถามเจ้าสัวซีพีดูสิ รู้จักพละธรรม 5 ไหม รู้จักอินทรีย์ 5 ไหม รู้จักอิทธิบาท 4 ไหม มีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ เขาจะพูดสำเนียงไทยผสมจีน ผงม่ายลู้ว่าพาละมีเฒ่าไหร่อาลัยบ้าง ฯลฯ



ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ สรุปง่ายๆคือ ท่านกรัซกายไม่สามารถบอกได้ว่าจะเอา พละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ

ที่ถามธรรมเพราะนี่คือเวบธรรมมะ เหมือนท่านกรัซกายโพสท์ธรรมมะนับร้อยนับพันกระทู้นั่นแหละครับ แต่ผมต่างจากที่ท่านโพสท์คือ การเอามาใช้งานจริงในชีวิต

ผมก็เข้าใจเรื่องแม้ค้าขายส้มตำจากท่านแระ เพราะมันก็คงประมาณเดียวกับที่ท่านกรัซกายไม่อาจจะบอกได้ว่าเอาพละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ เพราะโดยพื้นฐานท่านกรัซกายไม่ได้สะสมมาทางนี้ จึงไม่สามารถที่จะกล้าวได้ เหมือนแม่ค้าขายส้มตำทั่ไม่อาจจะเรียนรู้เพอ่มเตินแลเวมาเล่นหุ้นได้แบบท่านกล่าวไว้ ขอบคุณที่เมตตาแสดงความเห็น และแบ่งปันความรู้ครับ

:b8: :b8: :b8:

ส่วนเจ้าสัวเขาก็มีธรรมและหลักการของเขาแน่นอนจึงหยัดยืนได้อย่างนี้ ไม่ใช่จับพลัดจับผลูมารวยมา้ก่งใช่มั้ยครับ ดังนั้นเราก็ต้องหาแนวทางการยึดเป็นหลักจึดหมายให้เดินไปถึงใช่มั้ยครับ

อย่างไรก็ขอบคุณท่านครับ :b8: :b8:


อ้างคำพูด:
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ สรุปง่ายๆคือ ท่านกรัซกายไม่สามารถบอกได้ว่าจะเอา พละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ


ก็ทำงานที่เราผิดชอบให้สำเร็จด้วยดี งานสำเร็จด้วยดีนั่นแหละเป็นพละธรรมแล้ว :b1: :b1:

อ้างคำพูด:
ที่ถามธรรมเพราะนี่คือเวบธรรมมะ เหมือนท่านกรัซกายโพสท์ธรรมมะนับร้อยนับพันกระทู้นั่นแหละครับ
แต่ผมต่างจากที่ท่านโพสท์คือ การเอามาใช้งานจริงในชีวิต


พละธรรม มี ๕ ได้แก่อะไรบ้างขอรับ

แล้วคุณเอาหลักมาใช้งานจริงได้ยังไงยกตัวอย่างให้เห็นภาพด้วยขอรับ



สาธุขอบพระคุณท่านกรัซกายครับที่เมตตา ที่ท่านกล่าวมาว่าทำให้สำเร็จงานออกมาดีมันถูกแล้ว ซึ่งเป็นในส่วนของอิทธิบาท ๔ ซึ่งผมจะขออนุญาตท่านกรัซกายและผู้รู้ทุกท่านโพสท์กล่าวต่อไป

ส่วนตอนนี้จะกล่าวถึงพละ ๕ ก่อน ซึ่งจะมาเขียนตอนค่ำ ตอนนี้รอไปหาหมอก่อนครับ แก่แล้วนั่งหน้าคอมนานเอวผมไปแระ โรคออฟฟิซซินโดมครับ

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ม.ค. 2019, 19:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:

อ้างคำพูด:
สาธุขอบพระคุณท่านกรัซกายครับที่เมตตา ที่ท่านกล่าวมาว่าทำให้สำเร็จงานออกมาดีมันถูกแล้ว ซึ่งเป็นในส่วนของอิทธิบาท ๔ ซึ่งผมจะขออนุญาตท่านกรัซกายและผู้รู้ทุกท่านโพสท์กล่าวต่อไป

ส่วนตอนนี้จะกล่าวถึงพละ ๕ ก่อน ซึ่งจะมาเขียนตอนค่ำ ตอนนี้รอไปหาหมอก่อนครับ แก่แล้วนั่งหน้าคอมนานเอวผมไปแระ โรคออฟฟิซซินโดมครับ


ขอให้หายในเร็ววันนะครับ ขออภัย คุณ อากาศ อายุ s006
แล้วครับ ถึงว่าตัวเองแก่แล้ว

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ม.ค. 2019, 20:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
อ้างคำพูด:
ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ

ก็อย่างที่บอกข้างบน เรามีอาชีพอะไร ก็ทำสิ่งนั้นงานนั้นให้สำเร็จลุล่วง เมื่องานสำเร็จแปลว่าธรรมะเข้าหมดแล้ว ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า มุ่งแต่ทำงานให้ดีให้เสร็จ นึกออกไหมครับ

เรามีอาชีพขายส้มตำ ก็ทำสิ่งนั้นให้เสร็จ ให้สำเร็จ ขายหนมครก ก็ทำให้เสร็จ ให้สำเร็จ ตามสติปัญญาของเรา แค่นี้ :b32: มิใช่เรามีสติปัญญาแค่นั้นเพียงนั้น ดันไปเล่นหุ้น ไปสมัครเป็นกัปตันขับเครื่องบิน :b13:


:b35: :b35: :b35: สาธุเยี่ยมครับ

แล้วมีหลักอะไรบ้างทำให้งานสำเร็จครับ หรือไม่ต้องมี ไม่ต้องคิด หลับหูหลับตาทำไปสำเร็จก็แปลว่าธรรมมะเข้าหมดแล้วอย่างนั้นหราครับ แล้วงานจะออกมาดีได้สำเร็จได้โดยไม่ต้องมีหลักอะไรหราครับ :b32: :b32: :b32:

แล้วคนที่ขายส้มตำ จะไม่สามารถศึกษาเรียนรู้เล่นหุ้นได้หรือครับ แล้วลูกคนขายส้มตำจะไม่สามารถเรียนสอบนักบินได้หรอครับ :b32: :b32: :b32:

อีกอย่างนะที่เราเรียนหนังสือกัน บางอย่างเราก็ไม่ได้ใช้แล้วให้เราเรียนทำไม ผมก็คิดนะ :b9: :b9: :b9:

โดยส่วนตัวแล้วท่านกรัซกายทำงานอะไรครับ เล่นหุ้นหราครับ :b12: :b12:

แนะนำเพิ่มเติมด้วยครับ :b12: :b12: :b12:

แต่จนแล้วจนรอดท่านกรัซกายก็ไม่กล่าวถึงพละ ๕ ในการทำงานบ้างเลย เห็นท่านกรัซกายรู้ธรรมเยอะนะครับดังนั้นใช้ธรรมไหนบ้างมาปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจำวันครีบ ???


อิอิ คุณก็จะเอาแต่ธรรมะ อยากได้อยากมีธรรมะ บ้าธรรมะ :b32:

ก็บอกแล้วว่า เรามีปัญญาคือรู้เรื่องตำส้มตำ ก็ตำไปขายไป ทำให้ดีให้อร่อย ทำให้งานซึ่งเป็นอาชีพเรานั้นล่วงไป ธรรมะมันเข้าอยู่ขณะทำ โดยที่ไม่ต้องไปรู้มันหรอกว่ามีอะไรบ้าง วัดเอาจากงานที่ทำนั้น

ไปถามเจ้าสัวซีพีดูสิ รู้จักพละธรรม 5 ไหม รู้จักอินทรีย์ 5 ไหม รู้จักอิทธิบาท 4 ไหม มีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ เขาจะพูดสำเนียงไทยผสมจีน ผงม่ายลู้ว่าพาละมีเฒ่าไหร่อาลัยบ้าง ฯลฯ



ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ สรุปง่ายๆคือ ท่านกรัซกายไม่สามารถบอกได้ว่าจะเอา พละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ

ที่ถามธรรมเพราะนี่คือเวบธรรมมะ เหมือนท่านกรัซกายโพสท์ธรรมมะนับร้อยนับพันกระทู้นั่นแหละครับ แต่ผมต่างจากที่ท่านโพสท์คือ การเอามาใช้งานจริงในชีวิต

ผมก็เข้าใจเรื่องแม้ค้าขายส้มตำจากท่านแระ เพราะมันก็คงประมาณเดียวกับที่ท่านกรัซกายไม่อาจจะบอกได้ว่าเอาพละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ เพราะโดยพื้นฐานท่านกรัซกายไม่ได้สะสมมาทางนี้ จึงไม่สามารถที่จะกล้าวได้ เหมือนแม่ค้าขายส้มตำทั่ไม่อาจจะเรียนรู้เพอ่มเตินแลเวมาเล่นหุ้นได้แบบท่านกล่าวไว้ ขอบคุณที่เมตตาแสดงความเห็น และแบ่งปันความรู้ครับ

:b8: :b8: :b8:

ส่วนเจ้าสัวเขาก็มีธรรมและหลักการของเขาแน่นอนจึงหยัดยืนได้อย่างนี้ ไม่ใช่จับพลัดจับผลูมารวยมา้ก่งใช่มั้ยครับ ดังนั้นเราก็ต้องหาแนวทางการยึดเป็นหลักจึดหมายให้เดินไปถึงใช่มั้ยครับ

อย่างไรก็ขอบคุณท่านครับ :b8: :b8:


อ้างคำพูด:
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ สรุปง่ายๆคือ ท่านกรัซกายไม่สามารถบอกได้ว่าจะเอา พละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ


ก็ทำงานที่เราผิดชอบให้สำเร็จด้วยดี งานสำเร็จด้วยดีนั่นแหละเป็นพละธรรมแล้ว :b1: :b1:

อ้างคำพูด:
ที่ถามธรรมเพราะนี่คือเวบธรรมมะ เหมือนท่านกรัซกายโพสท์ธรรมมะนับร้อยนับพันกระทู้นั่นแหละครับ
แต่ผมต่างจากที่ท่านโพสท์คือ การเอามาใช้งานจริงในชีวิต


พละธรรม มี ๕ ได้แก่อะไรบ้างขอรับ

แล้วคุณเอาหลักมาใช้งานจริงได้ยังไงยกตัวอย่างให้เห็นภาพด้วยขอรับ



สาธุขอบพระคุณท่านกรัซกายครับที่เมตตา ที่ท่านกล่าวมาว่าทำให้สำเร็จงานออกมาดีมันถูกแล้ว ซึ่งเป็นในส่วนของอิทธิบาท ๔ ซึ่งผมจะขออนุญาตท่านกรัซกายและผู้รู้ทุกท่านโพสท์กล่าวต่อไป

ส่วนตอนนี้จะกล่าวถึงพละ ๕ ก่อน ซึ่งจะมาเขียนตอนค่ำ ตอนนี้รอไปหาหมอก่อนครับ แก่แล้วนั่งหน้าคอมนานเอวผมไปแระ โรคออฟฟิซซินโดมครับ



ทานอาหารกี่มื้อขอรับ

อายุมากแล้ว ศึกษา กท.นี้ดูครับ

viewtopic.php?f=1&t=57009

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ม.ค. 2019, 15:21 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
อ้างคำพูด:
ท่านกรัซกายยกเอาพละ ๕ มาใช้ในการทำงานดำรงชีพอย่างไรครับ

ก็อย่างที่บอกข้างบน เรามีอาชีพอะไร ก็ทำสิ่งนั้นงานนั้นให้สำเร็จลุล่วง เมื่องานสำเร็จแปลว่าธรรมะเข้าหมดแล้ว ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า มุ่งแต่ทำงานให้ดีให้เสร็จ นึกออกไหมครับ

เรามีอาชีพขายส้มตำ ก็ทำสิ่งนั้นให้เสร็จ ให้สำเร็จ ขายหนมครก ก็ทำให้เสร็จ ให้สำเร็จ ตามสติปัญญาของเรา แค่นี้ :b32: มิใช่เรามีสติปัญญาแค่นั้นเพียงนั้น ดันไปเล่นหุ้น ไปสมัครเป็นกัปตันขับเครื่องบิน :b13:


:b35: :b35: :b35: สาธุเยี่ยมครับ

แล้วมีหลักอะไรบ้างทำให้งานสำเร็จครับ หรือไม่ต้องมี ไม่ต้องคิด หลับหูหลับตาทำไปสำเร็จก็แปลว่าธรรมมะเข้าหมดแล้วอย่างนั้นหราครับ แล้วงานจะออกมาดีได้สำเร็จได้โดยไม่ต้องมีหลักอะไรหราครับ :b32: :b32: :b32:

แล้วคนที่ขายส้มตำ จะไม่สามารถศึกษาเรียนรู้เล่นหุ้นได้หรือครับ แล้วลูกคนขายส้มตำจะไม่สามารถเรียนสอบนักบินได้หรอครับ :b32: :b32: :b32:

อีกอย่างนะที่เราเรียนหนังสือกัน บางอย่างเราก็ไม่ได้ใช้แล้วให้เราเรียนทำไม ผมก็คิดนะ :b9: :b9: :b9:

โดยส่วนตัวแล้วท่านกรัซกายทำงานอะไรครับ เล่นหุ้นหราครับ :b12: :b12:

แนะนำเพิ่มเติมด้วยครับ :b12: :b12: :b12:

แต่จนแล้วจนรอดท่านกรัซกายก็ไม่กล่าวถึงพละ ๕ ในการทำงานบ้างเลย เห็นท่านกรัซกายรู้ธรรมเยอะนะครับดังนั้นใช้ธรรมไหนบ้างมาปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจำวันครีบ ???


อิอิ คุณก็จะเอาแต่ธรรมะ อยากได้อยากมีธรรมะ บ้าธรรมะ :b32:

ก็บอกแล้วว่า เรามีปัญญาคือรู้เรื่องตำส้มตำ ก็ตำไปขายไป ทำให้ดีให้อร่อย ทำให้งานซึ่งเป็นอาชีพเรานั้นล่วงไป ธรรมะมันเข้าอยู่ขณะทำ โดยที่ไม่ต้องไปรู้มันหรอกว่ามีอะไรบ้าง วัดเอาจากงานที่ทำนั้น

ไปถามเจ้าสัวซีพีดูสิ รู้จักพละธรรม 5 ไหม รู้จักอินทรีย์ 5 ไหม รู้จักอิทธิบาท 4 ไหม มีอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ เขาจะพูดสำเนียงไทยผสมจีน ผงม่ายลู้ว่าพาละมีเฒ่าไหร่อาลัยบ้าง ฯลฯ



ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ สรุปง่ายๆคือ ท่านกรัซกายไม่สามารถบอกได้ว่าจะเอา พละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ

ที่ถามธรรมเพราะนี่คือเวบธรรมมะ เหมือนท่านกรัซกายโพสท์ธรรมมะนับร้อยนับพันกระทู้นั่นแหละครับ แต่ผมต่างจากที่ท่านโพสท์คือ การเอามาใช้งานจริงในชีวิต

ผมก็เข้าใจเรื่องแม้ค้าขายส้มตำจากท่านแระ เพราะมันก็คงประมาณเดียวกับที่ท่านกรัซกายไม่อาจจะบอกได้ว่าเอาพละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ เพราะโดยพื้นฐานท่านกรัซกายไม่ได้สะสมมาทางนี้ จึงไม่สามารถที่จะกล้าวได้ เหมือนแม่ค้าขายส้มตำทั่ไม่อาจจะเรียนรู้เพอ่มเตินแลเวมาเล่นหุ้นได้แบบท่านกล่าวไว้ ขอบคุณที่เมตตาแสดงความเห็น และแบ่งปันความรู้ครับ

:b8: :b8: :b8:

ส่วนเจ้าสัวเขาก็มีธรรมและหลักการของเขาแน่นอนจึงหยัดยืนได้อย่างนี้ ไม่ใช่จับพลัดจับผลูมารวยมา้ก่งใช่มั้ยครับ ดังนั้นเราก็ต้องหาแนวทางการยึดเป็นหลักจึดหมายให้เดินไปถึงใช่มั้ยครับ

อย่างไรก็ขอบคุณท่านครับ :b8: :b8:


อ้างคำพูด:
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ สรุปง่ายๆคือ ท่านกรัซกายไม่สามารถบอกได้ว่าจะเอา พละ ๕ มาใช้ยังไงใช่ปะครับ


ก็ทำงานที่เราผิดชอบให้สำเร็จด้วยดี งานสำเร็จด้วยดีนั่นแหละเป็นพละธรรมแล้ว :b1: :b1:

อ้างคำพูด:
ที่ถามธรรมเพราะนี่คือเวบธรรมมะ เหมือนท่านกรัซกายโพสท์ธรรมมะนับร้อยนับพันกระทู้นั่นแหละครับ
แต่ผมต่างจากที่ท่านโพสท์คือ การเอามาใช้งานจริงในชีวิต


พละธรรม มี ๕ ได้แก่อะไรบ้างขอรับ

แล้วคุณเอาหลักมาใช้งานจริงได้ยังไงยกตัวอย่างให้เห็นภาพด้วยขอรับ



สาธุขอบพระคุณท่านกรัซกายครับที่เมตตา ที่ท่านกล่าวมาว่าทำให้สำเร็จงานออกมาดีมันถูกแล้ว ซึ่งเป็นในส่วนของอิทธิบาท ๔ ซึ่งผมจะขออนุญาตท่านกรัซกายและผู้รู้ทุกท่านโพสท์กล่าวต่อไป

ส่วนตอนนี้จะกล่าวถึงพละ ๕ ก่อน ซึ่งจะมาเขียนตอนค่ำ ตอนนี้รอไปหาหมอก่อนครับ แก่แล้วนั่งหน้าคอมนานเอวผมไปแระ โรคออฟฟิซซินโดมครับ



ทานอาหารกี่มื้อขอรับ

อายุมากแล้ว ศึกษา กท.นี้ดูครับ

viewtopic.php?f=1&t=57009


ขอบพระคุณท่านกรัซกายที่แนะนำสิ่งดีๆให้ครับ

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ม.ค. 2019, 17:05 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ทุกอย่างที่ผมเขียนนี้มาจากการเรียนรู้ศึกษาทั้งทางธรรม อันเป็นธรรมที่พระพุทธเข้าตรัสสอน โดยมีพระสงฆ์สาวกพ่อแม่ครูบาอาจารย์นำพระธรรมนั้นมาเผยแพร่และสอนให้ผมได้มีโอกาสเรียนรู้ตาม และความรู้ทางโลกที่ผมเรียนรู้ศึกษามาแล้ว ..นำมาประยุกต์พลิกแพลงใช้ร่วมกัน ซึ่งให้ผลที่ดี จึงเขียนกระทู้นี้ขึ้นมาเพื่อหวังเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่คนทำงานหรือสาขาอาชีพวุฒิภาวะต่างๆ ซึ่งไม่ได้คัดลอกหรืออ่านหรือเอาแนวทางของใครมาทั้งสิ้น และไม่ใช่สิ่งที่ครูอาจารย์ท่านใดสอนโดยตรง ..โดยผมเชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมสอนทั้งฆราวาสและสงฆ์ ดังนั้นก็ย่อมมีธรรมในการใช้ครองเรือนและประกอบกิจการงานต่างๆ ซึ่งนอกจากคำสอนเพื่อบรรลุธรรมโดยส่วนเดียวในแบบสงฆ์ เพราะธรรมพระพุทธเจ้ามีทั้งแบบสะสมเหตุบารมี(สาสวะ) และ ธรรมเพื่อตัดสังโยชน์ให้บรรลุมรรคผลนิพพานของพระอริยะสาวก(อนาสวะ) ..แต่ไม่ได้หมายความว่าพระพุทธเจ้าตรัสสอนในแบบที่ผมจะแสดงอยู่นี้ ดังนั้นท่านใดที่เข้ามาเยี่ยมชมกระทู้นี้ต้องพิจารณาแยกแยะด้วย หากใช้ประโยชน์ได้จริงก็แสดงว่าธรรมของพระพุทธเจ้านี้มีคุณสูงมากให้ผลได้ไม่จำกัดกาล แต่หากผิดพลาดไม่ตรงจริงประการใดก็ขอท่านมั้งหลายจงรู้ไว้ว่าสิ่งนี้มาจากความรู้ความคิดของปุถุชนอย่างผมที่นำพระธรรมอันสูงของพระพุทธเจ้ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันตามจริงเท่านั้น ไม่ใช่พระพุทธเจ้าตรัสสอนอย่างนี้ หรือไม่ใช่ครูบาอาจารย์ท่านใดสอนให้ทำ บัดนี้ผมจะขออนุญาตยกตัวอย่างธรรมอันว่าด้วย พละ ๕ มาประยุกต์ใช้ในกานดำรงชีพและกิจการงานต่างๆ


ธรรมของพระพุทธเจ้าเมื่อเราจะนำไปใช้ในทางใด เราต้องแยกเป็นแบบ สาสวะ คือ ความเป็นเหตุสะสมบุญบารมีแก่ขันธ์ และ อนาสวะ เป็นองค์ธรรมที่เป็นไปเพื่อละสังโยชน์


..ดังนั้น พละ ๕ ในทางธรรมนี้เป็นไปเพื่อบรรลุธรรมละสังโยชน์ ..ส่วนการนำ พละ ๕ มาใช้ทางโลกจะเป็นไปเพื่อสะสมเหตุบารมีและการดำรงชีพที่ดีในชีวิต.. ในที่นี้จะกล่าวในการนำมาใช้ในการดำรงชีพทางโลกและเป็นไปเพื่อสะสมเหตุอันเป็นบุญบารมีแก่ขันธ์ ..พละ ๕ คืออะไร หมายถึงกำลัง ๕ อย่าง เป็นอินทรีย์ คือ กิริยาที่เป็นหลักชักนำหนุนนำไป อินทรีย์ ๕ ที่แก่กล้าจะช่วยเกื้อหนุนนำให้ทำกิจการงานต่างๆเป็นเพื่อความสำเร็จ ส่วนอิทธิบาท ๔ คือ ฤทธิ์ ความสำเร็จใดๆต้องอาศัยอิทธิบาท ๔ จึงจะสำเร็จลงได้ด้วยดี แต่ถ้าไม่มีพละ ๕ ก็จะไม่มีหลักไม่มีกำลังทำให้อิทธิบาท ๔ สัมฤทธิ์ผลได้ ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องรู้จักพละ ๕ ก่อน เพราะอิทธิบาท ๔ ก็อยู่ร่วมกับพละ ๕ ดังว่า..

พละ ๕ คือ กำลัง ๕ มี ๕ อย่างดังนี้

๑. ศรัทธาพละ คือ กำลังความเชื่อ ที่นำไปสู่การกระทำ ประพฤติ ปฏิบัติ ศัรทธาจึงเป็นใหญ่ ฉันทะก็เกิดได้ด้วยศรัทธา

๒. วิริยะพละ คือ กำลังความเพียร ที่ก่อให้เกิดกำลังใจภายในตั้งใจมุ่งมัน ขยัน ทำในกิจการงานต่างๆโดยไม่ย่อท้อ คลายความตั้งใจ ประครองใจไว้ ให้ทำสำเร็จในกิจการงานต่างๆไปได้

๓. สติพละ คือ กำลังในระลึกรู้ ทำให้รู้เท่าทันการกระทำทางใจต่างๆ เมื่อระลึกได้ก็ทำให้แยกแยะถูก ผิด ดี ชั่วได้ เมื่อสติเกิดระลึกได้เมื่อไร สัมปะชัญญะความรู้ตัวก็จะเกิดมีในเมื่อนั้น จะทำให้รู้ทันทีว่ากำลังทำกิจการงานใดแบบไหนอยู่ อยู่ในสภาพแวดล้อมใด สถานการณ์ยังไง

๔. สมาธิพละ คือ กำลังใจที่ตั้งมั่น ความตั้งมั่นทำให้ใจทำให้ใจผ่องใส มีกำลังแน่วแน่ไม่ฟุ้งซ่าน เคลิ้มไหลง่าย ทำให้ขณใดที่เราทำกิจการงานใดๆอยู่จะไม่สัดส่ายออกไหลเรื่องอื่นต่างๆที่ตนคิด หรือรับรู้กระทบสัมผัส จนละทิ้งงานไป ในช่วงขณะนั้น ทำให้งานเสีย

๕. ปัญญาพละ คือ กำลังความรู้ ความรู้แบ่งเป็น 2 คือ รอบรู้ในเรื่องต่างๆมีเหตุมีผลแจ้งชัดแทงตลอด ซึ่งได้จากการศึกษาเรียนรู้ การพิจารณาด้วยเหตุและผล ตลอดไปจนถึงกานลงมือทำให้รู้เห็นตามจริง และ ปฏิภาณไหวพริบ คือความคล่องแคล่วว่องไวในการเลือกเฟ้นหรือลำดับนำความรู้ความสามารถที่มีนั้นออกมาใช้งานแก้ปัญหา อันเป็นสิ่งที่จะครอบคลุมเสริมปัญญาให้สมบูรณ์ ซึ่งได้จากการหัดการสังเกตุ ยั้งคิดพิจารณา การฝึกจำลองสถานการณ์เพื่อหาคำตอบหรือทางแก้ไขในสถานการณ์ต่างๆจนเห็นทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุดได้ เปรียบเทียบ เทียบเคียง ดูความเป็นไปได้ พิจารณามองออกนอกกรอบเรื่องราวที่รับรู้อยู่ดูว่าทำไมสิ่งที่เรารับรู้อยู่นี้จึงเป็นไปในแบบนั้น มันมีหลักดำเนินไปอย่างไรเพื่ออะไร แก่นแท้ของสิ่งนั้นๆคืออะไร ตลอดจนรู้จักพลิกแพลงนำไปใช้ประโยชน์ หรือการประยุกต์ใช้ นี่เป็นความแยบคาย


----------------------------------------------------


การนำพละ ๕ ไปใช้งาน

๑. ศรัทธาพละ คือ กำลังความเชื่อ พระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก ได้ทรงสั่งสอนสัตว์ให้มีศรัทธาด้วยปัญญา นั่นคือ การจะเชื่อสิ่งใดก็ตามแต่ เราต้องมีความยั้งคิดพิจารณาดูเหตุและผล มีความรอบรู้ในสิ่งนั้นๆ ตลอดไปจนถึงสามารถรับรู้สัมผัสได้ตามจริงถึงสิ่งนั้น เหมือนเราดูการกระทำและผลตอบรับสะท้อนกลับที่มีเกิดขึ้นตามจริงนั่นเอง

๑.๑ การนำศรัทธาพละในทางธรรมเอามาใช้ดำรงชีพในชีวิตทางโลก ต้องมีความรู้ความเข้าใจในศรัทธาพละที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนดังนี้ว่า..
..ประการที่ ๑. องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสสอนให้มีความยั่งคิดแยกแยะมีเหตุมีผล เป็นผู้ใฝ่รู้ ศึกษาเรียนรู้ เพื่อปัญญาความรู้ในตนอันจะเป็นธรรมที่ใช้คู่กับศรัทธา จนเราเกิดความรู้ในสิ่งนั้นตามจริงจึงปลงใจเชื่อ ไม่ใช่เชื่อสิ่งที่ลูบคลำไม่ได้สัมผัสไม่ได้จนหลงไป ใครพูดบอกก็อะไรก็เชื่อหมดอย่างนี้คือเชื่อโดยขาดปัญญา ไม่พิจารณายั้งคิดมีเหตุมีผล
..ประการที่ ๒. องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงตรัสสอนให้ดูการกระทำ และผลของการกระทำเป็นหลัก เมื่อเราทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งไป สิ่งนั้นย่อมมีผลสะท้อนกลับมาเสมอ เหมือนดังว่าเรากำก้อนหินแล้วบีบแรง ยิ่งแรงยิ่งเจ็บ หมดแรงตนเองไม่พอยังเจ็บเพิ่มอีก อีกประการคือ..เมื่อใดที่มีใจคิดอกุศลไม่ว่าจะด้วย โลภะก็ดี ราคะก็ดี โทสะก็ดี โมหะก็ดี ใจเราย่อมร้อนเป็นไฟ ยิ่งกระทำตามไฟกิเลสในใจนั้นเมื่อไหร่ เราก็ต้องได้รับความทุกข์ร้อนอยู่ไม่เป็นสุข ไม่อาจจะอยู่อย่างเย็นกายสบายใจได้เลย ซึ่งจะมีตอบกลับให้เราได้รับมากหรือน้อยก็ตามแต่แรงกระทำที่เราทำลงไปด้วยไฟกิเลสนั้น แต่หากเรามีใจเป็นกุศล ใจเราก็ไม่เร่าร้อน มีความคิดดี พูดดี ทำดี เราก็ไม่ได้รับผลสืบต่อสะท้อนกลับอันเร่าร้อน มีแต่ความดีที่มีสะท้อนกลับมาหาเรา ..นั่นคือการกระทำและผลการสะท้อนกลับ ที่เรียกว่า วิบากกรรม คือ ผลสืบต่อ ความต่อเนื่องของการกระทำ นี่เป็นความรู้จากผลของการกระทำ
..ประการที่ ๓. เมื่อพิจารณาให้เห็นตามจริงในทั้ง ๒ ข้อข้างต้นก็จะรู้ชัดถึงพระปัญญาอันยิ่งของพระพุทธเจ้า อันเป็นผู้มีพระปัญญาอย่างหาที่สุดไม่ได้

..ดังนี้เมื่อเรามีศรัทธาด้วยปัญญาแล้ว จะเกิดหิริ โอตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป จึงทำให้เราคอยยับยั้งช่างใจในการกระทำสิ่งใดมี่เป็นบาปอกุศลทั้งปวง แล้วตั้งมั่นประพฤติตนทำในกรรมดี เพื่อไม่ให้ตนต้องรับผลสะท้อนกลับของกรรมชั่ว หรือที่เราเรียกว่าวิบากกรรมอันเป็นบาปอกุศลนั้นย้อนมาสู่ตน
..ซึ่งข้อนี้สำคัญทุกองค์กรย่อมปลูกฝังและต้องการพนักงานผู้ร่วมงานอย่างนี้ ทำให้เกิดหลักสูตรในการทำงานอันเรียกว่า ความฉลาดในจริยธรรมการประพฤติตัว หรือ MQ (Moral Quotient) ความฉลาดทางศีลธรรม จริยธรรม คือมีความประพฤติดี รู้จักผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจริยธรรม ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งตอบคำถามว่าการที่เรามีคนที่ IQ ดี EQ สูง แต่ถ้ามีระดับจริยธรรมต่ำก็อาจใช้ ความฉลาดไปในทางที่ไม่ถูกต้องก็เป็นได้ MQ จึงเน้นเรื่องการปลูกฝังความดีงาม ซึ่งตรงกับหลักศาสนาหลายศาสนาที่สอนให้คนเป็นคนดี เพราะในแต่ละองค์กรก็จะมีพนักงานหายเชื้อชาติศาสนาจึงสอนให้ปลูกฝังความดีตามศาสนานั้นๆที่เขายึดถืออยู่

- ส่วนศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าจะทรงตรัสสอนให้ใช้ปัญญาทำความเข้าใจ มีเหตุมีผล ทำให้มีหิริ ความละอายต่อบาป และ โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อบาป จึงมี MQ ที่พร้อมดีแล้ว

**ข้อนี้ เป็น MQ คือความฉลาดในทางศีลธรรม ที่ทางโลกและทุกองค์กรต้องการ**

..ดังนี้เมื่อเรามีศรัทธาด้วยปัญญาแล้ว จะเกิดหิริ โอตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ไม่กระทำบาปกรรมอกุศลอันชั่ว แล้วประพฤติตนอยู่ใน ทาน และ ศีล ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ดีแล้ว ให้เราดำรงตนอยู่ในความเอื้อเฟื้อ เว้นจากความเบียดเบียน นี่คือศรัทธาด้วยปัญญาอันประกอบด้วยศีล สืบต่อให้ดำรงชีพอยู่ในความสุจริตชอบธรรม ซึ่งข้อนี้ทางโลก หรือองค์กรต่างๆ ต่างต้องการบุคลาครอย่างนี้ จึงมีการจัดอบรมสัมมนาเพื่อให้บุคคากรพนักงานให้มีส่วนร่วมด้วยกันทั้งที่รู้จักกันและไม่รู้จัก เพื่อเป็นการอยู่ร่วมกันในสังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เรียกว่าความฉลาดทางสังคม หรือ SQ (Social Quotient) ความฉลาดทางสังคมที่จะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น เพราะมนุษย์ไม่สามารถอยู่คนเดียวได้ ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่ง กันและกัน มีน้ำใจเอื้ออาทรต่อเพื่อนร่วมสังคมด้วยกัน ไม่คิดว่าตนเองเหนือกว่าใคร ต้องมีใจเปิดกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น อีกทั้งต้องไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ซึ่งในปัจจุบันนักวิจัยยืนยันว่า IQ มีส่วนเกี่ยวข้องกับความสำเร็จในชีวิต เช่น การทำงาน การเรียน แค่ 20% เท่านั้นครับ ดังนั้นจึงไม่ควรยึดถือแต่เพียงระดับความฉลาดของสติปัญญา (ทางโลก) เท่านั้น ลองให้ความสนใจกับ Q ที่เหลือด้วยก็จะทำให้เรา เป็นผู้หนึ่งที่ดำรงชีวิตอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข

**ข้อนี้ เป็น SQ คือความฉลาดในทางสังคม ที่ทางโลกและทุกองค์กรต้องการ**


ขอขอบคุณที่มาของ MQ และ SQ จาก http://www.rtna.ac.th/pages/7q.html


๑.๒ การเอาศรัทธาพละมาใช้ในการทำงานประกอบอาชีพทางโลก เราก็เอาความเชื่อด้วยปัญญามาใช้ดังนี้

..ทางโลก ศรัทธานี่สำคัญ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะใช้ปัญญาความรู้คู่ด้วยเสมอๆ หากมีคนมาชักจูงสิ่งใดแล้วตนไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆก็อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ เราต้องขวานขวานศึกษาเรียนรู้ทำความเข้าใจในเรื่องนั้นให้ถ่องแท้ก่อน แล้วเทียบเคียงดูความความจริง การกระผล และผลของการกระทำตามจริง นี่จึงชื่อว่า ศรัทธาด้วยปัญญา

..ซึ่งเราจะเห็นมากมายคนรวยก็ดี คนจนก็ดี คนที่มีความรู้จบดอกเตอร์ก็ดี พ่อค้า แม่ค้า คนแก่ก็ดี วัยกลางคน หรือเด็กวัยรุ่นก็ดี มีความศรัทธามากโดยขาดปัญญาจะหลงเชื่อง่ายแล้วถูกหลอกเอาง่ายๆ
ยกตัวอย่างเช่น มีคนมาบอกให้เข้ากลุ่มเงินปันผล การแชร์ลูกโซ่ การลงทุนซื้อหุ้น การเปิดกลุ่มกิจการต่างๆ โดยอ้างว่าได้เงินปันผลดี ได้ลตอบแทนดี คนมาชักจูงโชว์การแต่งตัวฐานะการพูดจาดี เป็นคนสนิทบ้าง คนไม่รู้จักบ้าง โดยทั้งที่ตนไม่มีความรู้เรื่องนี้เลย แล้วไม่คิดจะศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมทำความรู้ ความเข้าใจก่อน แล้วพิจารณาดูเหตุผล สภาพการณ์ความเป็นจริง ตัวตนของธุรกิจต่างๆว่ามีอยู่จริงไหม เมื่อมีกลุ่มที่เราจะลงทุนด้วยนั้นดำเนินกิิจการอะไร แบบไหน มีอายุการทำงานยังไง เป็นที่รู้จักดีแค่ไหน หรือ บางคนที่ถูกหลอกไปขายตัวหรือขายแรงงานทาสในต่างประเทศก็ด้วยสาเหตุเดียวกัน คือ ความโลภ และความไม่มี เพราะไม่มีจึงโหยหา หากรู้จักพอดีกห็ไม่โหยหา หากมีแล้วก็ไม่ร้อนรนจะเอา แต่หากมีอล้วยังจะเอาอีกไม่รู้จักพอนี่ก็โลภ แล้วก็หลงเชื่อตามเขา นั่นเพราะโลภอยากได้ โหยหา จงตกลงใจ แล้วก็ถูกหลอกเอาทรัพย์มีให้เห็นมากมาย

..พระพุทธเจ้าผู้รู้แจ้งโลก..จึงทรงตจรัสสอนเสมอว่า "ให้เชื่อด้วยปัญญา" ใช้ปัญญาพิจารณาอย่างเป็นเหตุเป็นผลกับความจริง ดูที่การกระทำผลของการกระทำนั้น เหตุปัจจัยที่ต่อไปยังผลตามจริงในขณะนั้นๆ หากยังไม่แน่ชัดแจ้งจริงก็ให้ศึกษาเรียนรู้ทำความเข้าใจให้ชัดแจ้งจริงเสียก่อนจึงปลงใจเชื่อ ซึ่งจะเห็นว่า ศรัทธาของพระพุทธเจ้าคือการศึกษาเรียนรู้ ทำความรู้ความเข้าใจด้วยความมีเหตุและผล เห็นประโยชน์ และคึวามไม่มีประโยชน์ รู้จักและเห็นในกรรม และผลของกรรมที่สัมผัสได้ ลูบคลำได้จริง จึงปลงใจเชื่อ

..ดังนั้นก่อนจะเชื่อสิ่งใด ให้ทำความรู็ความเข้าใจในสิ่งนั้นชัดเจนก่อน ดูความเป็นเหตุ-เป็นปัจจัยสืบต่อ-เป็นผล ดูการกระทำและผลจากการกระทำนั้นๆ หากยังไม่แจ้งชัดก็ให้ สุตะ คือเรียนรู้ศีกษาเพิ่มเติมจนเข้าใจจริงจึงปลงใจเชื่อ เพราะความเชื่อนี้เป็นจุดสำคัญยิ่ง เป็นผู้นำ เป็นผู้เปิดทัศนคติความคิด เหมือนเป็นผู้สั่งการนำทัพในนามรบให้กระทำต่างๆด้วยความยินดี(ฉันทะ) แล้วก็จะเกิดความตั้งใจมุ่นมั่นทำตามมา(วิริยะ) ธรรมพระพุทธเจ้าจึงยกศรัทธาไว้เป็นลำดับต้น ดังนี้แม้อิทธิบาท ๔ ก็อาศัยความศรัทธาเป็นลักษณะนำไปเป็นธรรมที่เกื้อหนุนคู่กัน คือ เมื่อปลงใจเชื่อ ก็เกิดเป็นความเห็น ทัศนะคติ มุมมอง แนวทางความคิด มีใจยินดีทำในสิ่งที่เชื่อนั้น ดังนี้ ศรัทธาในพระพุทธศาสนาพระพุทธศาสดาจึงสอนให้เชื่อด้วยปัญญา ซึ่งต้องอาศัยความศึกษาเรียนรู้ในสัทธรรมคือของจริง ..แล้วเราจะเอาสัทธรรมที่ใดเล่า..
- ทางธรรม ให้เรียนรู้คำสอนของพระพุทธเจ้าตามพระสูตร พระไตรปิฏก ธรรมที่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ท่านสอน แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่าพระสงฆ์องค์ใดของจริง ครูบาอาจารย์ท่านสอนให้ดูพระธรรมคำสอนของท่านจะมีทั้ง้เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุดตามพระพุทธศาสดา พระธรรมหลักๆที่พระพุทธเจ้าสอนแก่ฆราวาส คือ อริยะสัจ ๔, พละ ๕, อริยวัฑฒิ ๕, อิทธิบาท ๔, หัวใจนักปราชญ์, หัวใจเศรษฐี, ฆราวาสธรรม ๔, อริยะทรัพย์ ๗ เป็นต้น หากศรัทธาในพระพุทธเจ้าเราก็ต้องยึดเอาหลักธรรมนี้ๆเป็นต้นเจริญให้ดี
- ทางโลก ให้ศึกษาเรียนรู้วิชาความรู้ต่างๆ หลักการดำเนินงานต่างๆ ทำความรู้ความเข้าใจในงานที่ตนทำอยู่หรือสิ่งที่ตนสนใจเพิ่มเติม ศึกษาจนแจ้งชัดถ่องแท้ แล้วเรียนรู้เทคนิคการน้ำไปใช้ ตรวจสอบจับจุดวิเคราะห์เหตุผลที่ใช้หลักการนั้นๆในงาน อยู่ในสถานการณ์ใดบ้าง ใช้งานแบบไหน เป็นไปในทิศทางใด จึงลงมือทำ มันก็เหมือนเราอ่านคู่มือการใช้งานอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งๆ เมื่อเรียนรู้วิธีใช้ดี ก็เรียนรู้หลักการตั้งค่าให้แสดงผลได้ตามต้องการ


- เมื่อลงมือทำสิ่งใดเราก็ต้องมีแรงหวังด้วยความเชื่อว่ามันจะเป็นไปได้ด้วยดี มีความสำเร็จที่ดีแน่นอนเรา ก็จะเป็นการเปิดทัศนคติตนเอง Attitude ให้กว้างขึ้นเพื่อจะทำให้งานที่ตนทำออกมาสำเร็จไปได้ด้วยดีบริบูรณ์ ซึ่งต้องมีหัวใจหลักในการทำงานนั้นๆ คือ
1. หาความสุขกับงานที่ทำ ชอบงานนี้ ยินดีในงานนี้ๆ มีความสุขไปกับงานนั้นๆ หากหาความสุขกับงานที่ตนทำที่ตนเรียนรู้ศึกษาไม่ได้ ก็ให้คิดหาวิธรีเล่นกับมันเหมือเป็นของเล่น เป็นเกมส์ แต่ไม่ได้หมายความว่าเหลาะแหละกับมัน เพียงแต่เราหาจุดที่มีความยินดีพอใจกับมัน เพื่อให้มีแรงกำลังสืบต่อนั่นเอง ดังนี้เมื่อลงมือทำงานด้วยความยินดี เราก็จะมีกำลังใจภายในประครองใจมุ่งมั่นทำในงานไม่ย่อท้อ
2. มีความมุ่งมั่นไม่ย่อท้อในงานที่ทำ ขยันหมั่นเพียร สู้ขยันทำให้มันสำเร็จลงด้วยดีตามเป้าหมายที่เราวางไว้ จะได้รับการตอบรับที่มีไม่มากก็น้อย
3. กระตือรือร้นเอาใจใส่รับผิดชอบ ตั้งใจทำงาน ฝักใฝ่ให้งานออกมาดี ไม่วอกแวก มีใจจดจ่อในงานที่ทำ ตั้งหน้าไปให้ถึงที่สุด ให้งานออกมาดีที่สุด
4. ทำความแยบคายให้แจ้งแทงตลอด คือทำความรู้ความเข้าใจพิจารณาด้วยเหตุและผลจนรู้แจ้งชัดตามจริง ต้องคอยตรวจสอบหาจุดบกพร่องนั้นแล้วใช้ปัญญาเรียนรู้หาวิธีแก้ไขให้มันดี ทั้งจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ที่ใช้ในงานอันเป็นแนวทางสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ทำงานมีลำดับ มีแผนเป็นขั้นเป็นตอน ทั้งการเปิดรับเรียนรู้ศึกษาที่ยิ่งๆขึ้น และ..ระลึกอยู่เสมอๆว่า ทุกอย่างมันมีอุปสรรคเสมอ อุปสรรคนั้นคือบททดสอบปัญญาการแก้ปัญหาของเราเพื่อลับปัญญาของเราให้สูงยิ่งขึ้น เมื่อพบเจอปัญหาให้ใช้ปัญญาแก้ไขไม่ใช้ความรู้สึก หากเราไม่รู้วิธีแก้ก็เรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อแก้ไขให้มันถูกต้องและงานออกมาดี ทุกอย่างจะผ่านพ้นไปได้ด้วยดี

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แก้ไขล่าสุดโดย แค่อากาศ เมื่อ 28 ม.ค. 2019, 03:22, แก้ไขแล้ว 10 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ม.ค. 2019, 19:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
ทุกอย่างที่ผมเขียนนี้มาจากการเรียนรู้ศึกษาทั้งทางธรรม อันเป็นธรรมที่พระพุทธเข้าตรัสสอน โดยมีพระสงฆ์สาวกพ่อแม่ครูบาอาจารย์นำพระธรรมนั้นมาเผยแพร่และสอนให้ผมได้มีโอกาสเรียนรู้ตาม และความรู้ทางโลกที่ผมเรียนรู้ศึกษามาแล้ว ..นำมาประยุกต์พลิกแพลงใช้ร่วมกัน ซึ่งให้ผลที่ดี จึงเขียนกระทู้นี้ขึ้นมาเพื่อหวังเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่คนทำงานหรือสาขาอาชีพวุฒิภาวะต่างๆ ซึ่งไม่ได้คัดลอกหรืออ่านหรือเอาแนวทางของใครมาทั้งสิ้น และไม่ใช่สิ่งที่ครูอาจารย์ท่านใดสอนโดยตรง ..โดยผมเชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมสอนทั้งฆราวาสและสงฆ์ ดังนั้นก็ย่อมมีธรรมในการใช้ครองเรือนและประกอบกิจการงานต่างๆ ซึ่งนอกจากคำสอนเพื่อบรรลุธรรมโดยส่วนเดียวในแบบสงฆ์ เพราะธรรมพระพุทธเจ้ามีทั้งแบบสะสมเหตุบารมี(สาสวะ) และ ธรรมเพื่อตัดสังโยชน์ให้บรรลุมรรคผลนิพพานของพระอริยะสาวก(อนาสวะ) ..แต่ไม่ได้หมายความว่าพระพุทธเจ้าตรัสสอนในแบบที่ผมจะแสดงอยู่นี้ ดังนั้นท่านใดที่เข้ามาเยี่ยมชมกระทู้นี้ต้องพิจารณาแยกแยะด้วย หากใช้ประโยชน์ได้จริงก็แสดงว่าธรรมของพระพุทธเจ้านี้มีคุณสูงมากให้ผลได้ไม่จำกัดกาล แต่หากผิดพลาดไม่ตรงจริงประการใดก็ขอท่านมั้งหลายจงรู้ไว้ว่าสิ่งนี้มาจากความรู้ความคิดของปุถุชนอย่างผมที่นำพระธรรมอันสูงของพระพุทธเจ้ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันตามจริงเท่านั้น ไม่ใช่พระพุทธเจ้าตรัสสอนอย่างนี้ หรือไม่ใช่ครูบาอาจารย์ท่านใดสอนให้ทำ บัดนี้ผมจะขออนุญาตยกตัวอย่างธรรมอันว่าด้วย พละ ๕ มาประยุกต์ใช้ในกานดำรงชีพและกิจการงานต่างๆ


ธรรมของพระพุทธเจ้าเมื่อเราจะนำไปใช้ในทางใด เราต้องแยกเป็นแบบ สาสวะ คือ ความเป็นเหตุสะสมบุญบารมีแก่ขันธ์ และ อนาสวะ เป็นองค์ธรรมที่เป็นไปเพื่อละสังโยชน์


..ดังนั้น พละ ๕ ในทางธรรมนี้เป็นไปเพื่อบรรลุธรรมละสังโยชน์ ..ส่วนการนำ พละ ๕ มาใช้ทางโลกจะเป็นไปเพื่อสะสมเหตุบารมีและการดำรงชีพที่ดีในชีวิต.. ในที่นี้จะกล่าวในการนำมาใช้ในการดำรงชีพทางโลกและเป็นไปเพื่อสะสมเหตุอันเป็นบุญบารมีแก่ขันธ์ ..พละ ๕ คืออะไร หมายถึงกำลัง ๕ อย่าง เป็นอินทรีย์ คือ กิริยาที่เป็นหลักชักนำหนุนนำไป อินทรีย์ ๕ ที่แก่กล้าจะช่วยเกื้อหนุนนำให้ทำกิจการงานต่างๆเป็นเพื่อความสำเร็จ ส่วนอิทธิบาท ๔ คือ ฤทธิ์ ความสำเร็จใดๆต้องอาศัยอิทธิบาท ๔ จึงจะสำเร็จลงได้ด้วยดี แต่ถ้าไม่มีพละ ๕ ก็จะไม่มีหลักไม่มีกำลังทำให้อิทธิบาท ๔ สัมฤทธิ์ผลได้ ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องรู้จักพละ ๕ ก่อน เพราะอิทธิบาท ๔ ก็อยู่ร่วมกับพละ ๕ ดังว่า..

พละ ๕ คือ กำลัง ๕ มี ๕ อย่างดังนี้

๑. ศรัทธาพละ คือ กำลังความเชื่อ ที่นำไปสู่การกระทำ ประพฤติ ปฏิบัติ ศัรทธาจึงเป็นใหญ่ ฉันทะก็เกิดได้ด้วยศรัทธา

๒. วิริยะพละ คือ กำลังความเพียร ที่ก่อให้เกิดกำลังใจภายในตั้งใจมุ่งมัน ขยัน ทำในกิจการงานต่างๆโดยไม่ย่อท้อ คลายความตั้งใจ ประครองใจไว้ ให้ทำสำเร็จในกิจการงานต่างๆไปได้

๓. สติพละ คือ กำลังในระลึกรู้ ทำให้รู้เท่าทันการกระทำทางใจต่างๆ เมื่อระลึกได้ก็ทำให้แยกแยะถูก ผิด ดี ชั่วได้ เมื่อสติเกิดระลึกได้เมื่อไร สัมปะชัญญะความรู้ตัวก็จะเกิดมีในเมื่อนั้น จะทำให้รู้ทันทีว่ากำลังทำกิจการงานใดแบบไหนอยู่ อยู่ในสภาพแวดล้อมใด สถานการณ์ยังไง

๔. สมาธิพละ คือ กำลังใจที่ตั้งมั่น ความตั้งมั่นทำให้ใจทำให้ใจผ่องใส มีกำลังแน่วแน่ไม่ฟุ้งซ่าน เคลิ้มไหลง่าย ทำให้ขณใดที่เราทำกิจการงานใดๆอยู่จะไม่สัดส่ายออกไหลเรื่องอื่นต่างๆที่ตนคิด หรือรับรู้กระทบสัมผัส จนละทิ้งงานไป ในช่วงขณะนั้น ทำให้งานเสีย

๕. ปัญญาพละ คือ กำลังความรู้ ความรู้แบ่งเป็น 2 คือ รอบรู้ในเรื่องต่างๆมีเหตุมีผลแจ้งชัดแทงตลอด ซึ่งได้จากการศึกษาเรียนรู้ การพิจารณาด้วยเหตุและผล ตลอดไปจนถึงกานลงมือทำให้รู้เห็นตามจริง และ ปฏิภาณไหวพริบ คือความคล่องแคล่วว่องไวในการเลือกเฟ้นหรือลำดับนำความรู้ความสามารถที่มีนั้นออกมาใช้งานแก้ปัญหา อันเป็นสิ่งที่จะครอบคลุมเสริมปัญญาให้สมบูรณ์ ซึ่งได้จากการหัดการสังเกตุ ยั้งคิดพิจารณา การฝึกจำลองสถานการณ์เพื่อหาคำตอบหรือทางแก้ไขในสถานการณ์ต่างๆจนเห็นทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุดได้ เปรียบเทียบ เทียบเคียง ดูความเป็นไปได้ พิจารณามองออกนอกกรอบเรื่องราวที่รับรู้อยู่ดูว่าทำไมสิ่งที่เรารับรู้อยู่นี้จึงเป็นไปในแบบนั้น มันมีหลักดำเนินไปอย่างไรเพื่ออะไร แก่นแท้ของสิ่งนั้นๆคืออะไร ตลอดจนรู้จักพลิกแพลงนำไปใช้ประโยชน์ หรือการประยุกต์ใช้ นี่เป็นความแยบคาย


----------------------------------------------------


การนำพละ ๕ ไปใช้งาน

๑. ศรัทธาพละ คือ กำลังความเชื่อ พระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก ได้ทรงสั่งสอนสัตว์ให้มีศรัทธาด้วยปัญญา นั่นคือ การจะเชื่อสิ่งใดก็ตามแต่ เราต้องมีความยั้งคิดพิจารณาดูเหตุและผล มีความรอบรู้ในสิ่งนั้นๆ ตลอดไปจนถึงสามารถรับรู้สัมผัสได้ตามจริงถึงสิ่งนั้น เหมือนเราดูการกระทำและผลตอบรับสะท้อนกลับที่มีเกิดขึ้นตามจริงนั่นเอง

๑.๑ การนำศรัทธาพละในทางธรรมเอามาใช้ดำรงชีพในชีวิตทางโลก ต้องมีความรู้ความเข้าใจในศรัทธาพละที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนดังนี้ว่า..
..ประการที่ ๑. องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสสอนให้มีความยั่งคิดแยกแยะมีเหตุมีผล เป็นผู้ใฝ่รู้ ศึกษาเรียนรู้ เพื่อปัญญาความรู้ในตนอันจะเป็นธรรมที่ใช้คู่กับศรัทธา จนเราเกิดความรู้ในสิ่งนั้นตามจริงจึงปลงใจเชื่อ ไม่ใช่เชื่อสิ่งที่ลูบคลำไม่ได้สัมผัสไม่ได้จนหลงไป ใครพูดบอกก็อะไรก็เชื่อหมดอย่างนี้คือเชื่อโดยขาดปัญญา ไม่พิจารณายั้งคิดมีเหตุมีผล
..ประการที่ ๒. องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงตรัสสอนให้ดูการกระทำ และผลของการกระทำเป็นหลัก เมื่อเราทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งไป สิ่งนั้นย่อมมีผลสะท้อนกลับมาเสมอ เหมือนดังว่าเรากำก้อนหินแล้วบีบแรง ยิ่งแรงยิ่งเจ็บ หมดแรงตนเองไม่พอยังเจ็บเพิ่มอีก อีกประการคือ..เมื่อใดที่มีใจคิดอกุศลไม่ว่าจะด้วย โลภะก็ดี ราคะก็ดี โทสะก็ดี โมหะก็ดี ใจเราย่อมร้อนเป็นไฟ ยิ่งกระทำตามไฟกิเลสในใจนั้นเมื่อไหร่ เราก็ต้องได้รับความทุกข์ร้อนอยู่ไม่เป็นสุข ไม่อาจจะอยู่อย่างเย็นกายสบายใจได้เลย ซึ่งจะมีตอบกลับให้เราได้รับมากหรือน้อยก็ตามแต่แรงกระทำที่เราทำลงไปด้วยไฟกิเลสนั้น แต่หากเรามีใจเป็นกุศล ใจเราก็ไม่เร่าร้อน มีความคิดดี พูดดี ทำดี เราก็ไม่ได้รับผลสืบต่อสะท้อนกลับอันเร่าร้อน มีแต่ความดีที่มีสะท้อนกลับมาหาเรา ..นั่นคือการกระทำและผลการสะท้อนกลับ ที่เรียกว่า วิบากกรรม คือ ผลสืบต่อ ความต่อเนื่องของการกระทำ นี่เป็นความรู้จากผลของการกระทำ
..ประการที่ ๓. เมื่อพิจารณาให้เห็นตามจริงในทั้ง ๒ ข้อข้างต้นก็จะรู้ชัดถึงพระปัญญาอันยิ่งของพระพุทธเจ้า อันเป็นผู้มีพระปัญญาอย่างหาที่สุดไม่ได้

..ดังนี้เมื่อเรามีศรัทธาด้วยปัญญาแล้ว จะเกิดหิริ โอตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป จึงทำให้เราคอยยับยั้งช่างใจในการกระทำสิ่งใดมี่เป็นบาปอกุศลทั้งปวง แล้วตั้งมั่นประพฤติตนทำในกรรมดี เพื่อไม่ให้ตนต้องรับผลสะท้อนกลับของกรรมชั่ว หรือที่เราเรียกว่าวิบากกรรมอันเป็นบาปอกุศลนั้นย้อนมาสู่ตน
..ซึ่งข้อนี้สำคัญทุกองค์กรย่อมปลูกฝังและต้องการพนักงานผู้ร่วมงานอย่างนี้ ทำให้เกิดหลักสูตรในการทำงานอันเรียกว่า ความฉลาดในจริยธรรมการประพฤติตัว หรือ MQ (Moral Quotient) ความฉลาดทางศีลธรรม จริยธรรม คือมีความประพฤติดี รู้จักผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจริยธรรม ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งตอบคำถามว่าการที่เรามีคนที่ IQ ดี EQ สูง แต่ถ้ามีระดับจริยธรรมต่ำก็อาจใช้ ความฉลาดไปในทางที่ไม่ถูกต้องก็เป็นได้ MQ จึงเน้นเรื่องการปลูกฝังความดีงาม ซึ่งตรงกับหลักศาสนาหลายศาสนาที่สอนให้คนเป็นคนดี เพราะในแต่ละองค์กรก็จะมีพนักงานหายเชื้อชาติศาสนาจึงสอนให้ปลูกฝังความดีตามศาสนานั้นๆที่เขายึดถืออยู่

- ส่วนศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าจะทรงตรัสสอนให้ใช้ปัญญาทำความเข้าใจ มีเหตุมีผล ทำให้มีหิริ ความละอายต่อบาป และ โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อบาป จึงมี MQ ที่พร้อมดีแล้ว

**ข้อนี้ เป็น MQ คือความฉลาดในทางศีลธรรม ที่ทางโลกและทุกองค์กรต้องการ**

..ดังนี้เมื่อเรามีศรัทธาด้วยปัญญาแล้ว จะเกิดหิริ โอตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ไม่กระทำบาปกรรมอกุศลอันชั่ว แล้วประพฤติตนอยู่ใน ทาน และ ศีล ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ดีแล้ว ให้เราดำรงตนอยู่ในความเอื้อเฟื้อ เว้นจากความเบียดเบียน นี่คือศรัทธาด้วยปัญญาอันประกอบด้วยศีล สืบต่อให้ดำรงชีพอยู่ในความสุจริตชอบธรรม ซึ่งข้อนี้ทางโลก หรือองค์กรต่างๆ ต่างต้องการบุคลาครอย่างนี้ จึงมีการจัดอบรมสัมมนาเพื่อให้บุคคากรพนักงานให้มีส่วนร่วมด้วยกันทั้งที่รู้จักกันและไม่รู้จัก เพื่อเป็นการอยู่ร่วมกันในสังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เรียกว่าความฉลาดทางสังคม หรือ SQ (Social Quotient) ความฉลาดทางสังคมที่จะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น เพราะมนุษย์ไม่สามารถอยู่คนเดียวได้ ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่ง กันและกัน มีน้ำใจเอื้ออาทรต่อเพื่อนร่วมสังคมด้วยกัน ไม่คิดว่าตนเองเหนือกว่าใคร ต้องมีใจเปิดกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น อีกทั้งต้องไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ซึ่งในปัจจุบันนักวิจัยยืนยันว่า IQ มีส่วนเกี่ยวข้องกับความสำเร็จในชีวิต เช่น การทำงาน การเรียน แค่ 20% เท่านั้นครับ ดังนั้นจึงไม่ควรยึดถือแต่เพียงระดับความฉลาดของสติปัญญา (ทางโลก) เท่านั้น ลองให้ความสนใจกับ Q ที่เหลือด้วยก็จะทำให้เรา เป็นผู้หนึ่งที่ดำรงชีวิตอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข

**ข้อนี้ เป็น SQ คือความฉลาดในทางสังคม ที่ทางโลกและทุกองค์กรต้องการ**


ขอขอบคุณที่มาของ MQ และ SQ จาก http://www.rtna.ac.th/pages/7q.html


๑.๒ การเอาศรัทธาพละมาใช้ในการทำงานประกอบอาชีพทางโลก เราก็เอาความเชื่อด้วยปัญญามาใช้ดังนี้



เด๋วมาเขียนต่อครับ ปวดหลังไม่ไหวนั่งหน้าคอมนาน



เยอะแยะเลย แบบนี้ก็พิมพ์ใส่กระดาษ A 4 ไปด้วย เช่น ตำส้มตำป๊อกก็หันมองที ป๊อก มองอีกที ป๊อกๆๆๆ มองหลายรอบกว่าส้มตำจะเข้าที ลูกค้านั่งรอน้ำลายไหลเลย :b25:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ม.ค. 2019, 19:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
ทุกอย่างที่ผมเขียนนี้มาจากการเรียนรู้ศึกษาทั้งทางธรรม อันเป็นธรรมที่พระพุทธเข้าตรัสสอน โดยมีพระสงฆ์สาวกพ่อแม่ครูบาอาจารย์นำพระธรรมนั้นมาเผยแพร่และสอนให้ผมได้มีโอกาสเรียนรู้ตาม และความรู้ทางโลกที่ผมเรียนรู้ศึกษามาแล้ว ..นำมาประยุกต์พลิกแพลงใช้ร่วมกัน ซึ่งให้ผลที่ดี จึงเขียนกระทู้นี้ขึ้นมาเพื่อหวังเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่คนทำงานหรือสาขาอาชีพวุฒิภาวะต่างๆ ซึ่งไม่ได้คัดลอกหรืออ่านหรือเอาแนวทางของใครมาทั้งสิ้น และไม่ใช่สิ่งที่ครูอาจารย์ท่านใดสอนโดยตรง ..โดยผมเชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมสอนทั้งฆราวาสและสงฆ์ ดังนั้นก็ย่อมมีธรรมในการใช้ครองเรือนและประกอบกิจการงานต่างๆ ซึ่งนอกจากคำสอนเพื่อบรรลุธรรมโดยส่วนเดียวในแบบสงฆ์ เพราะธรรมพระพุทธเจ้ามีทั้งแบบสะสมเหตุบารมี(สาสวะ) และ ธรรมเพื่อตัดสังโยชน์ให้บรรลุมรรคผลนิพพานของพระอริยะสาวก(อนาสวะ) ..แต่ไม่ได้หมายความว่าพระพุทธเจ้าตรัสสอนในแบบที่ผมจะแสดงอยู่นี้ ดังนั้นท่านใดที่เข้ามาเยี่ยมชมกระทู้นี้ต้องพิจารณาแยกแยะด้วย หากใช้ประโยชน์ได้จริงก็แสดงว่าธรรมของพระพุทธเจ้านี้มีคุณสูงมากให้ผลได้ไม่จำกัดกาล แต่หากผิดพลาดไม่ตรงจริงประการใดก็ขอท่านมั้งหลายจงรู้ไว้ว่าสิ่งนี้มาจากความรู้ความคิดของปุถุชนอย่างผมที่นำพระธรรมอันสูงของพระพุทธเจ้ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันตามจริงเท่านั้น ไม่ใช่พระพุทธเจ้าตรัสสอนอย่างนี้ หรือไม่ใช่ครูบาอาจารย์ท่านใดสอนให้ทำ บัดนี้ผมจะขออนุญาตยกตัวอย่างธรรมอันว่าด้วย พละ ๕ มาประยุกต์ใช้ในกานดำรงชีพและกิจการงานต่างๆ


ธรรมของพระพุทธเจ้าเมื่อเราจะนำไปใช้ในทางใด เราต้องแยกเป็นแบบ สาสวะ คือ ความเป็นเหตุสะสมบุญบารมีแก่ขันธ์ และ อนาสวะ เป็นองค์ธรรมที่เป็นไปเพื่อละสังโยชน์


..ดังนั้น พละ ๕ ในทางธรรมนี้เป็นไปเพื่อบรรลุธรรมละสังโยชน์ ..ส่วนการนำ พละ ๕ มาใช้ทางโลกจะเป็นไปเพื่อสะสมเหตุบารมีและการดำรงชีพที่ดีในชีวิต.. ในที่นี้จะกล่าวในการนำมาใช้ในการดำรงชีพทางโลกและเป็นไปเพื่อสะสมเหตุอันเป็นบุญบารมีแก่ขันธ์ ..พละ ๕ คืออะไร หมายถึงกำลัง ๕ อย่าง เป็นอินทรีย์ คือ กิริยาที่เป็นหลักชักนำหนุนนำไป อินทรีย์ ๕ ที่แก่กล้าจะช่วยเกื้อหนุนนำให้ทำกิจการงานต่างๆเป็นเพื่อความสำเร็จ ส่วนอิทธิบาท ๔ คือ ฤทธิ์ ความสำเร็จใดๆต้องอาศัยอิทธิบาท ๔ จึงจะสำเร็จลงได้ด้วยดี แต่ถ้าไม่มีพละ ๕ ก็จะไม่มีหลักไม่มีกำลังทำให้อิทธิบาท ๔ สัมฤทธิ์ผลได้ ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องรู้จักพละ ๕ ก่อน เพราะอิทธิบาท ๔ ก็อยู่ร่วมกับพละ ๕ ดังว่า..

พละ ๕ คือ กำลัง ๕ มี ๕ อย่างดังนี้

๑. ศรัทธาพละ คือ กำลังความเชื่อ ที่นำไปสู่การกระทำ ประพฤติ ปฏิบัติ ศัรทธาจึงเป็นใหญ่ ฉันทะก็เกิดได้ด้วยศรัทธา

๒. วิริยะพละ คือ กำลังความเพียร ที่ก่อให้เกิดกำลังใจภายในตั้งใจมุ่งมัน ขยัน ทำในกิจการงานต่างๆโดยไม่ย่อท้อ คลายความตั้งใจ ประครองใจไว้ ให้ทำสำเร็จในกิจการงานต่างๆไปได้

๓. สติพละ คือ กำลังในระลึกรู้ ทำให้รู้เท่าทันการกระทำทางใจต่างๆ เมื่อระลึกได้ก็ทำให้แยกแยะถูก ผิด ดี ชั่วได้ เมื่อสติเกิดระลึกได้เมื่อไร สัมปะชัญญะความรู้ตัวก็จะเกิดมีในเมื่อนั้น จะทำให้รู้ทันทีว่ากำลังทำกิจการงานใดแบบไหนอยู่ อยู่ในสภาพแวดล้อมใด สถานการณ์ยังไง

๔. สมาธิพละ คือ กำลังใจที่ตั้งมั่น ความตั้งมั่นทำให้ใจทำให้ใจผ่องใส มีกำลังแน่วแน่ไม่ฟุ้งซ่าน เคลิ้มไหลง่าย ทำให้ขณใดที่เราทำกิจการงานใดๆอยู่จะไม่สัดส่ายออกไหลเรื่องอื่นต่างๆที่ตนคิด หรือรับรู้กระทบสัมผัส จนละทิ้งงานไป ในช่วงขณะนั้น ทำให้งานเสีย

๕. ปัญญาพละ คือ กำลังความรู้ ความรู้แบ่งเป็น 2 คือ รอบรู้ในเรื่องต่างๆมีเหตุมีผลแจ้งชัดแทงตลอด ซึ่งได้จากการศึกษาเรียนรู้ การพิจารณาด้วยเหตุและผล ตลอดไปจนถึงกานลงมือทำให้รู้เห็นตามจริง และ ปฏิภาณไหวพริบ คือความคล่องแคล่วว่องไวในการเลือกเฟ้นหรือลำดับนำความรู้ความสามารถที่มีนั้นออกมาใช้งานแก้ปัญหา อันเป็นสิ่งที่จะครอบคลุมเสริมปัญญาให้สมบูรณ์ ซึ่งได้จากการหัดการสังเกตุ ยั้งคิดพิจารณา การฝึกจำลองสถานการณ์เพื่อหาคำตอบหรือทางแก้ไขในสถานการณ์ต่างๆจนเห็นทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุดได้ เปรียบเทียบ เทียบเคียง ดูความเป็นไปได้ พิจารณามองออกนอกกรอบเรื่องราวที่รับรู้อยู่ดูว่าทำไมสิ่งที่เรารับรู้อยู่นี้จึงเป็นไปในแบบนั้น มันมีหลักดำเนินไปอย่างไรเพื่ออะไร แก่นแท้ของสิ่งนั้นๆคืออะไร ตลอดจนรู้จักพลิกแพลงนำไปใช้ประโยชน์ หรือการประยุกต์ใช้ นี่เป็นความแยบคาย


----------------------------------------------------


การนำพละ ๕ ไปใช้งาน

๑. ศรัทธาพละ คือ กำลังความเชื่อ พระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก ได้ทรงสั่งสอนสัตว์ให้มีศรัทธาด้วยปัญญา นั่นคือ การจะเชื่อสิ่งใดก็ตามแต่ เราต้องมีความยั้งคิดพิจารณาดูเหตุและผล มีความรอบรู้ในสิ่งนั้นๆ ตลอดไปจนถึงสามารถรับรู้สัมผัสได้ตามจริงถึงสิ่งนั้น เหมือนเราดูการกระทำและผลตอบรับสะท้อนกลับที่มีเกิดขึ้นตามจริงนั่นเอง

๑.๑ การนำศรัทธาพละในทางธรรมเอามาใช้ดำรงชีพในชีวิตทางโลก ต้องมีความรู้ความเข้าใจในศรัทธาพละที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนดังนี้ว่า..
..ประการที่ ๑. องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสสอนให้มีความยั่งคิดแยกแยะมีเหตุมีผล เป็นผู้ใฝ่รู้ ศึกษาเรียนรู้ เพื่อปัญญาความรู้ในตนอันจะเป็นธรรมที่ใช้คู่กับศรัทธา จนเราเกิดความรู้ในสิ่งนั้นตามจริงจึงปลงใจเชื่อ ไม่ใช่เชื่อสิ่งที่ลูบคลำไม่ได้สัมผัสไม่ได้จนหลงไป ใครพูดบอกก็อะไรก็เชื่อหมดอย่างนี้คือเชื่อโดยขาดปัญญา ไม่พิจารณายั้งคิดมีเหตุมีผล
..ประการที่ ๒. องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงตรัสสอนให้ดูการกระทำ และผลของการกระทำเป็นหลัก เมื่อเราทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งไป สิ่งนั้นย่อมมีผลสะท้อนกลับมาเสมอ เหมือนดังว่าเรากำก้อนหินแล้วบีบแรง ยิ่งแรงยิ่งเจ็บ หมดแรงตนเองไม่พอยังเจ็บเพิ่มอีก อีกประการคือ..เมื่อใดที่มีใจคิดอกุศลไม่ว่าจะด้วย โลภะก็ดี ราคะก็ดี โทสะก็ดี โมหะก็ดี ใจเราย่อมร้อนเป็นไฟ ยิ่งกระทำตามไฟกิเลสในใจนั้นเมื่อไหร่ เราก็ต้องได้รับความทุกข์ร้อนอยู่ไม่เป็นสุข ไม่อาจจะอยู่อย่างเย็นกายสบายใจได้เลย ซึ่งจะมีตอบกลับให้เราได้รับมากหรือน้อยก็ตามแต่แรงกระทำที่เราทำลงไปด้วยไฟกิเลสนั้น แต่หากเรามีใจเป็นกุศล ใจเราก็ไม่เร่าร้อน มีความคิดดี พูดดี ทำดี เราก็ไม่ได้รับผลสืบต่อสะท้อนกลับอันเร่าร้อน มีแต่ความดีที่มีสะท้อนกลับมาหาเรา ..นั่นคือการกระทำและผลการสะท้อนกลับ ที่เรียกว่า วิบากกรรม คือ ผลสืบต่อ ความต่อเนื่องของการกระทำ นี่เป็นความรู้จากผลของการกระทำ
..ประการที่ ๓. เมื่อพิจารณาให้เห็นตามจริงในทั้ง ๒ ข้อข้างต้นก็จะรู้ชัดถึงพระปัญญาอันยิ่งของพระพุทธเจ้า อันเป็นผู้มีพระปัญญาอย่างหาที่สุดไม่ได้

..ดังนี้เมื่อเรามีศรัทธาด้วยปัญญาแล้ว จะเกิดหิริ โอตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป จึงทำให้เราคอยยับยั้งช่างใจในการกระทำสิ่งใดมี่เป็นบาปอกุศลทั้งปวง แล้วตั้งมั่นประพฤติตนทำในกรรมดี เพื่อไม่ให้ตนต้องรับผลสะท้อนกลับของกรรมชั่ว หรือที่เราเรียกว่าวิบากกรรมอันเป็นบาปอกุศลนั้นย้อนมาสู่ตน
..ซึ่งข้อนี้สำคัญทุกองค์กรย่อมปลูกฝังและต้องการพนักงานผู้ร่วมงานอย่างนี้ ทำให้เกิดหลักสูตรในการทำงานอันเรียกว่า ความฉลาดในจริยธรรมการประพฤติตัว หรือ MQ (Moral Quotient) ความฉลาดทางศีลธรรม จริยธรรม คือมีความประพฤติดี รู้จักผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจริยธรรม ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งตอบคำถามว่าการที่เรามีคนที่ IQ ดี EQ สูง แต่ถ้ามีระดับจริยธรรมต่ำก็อาจใช้ ความฉลาดไปในทางที่ไม่ถูกต้องก็เป็นได้ MQ จึงเน้นเรื่องการปลูกฝังความดีงาม ซึ่งตรงกับหลักศาสนาหลายศาสนาที่สอนให้คนเป็นคนดี เพราะในแต่ละองค์กรก็จะมีพนักงานหายเชื้อชาติศาสนาจึงสอนให้ปลูกฝังความดีตามศาสนานั้นๆที่เขายึดถืออยู่

- ส่วนศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าจะทรงตรัสสอนให้ใช้ปัญญาทำความเข้าใจ มีเหตุมีผล ทำให้มีหิริ ความละอายต่อบาป และ โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อบาป จึงมี MQ ที่พร้อมดีแล้ว

**ข้อนี้ เป็น MQ คือความฉลาดในทางศีลธรรม ที่ทางโลกและทุกองค์กรต้องการ**

..ดังนี้เมื่อเรามีศรัทธาด้วยปัญญาแล้ว จะเกิดหิริ โอตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ไม่กระทำบาปกรรมอกุศลอันชั่ว แล้วประพฤติตนอยู่ใน ทาน และ ศีล ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ดีแล้ว ให้เราดำรงตนอยู่ในความเอื้อเฟื้อ เว้นจากความเบียดเบียน นี่คือศรัทธาด้วยปัญญาอันประกอบด้วยศีล สืบต่อให้ดำรงชีพอยู่ในความสุจริตชอบธรรม ซึ่งข้อนี้ทางโลก หรือองค์กรต่างๆ ต่างต้องการบุคลาครอย่างนี้ จึงมีการจัดอบรมสัมมนาเพื่อให้บุคคากรพนักงานให้มีส่วนร่วมด้วยกันทั้งที่รู้จักกันและไม่รู้จัก เพื่อเป็นการอยู่ร่วมกันในสังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เรียกว่าความฉลาดทางสังคม หรือ SQ (Social Quotient) ความฉลาดทางสังคมที่จะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น เพราะมนุษย์ไม่สามารถอยู่คนเดียวได้ ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่ง กันและกัน มีน้ำใจเอื้ออาทรต่อเพื่อนร่วมสังคมด้วยกัน ไม่คิดว่าตนเองเหนือกว่าใคร ต้องมีใจเปิดกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น อีกทั้งต้องไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ซึ่งในปัจจุบันนักวิจัยยืนยันว่า IQ มีส่วนเกี่ยวข้องกับความสำเร็จในชีวิต เช่น การทำงาน การเรียน แค่ 20% เท่านั้นครับ ดังนั้นจึงไม่ควรยึดถือแต่เพียงระดับความฉลาดของสติปัญญา (ทางโลก) เท่านั้น ลองให้ความสนใจกับ Q ที่เหลือด้วยก็จะทำให้เรา เป็นผู้หนึ่งที่ดำรงชีวิตอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข

**ข้อนี้ เป็น SQ คือความฉลาดในทางสังคม ที่ทางโลกและทุกองค์กรต้องการ**


ขอขอบคุณที่มาของ MQ และ SQ จาก http://www.rtna.ac.th/pages/7q.html


๑.๒ การเอาศรัทธาพละมาใช้ในการทำงานประกอบอาชีพทางโลก เราก็เอาความเชื่อด้วยปัญญามาใช้ดังนี้



เด๋วมาเขียนต่อครับ ปวดหลังไม่ไหวนั่งหน้าคอมนาน



เยอะแยะเลย แบบนี้ก็พิมพ์ใส่กระดาษ A 4 ไปด้วย เช่น ตำส้มตำป๊อกก็หันมองที ป๊อก มองอีกที ป๊อกๆๆๆ มองหลายรอบกว่าส้มตำจะเข้าที ลูกค้านั่งรอน้ำลายไหลเลย :b25:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ม.ค. 2019, 20:39 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ทุกอย่างที่ผมเขียนนี้มาจากการเรียนรู้ศึกษาทั้งทางธรรม อันเป็นธรรมที่พระพุทธเข้าตรัสสอน โดยมีพระสงฆ์สาวกพ่อแม่ครูบาอาจารย์นำพระธรรมนั้นมาเผยแพร่และสอนให้ผมได้มีโอกาสเรียนรู้ตาม และความรู้ทางโลกที่ผมเรียนรู้ศึกษามาแล้ว ..นำมาประยุกต์พลิกแพลงใช้ร่วมกัน ซึ่งให้ผลที่ดี จึงเขียนกระทู้นี้ขึ้นมาเพื่อหวังเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่คนทำงานหรือสาขาอาชีพวุฒิภาวะต่างๆ ซึ่งไม่ได้คัดลอกหรืออ่านหรือเอาแนวทางของใครมาทั้งสิ้น และไม่ใช่สิ่งที่ครูอาจารย์ท่านใดสอนโดยตรง ..โดยผมเชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมสอนทั้งฆราวาสและสงฆ์ ดังนั้นก็ย่อมมีธรรมในการใช้ครองเรือนและประกอบกิจการงานต่างๆ ซึ่งนอกจากคำสอนเพื่อบรรลุธรรมโดยส่วนเดียวในแบบสงฆ์ เพราะธรรมพระพุทธเจ้ามีทั้งแบบสะสมเหตุบารมี(สาสวะ) และ ธรรมเพื่อตัดสังโยชน์ให้บรรลุมรรคผลนิพพานของพระอริยะสาวก(อนาสวะ) ..แต่ไม่ได้หมายความว่าพระพุทธเจ้าตรัสสอนในแบบที่ผมจะแสดงอยู่นี้ ดังนั้นท่านใดที่เข้ามาเยี่ยมชมกระทู้นี้ต้องพิจารณาแยกแยะด้วย หากใช้ประโยชน์ได้จริงก็แสดงว่าธรรมของพระพุทธเจ้านี้มีคุณสูงมากให้ผลได้ไม่จำกัดกาล แต่หากผิดพลาดไม่ตรงจริงประการใดก็ขอท่านมั้งหลายจงรู้ไว้ว่าสิ่งนี้มาจากความรู้ความคิดของปุถุชนอย่างผมที่นำพระธรรมอันสูงของพระพุทธเจ้ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันตามจริงเท่านั้น ไม่ใช่พระพุทธเจ้าตรัสสอนอย่างนี้ หรือไม่ใช่ครูบาอาจารย์ท่านใดสอนให้ทำ บัดนี้ผมจะขออนุญาตยกตัวอย่างธรรมอันว่าด้วย พละ ๕ มาประยุกต์ใช้ในกานดำรงชีพและกิจการงานต่างๆ


ธรรมของพระพุทธเจ้าเมื่อเราจะนำไปใช้ในทางใด เราต้องแยกเป็นแบบ สาสวะ คือ ความเป็นเหตุสะสมบุญบารมีแก่ขันธ์ และ อนาสวะ เป็นองค์ธรรมที่เป็นไปเพื่อละสังโยชน์


..ดังนั้น พละ ๕ ในทางธรรมนี้เป็นไปเพื่อบรรลุธรรมละสังโยชน์ ..ส่วนการนำ พละ ๕ มาใช้ทางโลกจะเป็นไปเพื่อสะสมเหตุบารมีและการดำรงชีพที่ดีในชีวิต.. ในที่นี้จะกล่าวในการนำมาใช้ในการดำรงชีพทางโลกและเป็นไปเพื่อสะสมเหตุอันเป็นบุญบารมีแก่ขันธ์ ..พละ ๕ คืออะไร หมายถึงกำลัง ๕ อย่าง เป็นอินทรีย์ คือ กิริยาที่เป็นหลักชักนำหนุนนำไป อินทรีย์ ๕ ที่แก่กล้าจะช่วยเกื้อหนุนนำให้ทำกิจการงานต่างๆเป็นเพื่อความสำเร็จ ส่วนอิทธิบาท ๔ คือ ฤทธิ์ ความสำเร็จใดๆต้องอาศัยอิทธิบาท ๔ จึงจะสำเร็จลงได้ด้วยดี แต่ถ้าไม่มีพละ ๕ ก็จะไม่มีหลักไม่มีกำลังทำให้อิทธิบาท ๔ สัมฤทธิ์ผลได้ ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องรู้จักพละ ๕ ก่อน เพราะอิทธิบาท ๔ ก็อยู่ร่วมกับพละ ๕ ดังว่า..

พละ ๕ คือ กำลัง ๕ มี ๕ อย่างดังนี้

๑. ศรัทธาพละ คือ กำลังความเชื่อ ที่นำไปสู่การกระทำ ประพฤติ ปฏิบัติ ศัรทธาจึงเป็นใหญ่ ฉันทะก็เกิดได้ด้วยศรัทธา

๒. วิริยะพละ คือ กำลังความเพียร ที่ก่อให้เกิดกำลังใจภายในตั้งใจมุ่งมัน ขยัน ทำในกิจการงานต่างๆโดยไม่ย่อท้อ คลายความตั้งใจ ประครองใจไว้ ให้ทำสำเร็จในกิจการงานต่างๆไปได้

๓. สติพละ คือ กำลังในระลึกรู้ ทำให้รู้เท่าทันการกระทำทางใจต่างๆ เมื่อระลึกได้ก็ทำให้แยกแยะถูก ผิด ดี ชั่วได้ เมื่อสติเกิดระลึกได้เมื่อไร สัมปะชัญญะความรู้ตัวก็จะเกิดมีในเมื่อนั้น จะทำให้รู้ทันทีว่ากำลังทำกิจการงานใดแบบไหนอยู่ อยู่ในสภาพแวดล้อมใด สถานการณ์ยังไง

๔. สมาธิพละ คือ กำลังใจที่ตั้งมั่น ความตั้งมั่นทำให้ใจทำให้ใจผ่องใส มีกำลังแน่วแน่ไม่ฟุ้งซ่าน เคลิ้มไหลง่าย ทำให้ขณใดที่เราทำกิจการงานใดๆอยู่จะไม่สัดส่ายออกไหลเรื่องอื่นต่างๆที่ตนคิด หรือรับรู้กระทบสัมผัส จนละทิ้งงานไป ในช่วงขณะนั้น ทำให้งานเสีย

๕. ปัญญาพละ คือ กำลังความรู้ ความรู้แบ่งเป็น 2 คือ รอบรู้ในเรื่องต่างๆมีเหตุมีผลแจ้งชัดแทงตลอด ซึ่งได้จากการศึกษาเรียนรู้ การพิจารณาด้วยเหตุและผล ตลอดไปจนถึงกานลงมือทำให้รู้เห็นตามจริง และ ปฏิภาณไหวพริบ คือความคล่องแคล่วว่องไวในการเลือกเฟ้นหรือลำดับนำความรู้ความสามารถที่มีนั้นออกมาใช้งานแก้ปัญหา อันเป็นสิ่งที่จะครอบคลุมเสริมปัญญาให้สมบูรณ์ ซึ่งได้จากการหัดการสังเกตุ ยั้งคิดพิจารณา การฝึกจำลองสถานการณ์เพื่อหาคำตอบหรือทางแก้ไขในสถานการณ์ต่างๆจนเห็นทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุดได้ เปรียบเทียบ เทียบเคียง ดูความเป็นไปได้ พิจารณามองออกนอกกรอบเรื่องราวที่รับรู้อยู่ดูว่าทำไมสิ่งที่เรารับรู้อยู่นี้จึงเป็นไปในแบบนั้น มันมีหลักดำเนินไปอย่างไรเพื่ออะไร แก่นแท้ของสิ่งนั้นๆคืออะไร ตลอดจนรู้จักพลิกแพลงนำไปใช้ประโยชน์ หรือการประยุกต์ใช้ นี่เป็นความแยบคาย


----------------------------------------------------


การนำพละ ๕ ไปใช้งาน

๑. ศรัทธาพละ คือ กำลังความเชื่อ พระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก ได้ทรงสั่งสอนสัตว์ให้มีศรัทธาด้วยปัญญา นั่นคือ การจะเชื่อสิ่งใดก็ตามแต่ เราต้องมีความยั้งคิดพิจารณาดูเหตุและผล มีความรอบรู้ในสิ่งนั้นๆ ตลอดไปจนถึงสามารถรับรู้สัมผัสได้ตามจริงถึงสิ่งนั้น เหมือนเราดูการกระทำและผลตอบรับสะท้อนกลับที่มีเกิดขึ้นตามจริงนั่นเอง

๑.๑ การนำศรัทธาพละในทางธรรมเอามาใช้ดำรงชีพในชีวิตทางโลก ต้องมีความรู้ความเข้าใจในศรัทธาพละที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนดังนี้ว่า..
..ประการที่ ๑. องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสสอนให้มีความยั่งคิดแยกแยะมีเหตุมีผล เป็นผู้ใฝ่รู้ ศึกษาเรียนรู้ เพื่อปัญญาความรู้ในตนอันจะเป็นธรรมที่ใช้คู่กับศรัทธา จนเราเกิดความรู้ในสิ่งนั้นตามจริงจึงปลงใจเชื่อ ไม่ใช่เชื่อสิ่งที่ลูบคลำไม่ได้สัมผัสไม่ได้จนหลงไป ใครพูดบอกก็อะไรก็เชื่อหมดอย่างนี้คือเชื่อโดยขาดปัญญา ไม่พิจารณายั้งคิดมีเหตุมีผล
..ประการที่ ๒. องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงตรัสสอนให้ดูการกระทำ และผลของการกระทำเป็นหลัก เมื่อเราทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งไป สิ่งนั้นย่อมมีผลสะท้อนกลับมาเสมอ เหมือนดังว่าเรากำก้อนหินแล้วบีบแรง ยิ่งแรงยิ่งเจ็บ หมดแรงตนเองไม่พอยังเจ็บเพิ่มอีก อีกประการคือ..เมื่อใดที่มีใจคิดอกุศลไม่ว่าจะด้วย โลภะก็ดี ราคะก็ดี โทสะก็ดี โมหะก็ดี ใจเราย่อมร้อนเป็นไฟ ยิ่งกระทำตามไฟกิเลสในใจนั้นเมื่อไหร่ เราก็ต้องได้รับความทุกข์ร้อนอยู่ไม่เป็นสุข ไม่อาจจะอยู่อย่างเย็นกายสบายใจได้เลย ซึ่งจะมีตอบกลับให้เราได้รับมากหรือน้อยก็ตามแต่แรงกระทำที่เราทำลงไปด้วยไฟกิเลสนั้น แต่หากเรามีใจเป็นกุศล ใจเราก็ไม่เร่าร้อน มีความคิดดี พูดดี ทำดี เราก็ไม่ได้รับผลสืบต่อสะท้อนกลับอันเร่าร้อน มีแต่ความดีที่มีสะท้อนกลับมาหาเรา ..นั่นคือการกระทำและผลการสะท้อนกลับ ที่เรียกว่า วิบากกรรม คือ ผลสืบต่อ ความต่อเนื่องของการกระทำ นี่เป็นความรู้จากผลของการกระทำ
..ประการที่ ๓. เมื่อพิจารณาให้เห็นตามจริงในทั้ง ๒ ข้อข้างต้นก็จะรู้ชัดถึงพระปัญญาอันยิ่งของพระพุทธเจ้า อันเป็นผู้มีพระปัญญาอย่างหาที่สุดไม่ได้

..ดังนี้เมื่อเรามีศรัทธาด้วยปัญญาแล้ว จะเกิดหิริ โอตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป จึงทำให้เราคอยยับยั้งช่างใจในการกระทำสิ่งใดมี่เป็นบาปอกุศลทั้งปวง แล้วตั้งมั่นประพฤติตนทำในกรรมดี เพื่อไม่ให้ตนต้องรับผลสะท้อนกลับของกรรมชั่ว หรือที่เราเรียกว่าวิบากกรรมอันเป็นบาปอกุศลนั้นย้อนมาสู่ตน
..ซึ่งข้อนี้สำคัญทุกองค์กรย่อมปลูกฝังและต้องการพนักงานผู้ร่วมงานอย่างนี้ ทำให้เกิดหลักสูตรในการทำงานอันเรียกว่า ความฉลาดในจริยธรรมการประพฤติตัว หรือ MQ (Moral Quotient) ความฉลาดทางศีลธรรม จริยธรรม คือมีความประพฤติดี รู้จักผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจริยธรรม ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งตอบคำถามว่าการที่เรามีคนที่ IQ ดี EQ สูง แต่ถ้ามีระดับจริยธรรมต่ำก็อาจใช้ ความฉลาดไปในทางที่ไม่ถูกต้องก็เป็นได้ MQ จึงเน้นเรื่องการปลูกฝังความดีงาม ซึ่งตรงกับหลักศาสนาหลายศาสนาที่สอนให้คนเป็นคนดี เพราะในแต่ละองค์กรก็จะมีพนักงานหายเชื้อชาติศาสนาจึงสอนให้ปลูกฝังความดีตามศาสนานั้นๆที่เขายึดถืออยู่

- ส่วนศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าจะทรงตรัสสอนให้ใช้ปัญญาทำความเข้าใจ มีเหตุมีผล ทำให้มีหิริ ความละอายต่อบาป และ โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อบาป จึงมี MQ ที่พร้อมดีแล้ว

**ข้อนี้ เป็น MQ คือความฉลาดในทางศีลธรรม ที่ทางโลกและทุกองค์กรต้องการ**

..ดังนี้เมื่อเรามีศรัทธาด้วยปัญญาแล้ว จะเกิดหิริ โอตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ไม่กระทำบาปกรรมอกุศลอันชั่ว แล้วประพฤติตนอยู่ใน ทาน และ ศีล ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ดีแล้ว ให้เราดำรงตนอยู่ในความเอื้อเฟื้อ เว้นจากความเบียดเบียน นี่คือศรัทธาด้วยปัญญาอันประกอบด้วยศีล สืบต่อให้ดำรงชีพอยู่ในความสุจริตชอบธรรม ซึ่งข้อนี้ทางโลก หรือองค์กรต่างๆ ต่างต้องการบุคลาครอย่างนี้ จึงมีการจัดอบรมสัมมนาเพื่อให้บุคคากรพนักงานให้มีส่วนร่วมด้วยกันทั้งที่รู้จักกันและไม่รู้จัก เพื่อเป็นการอยู่ร่วมกันในสังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เรียกว่าความฉลาดทางสังคม หรือ SQ (Social Quotient) ความฉลาดทางสังคมที่จะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น เพราะมนุษย์ไม่สามารถอยู่คนเดียวได้ ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่ง กันและกัน มีน้ำใจเอื้ออาทรต่อเพื่อนร่วมสังคมด้วยกัน ไม่คิดว่าตนเองเหนือกว่าใคร ต้องมีใจเปิดกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น อีกทั้งต้องไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ซึ่งในปัจจุบันนักวิจัยยืนยันว่า IQ มีส่วนเกี่ยวข้องกับความสำเร็จในชีวิต เช่น การทำงาน การเรียน แค่ 20% เท่านั้นครับ ดังนั้นจึงไม่ควรยึดถือแต่เพียงระดับความฉลาดของสติปัญญา (ทางโลก) เท่านั้น ลองให้ความสนใจกับ Q ที่เหลือด้วยก็จะทำให้เรา เป็นผู้หนึ่งที่ดำรงชีวิตอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข

**ข้อนี้ เป็น SQ คือความฉลาดในทางสังคม ที่ทางโลกและทุกองค์กรต้องการ**


ขอขอบคุณที่มาของ MQ และ SQ จาก http://www.rtna.ac.th/pages/7q.html


๑.๒ การเอาศรัทธาพละมาใช้ในการทำงานประกอบอาชีพทางโลก เราก็เอาความเชื่อด้วยปัญญามาใช้ดังนี้



เด๋วมาเขียนต่อครับ ปวดหลังไม่ไหวนั่งหน้าคอมนาน



เยอะแยะเลย แบบนี้ก็พิมพ์ใส่กระดาษ A 4 ไปด้วย เช่น ตำส้มตำป๊อกก็หันมองที ป๊อก มองอีกที ป๊อกๆๆๆ มองหลายรอบกว่าส้มตำจะเข้าที ลูกค้านั่งรอน้ำลายไหลเลย :b25:



55555 :b32: :b32: :b32: การใช้ห็ต้องมีแบบเต็มแบบย่อ แบบเต็มเพื่ออธิบายทุกขั้นตอน แบบบ่อก็แค่สั้น ให้ตรง เข้าใจได้บ้าง :b32: :b32: :b32:

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แก้ไขล่าสุดโดย แค่อากาศ เมื่อ 28 ม.ค. 2019, 03:25, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 274 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 19  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 97 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร