วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 04:43  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 482 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ... 33  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 21:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
แถมดูหมิ่นผู้กล่าวตรงตามคำสอน


คุณรสว่า 2 บทความนี้ ใครกล่าวตรงคำสอนคะ

อ้างคำพูด:
สัมมาทิฏฐิ=ปัญญา=ญาณ=วิปัสสนา เกิดตอนเริ่มฟังแล้วคิดตรงตามคำสอนได้จากการฟังตอนลืมตาดูหูฟัง
ปัญญาเกิดตรงข้ามกับฌานซึ่งส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่าเป็นสมาธิหลับตาคือสภาพเพ่งเผาธัมมะฝ่ายตรงข้าม
ถ้าทำฌานจิตโดยขาดปัญญาฌานนั้นก็ทำลายสัมมาทิฏฐิเพราะไม่รู้และไม่พึ่งคิดตามคำสอนไม่เข้าใจอะไร
(ศาสนาคือคำสอน)(ศาสดาคือตถาคต)(ตถาคตยกคำสอนแทนตนเอง)=ศาสดาคือคำสอนไม่ใช่ภิกษุบุคคล


อ้างคำพูด:
ที่เรียกว่า อวิชชา อวิชชา ดังนี้ อวิชชาเป็นไฉน
หนอแล และบุคคลเป็นผู้ประกอบด้วยอวิชชา ด้วยเหตุเพียงเท่าไร? ท่านพระมหาโกฏฐิตะกล่าวว่า
ดูกรท่านผู้มีอายุ ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับแล้วในโลกนี้ ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งรูป ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งเหตุเกิดแห่ง
รูป ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งความดับแห่งรูป ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องให้ถึงความดับแห่งรูป ย่อม
ไม่รู้ชัดซึ่งเวทนา ... ซึ่งสัญญา ... ซึ่งสังขาร ... ซึ่งวิญญาณ ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งเหตุเกิดแห่งวิญญาณ
ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งความดับแห่งวิญญาณ ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องให้ถึงความดับแห่งวิญญาณ.
ดูกรท่านผู้มีอายุ นี้เรียกว่า อวิชชา และบุคคลเป็นผู้ประกอบด้วยอวิชชา ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล.
[๓๓๓] เมื่อท่านพระมหาโกฏฐิตะกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่านพระสารีบุตรจึงได้ถามว่า ดูกร
ท่านโกฏฐิตะ ที่เรียกว่า วิชชา วิชชา ดังนี้ วิชชาเป็นไฉนหนอแล และบุคคลเป็นผู้ประกอบ
ด้วยวิชชา ด้วยเหตุเพียงเท่าไร? ท่านพระมหาโกฏฐิตะตอบว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ อริยสาวกผู้ได้
สดับแล้วในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ชัดซึ่งรูป ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุเกิดแห่งรูป ย่อมรู้ชัดซึ่งความดับแห่ง
รูป ย่อมรู้ชัดซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องให้ถึงความดับแห่งรูป ย่อมรู้ชัดซึ่งเวทนา ... ซึ่งสัญญา ... ซึ่ง
สังขาร ... ซึ่งวิญญาณ ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุเกิดแห่งวิญญาณ ย่อมรู้ชัดซึ่งความดับแห่งวิญญาณ ย่อม
รู้ชัดซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องให้ถึงความดับแห่งวิญญาณ ดูกรท่านผู้มีอายุ นี้เรียกว่า วิชชา และ
บุคคลเป็นผู้ประกอบด้วยวิชชา ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล.

ญาณ(บาลี)=ปัญญา(บาลี)แปลไทยว่าความเข้าใจถูกตามคำสอน
ส่วนจะเข้าใจระดับไหนก็มี3ระดับถ้าไม่ทำลำดับแรกจนถึงสัจญาณ
แปลว่าข้ามสุตมยปัญญาแสดงว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มไงคะเพราะว่า
สุตมยปัญญา=สัจญาณ...เห็นคำว่าญาณต่อท้ายสัจจะไหมคะนั่นน่ะ
คือสัมมาทิฏฐิคือฟังแล้วคิดถูกตามได้ไง...กรุณาดูว่าตรงคำไหนบ้าง
ตามมรรคแรกที่เขียนเรียนให้ทราบตามนั้นข้างบนนั้นน่ะเท่ากับอะไรบ้าง
:b55: :b55: :b55:


ยังคงตอบไม่ตรงกับคำถาม ... เช่นเดิม

ทั้ง ๆ ที่ บทความข้างต้นที่ยกมาเทียบกันให้ดู มันก็ชัดเจนอยู่แล้วนะ
ทำไมยังห่วงหวงความเห็นของตนอยู่อีกล่ะ

:b1:

บอกล้านครั้งก็ยังไม่เข้าใจอ่ะ
เอกอนคิดตรงไหมว่าตัวเองกำลังเห็นตัวอักษร
แปลว่ากำลังเห็นผิดเกินคำสอนเรียกว่าความเห็นผิดมีแล้วกำลังมี
ที่ถูกคือจริงตรงตามคำสอนเข้าใจถูกตามเดี๋ยวนี้ว่าจิตเห็นแสงสี1สีกระทบในลูกตาดำดับมืดทันทีไม่มีตัวอักษร
:b32: :b32:

บอกเป็นพันล้านครั้งแล้วว่าให้ผลิตปัญญาจากการฟังไม่ใช่อ่านไม่รู้เรื่องที่กำลังสื่อสารหรือคะ
:b32: :b32:

รู้เรื่องป่าวล่ะคะ
ทางตาผลิตกิเลสตลอด(ผลิตมิจฉามรรคตอนแจ้ง)
ทางหูเท่านั้นที่คิดถูกตามได้(ผลิตสัมมามรรคตอนมืด)
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 23:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sssboun เขียน:
:b8:

อ้างคำพูด:
ยังคงตอบไม่ตรงกับคำถาม ... เช่นเดิม

ทั้ง ๆ ที่ บทความข้างต้นที่ยกมาเทียบกันให้ดู มันก็ชัดเจนอยู่แล้วนะ
ทำไมยังแสดงความรักและหวงแหนความเห็นของตนอยู่อีกล่ะ

:b1:


เมื่อเป็นเช่นนี้ ผมว่าต่างคนต่างทำหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด
ก็ เคโอนะครับ ทุกคนมีทั้งส่วนดีและส่วนเสียด้วยกันทั้งนั้น
แตกต่างกันว่าส่วนไหนจะมีมากน้อยกว่ากัน หากส่วนดีมีมาก
ก็ จงยินดีก็เค้าเถอะครับ

หยุดเราได้ และง่ายที่สุด

:b4:

:b8:

ต่างคนต่างคิดได้อย่างไร
มันก็ไม่เกิดมงคลกับชีวิต
ไปดูมงคลชีวิต38ประการ
การสนทนาธรรมเป็นมงคล
ต้องสนทนาเพื่อเข้าใจถูกค่ะ
ตรงตามคำสอนให้เข้าใจทีละ1ทาง
ว่าแต่ละทางเกิดอย่างไรโดยละเอียดเพราะ
แต่ละทางมันเกิดไม่ปนกันไม่พร้อมกันและทำหน้าที่ต่างกัน
:b12:
:b16: :b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 23:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
เอกอนดับโทสะได้แค่ไหนก็แค่นั้นล่ะค่ะ
จะรู้หรือคะว่าใครดับโทสะได้หมด
บอกไปจะเชื่องั้นหรือคะ
:b32: :b32:


โทสะ เป็นแค่ ส่วนหนึ่งเท่านั้นค่ะ
โทสะดับ ไม่ได้หมายความว่า อวิชา จะดับ

เอกอนเจอมาเยอะแล้วค่ะ
สำนักปฏิบัติที่มักจะเอาเกณฑ์บางอย่างมาวัด
และเอาเกณฑ์นั้นเป็นเกณฑ์ มอบถ้วยรางวัล

กิเลส ไม่ได้มีแต่ โทสะ นะคะ

โทสะ ดับ ไม่ใช่ว่า อวิชา จะดับ นะคะ

:b1:

และการดับไปของโทสะ ก็มีด้วยหลายปัจจัย
บางสำนัก ไม่ได้สอนให้เท่าทันปัจจัยเลยด้วยซ้ำ
พออาการใดปรากฏ ก็จะหลงไปติดอยู่กับอาการ

:b1:

อ้าวก็ถ้าตอบว่าเป็นจะเชื่อเหรอคะเอกอน
ที่ถามน่ะเพราะตนเองสงสัยไงคะก็ถ้าฟังเข้าใจ
ไม่มีใครเขาถามหรอกค่ะเพราะฟังเข้าใจหมดลังเลสงสัย
ก็ที่ถามเพราะคิดสงสัยคือมีนิวรณธรรมแทนที่จะตั้งใจฟังเพื่อไม่พลาดเข้าใจตรงคำทุกคำไงคะ
ที่มีทิฏฐิมานะถือดีเลยไม่ฟัง...ตถาคตก็บอกแล้วว่าจะฟังใครก็ตามให้ใช้กาลามสูตร10รู้คำไหนคือคำตถาคต
:b44: :b44:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 06:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
เอกอนดับโทสะได้แค่ไหนก็แค่นั้นล่ะค่ะ
จะรู้หรือคะว่าใครดับโทสะได้หมด
บอกไปจะเชื่องั้นหรือคะ
:b32: :b32:


โทสะ เป็นแค่ ส่วนหนึ่งเท่านั้นค่ะ
โทสะดับ ไม่ได้หมายความว่า อวิชา จะดับ

เอกอนเจอมาเยอะแล้วค่ะ
สำนักปฏิบัติที่มักจะเอาเกณฑ์บางอย่างมาวัด
และเอาเกณฑ์นั้นเป็นเกณฑ์ มอบถ้วยรางวัล

กิเลส ไม่ได้มีแต่ โทสะ นะคะ

โทสะ ดับ ไม่ใช่ว่า อวิชา จะดับ นะคะ

:b1:

และการดับไปของโทสะ ก็มีด้วยหลายปัจจัย
บางสำนัก ไม่ได้สอนให้เท่าทันปัจจัยเลยด้วยซ้ำ
พออาการใดปรากฏ ก็จะหลงไปติดอยู่กับอาการ

:b1:

อ้าวก็ถ้าตอบว่าเป็นจะเชื่อเหรอคะเอกอน
ที่ถามน่ะเพราะตนเองสงสัยไงคะก็ถ้าฟังเข้าใจ
ไม่มีใครเขาถามหรอกค่ะเพราะฟังเข้าใจหมดลังเลสงสัย
ก็ที่ถามเพราะคิดสงสัยคือมีนิวรณธรรมแทนที่จะตั้งใจฟังเพื่อไม่พลาดเข้าใจตรงคำทุกคำไงคะ
ที่มีทิฏฐิมานะถือดีเลยไม่ฟัง...ตถาคตก็บอกแล้วว่าจะฟังใครก็ตามให้ใช้กาลามสูตร10รู้คำไหนคือคำตถาคต
:b44: :b44:

เวลาเกิดกิเลสมันมีโมหะเป็นพื้นฐานประกอบไว้
บรรลุโสดาบันขึ้นไปดับมิจฉาทิฏฐิเบื้องต้นได้
ก็จะเปลี่ยนตรงคำว่าโมหะเป็นอโมหะแทน
1เวลาเกิดโลภะ=โมหะ+โลภะ
2เวลาเกิดโทสะ=โมหะ+โทสะ
ดับโทสะหมดเมื่อถึงอนาคามียังไม่ดับโลภะ
โลภะตามไปทุกชาติทั้ง31ภพภูมิเกิด
ดับกิเลส3กองได้คือบรรลุอรหัตตผล
โลภะกับโทสะไม่ได้มีพร้อมกัน
โลภะคือชอบใจพอใจอยากได้อยากทำอยากได้บุญเพื่อเอาเพิ่มจะเอาๆๆ
โทสะคือไม่ชอบใจไม่พอใจไม่เอาไม่อยากได้กลัวอยากจะหนีไปให้พ้นๆ
การฟังคือการสละความไม่รู้ออกเพราะกำลังรู้ตรงตามคำสอนได้อยู่ค่ะ
:b16: :b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 06:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12233


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:

ขอโทษนะคะ...ความจริงตามคำสอนคิดเองไม่ได้เลยแม้แต่คำเดียวค่ะ

จำไม่ได้หรือคะ...ตถาคตบอกว่าไม่ใช่ให้เชื่อแต่ให้ฟังเพื่อไตร่ตรองตาม
คำสอนของพระพุทธเจ้าทุกคำตรงจริงตรงขณะเป็นปัจจุบันอารมณ์เดี๋ยวนี้



:b32: :b32: :b32:

พูดเอง...แค่ สองบรรทัด..ก็ขัดขากันเอง..ซะแล้ว.. :b9: :b9: :b9:

ท่อนแรก...โรสบอกว่า.."......คิดเองไม่ได้เลยแม้แต่คำเดียวค่ะ"

ท่อนสอง...โรสบอกว่า.."ให้ฟังเพื่อไตร่ตรองตาม"

ท่อนสอง...ถูกท่อนเดียว...ครับ...ใช่ครับ..ฟังแล้วให้ไตร่ตรอง...

คุณโรสครับ..คุณโรสฟังแล้ว...ไตร่ตรองขณะที่ฟังมั้ยครับ?
ตอบให้ตรง..อย่าคดอย่าโกง..นะเอ่อ..
:b12: :b12:

การไตร่ตรอง...นี้แหละ.คือ...คิด..หรือที่เราพูดโดยทั่วไปว่า..พิจารณา..

หรือคุณโรสจะเถียง..ว่า..การไตร่ตรอง..ไม่ใช่ การคิด?

้ถ้าเถียง...บอกมาซิ..การไตร่ตรองนั้นเป็นอย่างไร?

ตอบให้ตรง..อย่าคดอย่าโกง..นะเอ่อ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 12:09 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ญาณ(บาลี)=ปัญญา(บาลี)แปลไทยว่าความเข้าใจถูกตามคำสอน
ส่วนจะเข้าใจระดับไหนก็มี3ระดับถ้าไม่ทำลำดับแรกจนถึงสัจญาณ
แปลว่าข้ามสุตมยปัญญาแสดงว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มไงคะเพราะว่า
สุตมยปัญญา=สัจญาณ...เห็นคำว่าญาณต่อท้ายสัจจะไหมคะนั่นน่ะ
คือสัมมาทิฏฐิคือฟังแล้วคิดถูกตามได้ไง...กรุณาดูว่าตรงคำไหนบ้าง
ตามมรรคแรกที่เขียนเรียนให้ทราบตามนั้นข้างบนนั้นน่ะเท่ากับอะไรบ้าง
:b55: :b55: :b55:



คุณโรสเห็นผิดแล้ว ญาณกับปัญญาคนละอย่างกันนะ นักอภิธรรมมักตีรวนรวมกัน

ญาณนี้เป็นการเข้าไปรู้เห็น ปัญญานี้เป็นวิชชาเป็นผลจากญาณอีกทีหนึ่ง

คุณโรสยังไม่เคยเข้าถึงจิตทำกิจ จะรู้ไม่ได้เลย ดังนั้นบัญญัติเชื่อตามกันมาของผู้ไม่ถึงนี้มันต่างกันมากเพี้ยนง่าย

สัจจะญาณ เป็นความเข้าไปเห็นของจริงแล้ว จิตทำกิจในรอบ ๓ อาการ ๑๒ แล้ว ไม่ใช่สุตะมยะปัญญา การฟังแล้วเกิดความรู้นี้ คือฟังแล้วเห็นแนวทาง

ผมจะถามคุณโรสนะว่า อุเบกขา กับ โมหะ ต่างกันยังไง ในอาการอื่นๆนอกจากมีสติกับไม่มีสติ ตอบผมหน่อยนะครับ

๑. สุตะ คือ รู้ว่าอุเบกขา กับ โมหะต่างกันที่มีสติกับไม่มี คุณโรสหาได้ทั่วไปในเน็ตตรงนี้
๒. การเข้าไปรู้เห็นในสภาวะจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ญาณ คุณโรสต้องปฏิบัติจริงเห็นจริงตรงนี้ โดยปราศจากสมมติความคิด
๓. ผลอันเกิดจากการเข้าไปรู้เห็นจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ปัญญา เป็นวิชชา ผลจากคุณโรสเห็นจริง ลงในพระอริยะสัจ ๔

มาตอบผมด้วยนะครับ ผมมีเวลาก่อนบ่าย ๒ จะกรรมฐาน

หากตอบไม่ได้ ไม่ถูกตรงจริงก็แสดงว่าคุณโรสเห็นผิดในสุตะ กับ สัจจะญาณตลอดมา

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แก้ไขล่าสุดโดย แค่อากาศ เมื่อ 20 ธ.ค. 2018, 15:24, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 13:40 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
อ้าวก็ถ้าตอบว่าเป็นจะเชื่อเหรอคะเอกอน
ที่ถามน่ะเพราะตนเองสงสัยไงคะก็ถ้าฟังเข้าใจ
ไม่มีใครเขาถามหรอกค่ะเพราะฟังเข้าใจหมดลังเลสงสัย
ก็ที่ถามเพราะคิดสงสัยคือมีนิวรณธรรมแทนที่จะตั้งใจฟังเพื่อไม่พลาดเข้าใจตรงคำทุกคำไงคะ
ที่มีทิฏฐิมานะถือดีเลยไม่ฟัง
...ตถาคตก็บอกแล้วว่าจะฟังใครก็ตามให้ใช้กาลามสูตร10รู้คำไหนคือคำตถาคต
:b44: :b44:


หมดลังเลสงสัยใน youtube เหร๋อคะ

:b1:

หมดลังเลสงสัยใน youtube กับในคำสอนของพระพุทธองค์
มันคนละเรื่องกันเลยนะคะ

ช่างเอามาเปรียบเทียบ เทียบเคียงกันได้

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 18:22 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
แถมดูหมิ่นผู้กล่าวตรงตามคำสอน


คุณรสว่า 2 บทความนี้ ใครกล่าวตรงคำสอนคะ

อ้างคำพูด:
สัมมาทิฏฐิ=ปัญญา=ญาณ=วิปัสสนา เกิดตอนเริ่มฟังแล้วคิดตรงตามคำสอนได้จากการฟังตอนลืมตาดูหูฟัง
ปัญญาเกิดตรงข้ามกับฌานซึ่งส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่าเป็นสมาธิหลับตาคือสภาพเพ่งเผาธัมมะฝ่ายตรงข้าม
ถ้าทำฌานจิตโดยขาดปัญญาฌานนั้นก็ทำลายสัมมาทิฏฐิเพราะไม่รู้และไม่พึ่งคิดตามคำสอนไม่เข้าใจอะไร
(ศาสนาคือคำสอน)(ศาสดาคือตถาคต)(ตถาคตยกคำสอนแทนตนเอง)=ศาสดาคือคำสอนไม่ใช่ภิกษุบุคคล


อ้างคำพูด:
ที่เรียกว่า อวิชชา อวิชชา ดังนี้ อวิชชาเป็นไฉน
หนอแล และบุคคลเป็นผู้ประกอบด้วยอวิชชา ด้วยเหตุเพียงเท่าไร? ท่านพระมหาโกฏฐิตะกล่าวว่า
ดูกรท่านผู้มีอายุ ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับแล้วในโลกนี้ ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งรูป ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งเหตุเกิดแห่ง
รูป ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งความดับแห่งรูป ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องให้ถึงความดับแห่งรูป ย่อม
ไม่รู้ชัดซึ่งเวทนา ... ซึ่งสัญญา ... ซึ่งสังขาร ... ซึ่งวิญญาณ ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งเหตุเกิดแห่งวิญญาณ
ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งความดับแห่งวิญญาณ ย่อมไม่รู้ชัดซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องให้ถึงความดับแห่งวิญญาณ.
ดูกรท่านผู้มีอายุ นี้เรียกว่า อวิชชา และบุคคลเป็นผู้ประกอบด้วยอวิชชา ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล.
[๓๓๓] เมื่อท่านพระมหาโกฏฐิตะกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่านพระสารีบุตรจึงได้ถามว่า ดูกร
ท่านโกฏฐิตะ ที่เรียกว่า วิชชา วิชชา ดังนี้ วิชชาเป็นไฉนหนอแล และบุคคลเป็นผู้ประกอบ
ด้วยวิชชา ด้วยเหตุเพียงเท่าไร? ท่านพระมหาโกฏฐิตะตอบว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ อริยสาวกผู้ได้
สดับแล้วในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ชัดซึ่งรูป ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุเกิดแห่งรูป ย่อมรู้ชัดซึ่งความดับแห่ง
รูป ย่อมรู้ชัดซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องให้ถึงความดับแห่งรูป ย่อมรู้ชัดซึ่งเวทนา ... ซึ่งสัญญา ... ซึ่ง
สังขาร ... ซึ่งวิญญาณ ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุเกิดแห่งวิญญาณ ย่อมรู้ชัดซึ่งความดับแห่งวิญญาณ ย่อม
รู้ชัดซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องให้ถึงความดับแห่งวิญญาณ ดูกรท่านผู้มีอายุ นี้เรียกว่า วิชชา และ
บุคคลเป็นผู้ประกอบด้วยวิชชา ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล.


ญาณ(บาลี)=ปัญญา(บาลี)แปลไทยว่าความเข้าใจถูกตามคำสอน
ส่วนจะเข้าใจระดับไหนก็มี3ระดับถ้าไม่ทำลำดับแรกจนถึงสัจญาณ
แปลว่าข้ามสุตมยปัญญาแสดงว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มไงคะเพราะว่า
สุตมยปัญญา=สัจญาณ...เห็นคำว่าญาณต่อท้ายสัจจะไหมคะนั่นน่ะ
คือสัมมาทิฏฐิคือฟังแล้วคิดถูกตามได้ไง...กรุณาดูว่าตรงคำไหนบ้าง
ตามมรรคแรกที่เขียนเรียนให้ทราบตามนั้นข้างบนนั้นน่ะเท่ากับอะไรบ้าง

:b55: :b55: :b55:

คุณรสลองเทียบดูสิคะ ว่าสัมมาทิฏฐิที่คุณรสยึดเกาะเอาไว้นั้น
เทียบเคียงกับตรงไหนของพระสูตรได้บ้างคะ

Quote Tipitaka:
๙. สัมมาทิฏฐิสูตร

ว่าด้วยความเห็นชอบ
[๑๑๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้:-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิก-
*เศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้น ท่านพระสารีบุตรเรียกภิกษุทั้งหลายแล้ว ภิกษุพวกนั้น
รับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ที่เรียกว่า
สัมมาทิฏฐิๆ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ อริยสาวกจึงจะชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไป
ตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้ พวกภิกษุกล่าวว่า
ดูกรท่านผู้มีอายุ พวกกระผมมาจากที่ไกล ก็เพื่อจะรู้ทั่วถึงเนื้อความแห่งภาษิตนี้ ในสำนักของท่าน
พระสารีบุตร ดังพวกกระผมขอโอกาส เนื้อความแห่งภาษิตนี้ จงแจ่มแจ้งกะท่านพระสารีบุตรเถิด
ภิกษุทั้งหลายได้ฟังต่อท่านพระสารีบุตรแล้ว จักทรงจำไว้ ท่านพระสารีบุตรตอบว่า ถ้าอย่างนั้น
จงฟังเถิด ท่านผู้มีอายุ จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุพวกนั้นรับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว.

[๑๑๑] ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดอริยสาวกรู้ชัดซึ่ง
อกุศลและรากเหง้าอกุศล รู้ชัดซึ่งกุศลและรากเหง้าของกุศล แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่า
เป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้วประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่
พระสัทธรรมนี้ ก็อกุศลเป็นไฉน? ได้แก่ ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ
พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ อยากได้ของผู้อื่น ปองร้ายเขา เห็นผิด อันนี้เรียกว่า
อกุศลแต่ละอย่างๆ รากเหง้าของอกุศลเป็นไฉน? ได้แก่ โลภะ โทสะ โมหะ อันนี้เรียกว่ารากเหง้า
ของอกุศลแต่ละอย่างๆ กุศลเป็นไฉน? ได้แก่ ความเว้นจากฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิด
ในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ ไม่อยากได้ของผู้อื่น ไม่ปองร้ายเขา
เห็นชอบ อันนี้เรียกว่า กุศลแต่ละอย่างๆ รากเหง้าของกุศลเป็นไฉน? ได้แก่ อโลภะ อโทสะ
อโมหะ อันนี้เรียกว่า รากเหง้าของกุศลแต่ละอย่างๆ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัด
ซึ่งอกุศลและรากเหง้าของอกุศลอย่างนี้ๆ รู้ชัดซึ่งกุศลและรากเหง้าของกุศลอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละ
ราคานุสัย บรรเทาปฏิฆานุสัย ถอนทิฏฐานุสัย และมานานุสัยว่า เรามีอยู่โดยประการทั้งปวง
ละอวิชชา ยังวิชชาให้เกิด ย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ในปัจจุบันนี้เทียว แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้
อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอัน
แน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้

[๑๑๒] ภิกษุเหล่านั้นชื่นชม อนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบุตรว่า สาธุ ท่านผู้มีอายุ
แล้วได้ถามปัญหากะท่านพระสารีบุตรต่อไปว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือปริยายแม้อย่างอื่น
ที่อริยสาวกซึ่งชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใส
อันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้.

อาหารวาร
[๑๑๓] ท่านพระสารีบุตรตอบว่า พึงมีอยู่ ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดอริยสาวกรู้ชัดซึ่งอาหาร
เหตุเกิดแห่งอาหาร ความดับอาหาร และทางที่จะให้ถึงความดับอาหาร แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้
อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อาหาร เหตุเกิดแห่งอาหาร ความดับอาหาร
ทางที่จะให้ถึงความดับอาหาร เป็นไฉน? ได้แก่อาหาร ๔ อย่างเหล่านี้ เพื่อความดำรงอยู่ของหมู่
สัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือเพื่ออนุเคราะห์เหล่าสัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด อาหาร ๔ อย่างเป็นไฉน? คือ
๑ อาหาร คือ คำข้าว หยาบหรือละเอียด
๒ อาหาร คือ ผัสสะ
๓ อาหาร คือ ความคิดอ่าน [จงใจ]
๔ อาหาร คือ วิญญาณ [ความรู้แจ้งทางทวาร ๖]
เหตุเกิดแห่งอาหารย่อมมีเพราะตัณหาเป็นเหตุให้เกิด ความดับอาหารย่อมมีเพราะตัณหา
ดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ
เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ ชื่อว่าทางที่จะให้ถึงความดับอาหาร ดูกรท่าน
ผู้มีอายุ เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอาหาร เหตุเกิดแห่งอาหาร ความดับอาหาร ทางที่จะให้ถึง
ความดับอาหารอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย บรรเทาปฏิฆานุสัย ถอนทิฏฐานุสัย และ
มานานุสัย ว่าเรามีอยู่ โดยประการทั้งปวง ละอวิชชา ยังวิชชาให้เกิด ย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์
ในปัจจุบันนี้เทียว แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไป
ตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้.
[๑๑๔] ภิกษุเหล่านั้น ชื่นชม อนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบุตรว่า สาธุ ท่านผู้มีอายุ
แล้วได้ถามปัญหากะท่านพระสารีบุตรต่อไปว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น
อริยสาวก ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.

สัจจวาร
[๑๑๕] ท่านพระสารีบุตรตอบว่า พึงมีอยู่ ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดอริยสาวกรู้ชัดซึ่งทุกข์
ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็น
สัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็ทุกข์เป็นไฉน? ได้แก่ ความเกิด ความแก่ ความตาย ความ
แห้งใจ ความพิไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความเสียใจ ความคับแค้นใจ ความประจวบกับ
สิ่งไม่เป็นที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รัก ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สมหวัง แต่ละอย่างๆ ล้วน
เป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์ อันนี้เรียกว่า ความทุกข์ ก็ทุกขสมุทัยเป็นไฉน?
ได้แก่ ตัณหาอันทำให้เกิดในภพใหม่ ประกอบด้วยความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งความเพลิน
เพลิดเพลินยิ่งในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา อันนี้เรียกว่า ทุกขสมุทัย
ทุกขนิโรธเป็นไฉน? ได้แก่ความดับด้วยสามารถแห่งความสำรอกโดยไม่เหลือ ความสละ ความ
วาง ความปล่อย ความไม่พัวพัน แห่งตัณหานั้นแหละ อันนี้เรียกว่า ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธ-
*คามินีปฏิปทาเป็นไฉน? ได้แก่ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ...
ความตั้งใจชอบ อันนี้เรียกว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ดูกรผู้มีอายุ เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัดซึ่งทุกข์
ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุ
เพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความ
เลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้.

ชรามรณวาร
[๑๑๖] ภิกษุเหล่านั้น ชื่นชม อนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบุตรว่า สาธุ ท่านผู้มีอายุ
แล้วได้ถามปัญหากะท่านพระสารีบุตรต่อไปว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น
อริยสาวก ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.
[๑๑๗] ท่านพระสารีบุตรตอบว่า พึงมีอยู่ ท่านผู้มีอายุ เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชรา
และมรณะ เหตุเกิดแห่งชราและมรณะ ความดับชราและมรณะ และทางที่จะให้ถึงความดับชรา
และมรณะ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็ชรา
และมรณะ เหตุเกิดแห่งชราและมรณะ ความดับชราและมรณะ ทางที่จะให้ถึงความดับชราและ
มรณะ เป็นไฉน? ได้แก่ความแก่ ความคร่ำคร่า ฟันหลุด ผมหงอก หนังย่น ความเสื่อมแห่ง
อายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ อันนี้เรียกว่าชรา ความจุติ
ความเคลื่อนไป ความแตกทำลาย ความหายไป มฤตยู ความตาย ความทำกาละ ความแตก
แห่งขันธ์ ความทิ้งซากศพไว้ ความขาดไปแห่งชีวิตินทรีย์จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
อันนี้เรียกว่ามรณะ ชราและมรณะ ดังพรรณนามาฉะนี้ เรียกว่า ชราและมรณะ เหตุเกิดแห่งชรา
และมรณะ ย่อมมีเพราะชาติเป็นเหตุให้เกิด ความดับชราและมรณะ ย่อมมีเพราะชาติดับ
อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้
ถึงความดับชราและมรณะ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชราและมรณะ เหตุเกิด
แห่งชราและมรณะ ความดับชราและมรณะ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับแห่งชราและมรณะ
อย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ฯลฯ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ
มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้.

ชาติวาร
[๑๑๘] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชาติ เหตุเกิดแห่งชาติ ความดับชาติ และ
ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่
พระสัทธรรมนี้ ก็ชาติ เหตุเกิดแห่งชาติ ความดับชาติ ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติ เป็นไฉน?
ความเกิด ความบังเกิด ความหยั่งลง เกิด เกิดเฉพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ ความได้อายตนะ
ครบ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ อันนี้เรียกว่า ชาติ เหตุเกิดแห่งชาติย่อมมีเพราะภพ
เป็นเหตุให้เกิด ความดับชาติย่อมมี เพราะภพดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ
ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล
อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชาติ เหตุเกิดแห่งชาติ ความดับชาติและปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติอย่างนี้ๆ
เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระ-
*สัทธรรมนี้

ภวาทิวาร
[๑๑๙] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งภพ เหตุเกิดแห่งภพ ความดับภพ และปฏิปทา
ที่จะให้ถึงความดับภพ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้
ก็ภพ เหตุเกิดแห่งภพ ความดับภพ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับภพ เป็นไฉน? ได้แก่ ภพ ๓
เหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ เหตุเกิดแห่งภพ ย่อมมีเพราะอุปาทานเป็นเหตุให้เกิด
ความดับภพ ย่อมมีเพราะอุปาทานดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ...
ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับภพ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัด
ซึ่งภพ เหตุเกิดแห่งภพ ความดับภพ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับภพอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละ
ราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.
[๑๒๐] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอุปาทาน เหตุเกิดแห่งอุปาทาน ความดับอุปาทาน
และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอุปาทาน แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ...
มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อุปาทาน เหตุเกิดแห่งอุปาทาน ความดับอุปาทาน และปฏิปทาที่จะให้ถึง
ความดับอุปาทาน เป็นไฉน? ได้แก่ อุปาทาน ๔ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน
อัตตวาทุปาทาน เหตุเกิดแห่งอุปาทาน ย่อมมีเพราะตัณหาเป็นเหตุให้เกิด ความดับอุปาทาน
ย่อมมีเพราะตัณหาดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ
ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอุปาทาน ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอุปาทาน
เหตุเกิดแห่งอุปาทาน ความดับอุปาทาน และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอุปาทานอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น
ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.

ตัณหาทิวาร
[๑๒๑] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งตัณหา เหตุเกิดแห่งตัณหา ความดับแห่งตัณหา
และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับตัณหา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ...
มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็ตัณหา เหตุเกิดแห่งตัณหา ความดับตัณหา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับ
ตัณหาเป็นไฉน? ได้แก่ ตัณหา ๖ หมวดเหล่านี้ คือ ตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น
ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ ตัณหาในธรรม เหตุเกิดแห่งตัณหา ย่อมมีเพราะเวทนาเป็น
เหตุให้เกิด ความดับตัณหา ย่อมมีเพราะเวทนาดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ
ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับตัณหา ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล
อริยสาวกรู้ชัดซึ่งตัณหา เหตุเกิดแห่งตัณหา ความดับตัณหา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับตัณหา
อย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ...
มาสู่พระสัทธรรมนี้.

[๑๒๒] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งเวทนา เหตุเกิดแห่งเวทนา ความดับเวทนา และ
ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับเวทนา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่
พระสัทธรรมนี้ ก็เวทนา เหตุเกิดแห่งเวทนา ความดับเวทนา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับ
เวทนา เป็นไฉน? ได้แก่เวทนา ๖ หมวดเหล่านี้ คือ เวทนาที่เกิดแต่จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดแต่
โสตสัมผัส เวทนาที่เกิดแต่ฆานสัมผัส เวทนาที่เกิดแต่ชิวหาสัมผัส เวทนาที่เกิดแต่กายสัมผัส
เวทนาที่เกิดแต่มโนสัมผัส เหตุเกิดเวทนา ย่อมมีเพราะผัสสะเป็นเหตุให้เกิด ความดับเวทนา
ย่อมมีเพราะผัสสะดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ
ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับเวทนา ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งเวทนา เหตุ-
*เกิดแห่งเวทนา ความดับเวทนา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับเวทนาอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่าน
ละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.

[๑๒๓] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งผัสสะ เหตุเกิดแห่งผัสสะ ความดับผัสสะ และ
ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับผัสสะ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่
พระสัทธรรมนี้. ก็ผัสสะ เหตุเกิดแห่งผัสสะ ความดับผัสสะ และทางที่จะให้ถึงความดับผัสสะ
เป็นไฉน? ได้แก่ ผัสสะ ๖ หมวด คือ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส
กายสัมผัส มโนสัมผัส เหตุเกิดแห่งผัสสะ ย่อมมีเพราะอายตนะ ๖ เป็นเหตุให้เกิด ความดับผัสสะ
ย่อมมีเพราะอายตนะ ๖ ดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ
ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับผัสสะ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งผัสสะ
เหตุเกิดแห่งผัสสะ ความดับผัสสะ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับผัสสะอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่าน
ละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.

[๑๒๔] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอายตนะ ๖ เหตุเกิดแห่งอายตนะ ๖ ความดับ
แห่งอายตนะ ๖ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะ ๖ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่า
เป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อายตนะ ๖ เหตุเกิดแห่งอายตนะ ๖ ความดับอายตนะ ๖
และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะ ๖ เป็นไฉน? ได้แก่ อายตนะ ๖ เหล่านี้ คือ ตา หู จมูก
ลิ้น กาย ใจ เหตุเกิดแห่งอายตนะ ๖ ย่อมมีเพราะนามรูปเป็นเหตุให้เกิด ความดับอายตนะ ๖ ย่อมมี
เพราะนามรูปดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ
ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะ ๖ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอายตนะ ๖
เหตุเกิดอายตนะ ๖ ความดับอายตนะ ๖ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะ ๖ อย่างนี้ๆ
เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระ-
*สัทธรรมนี้.

นามรูปาทิวาร
[๑๒๕] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งนามรูป เหตุเกิดแห่งนามรูป ความดับนามรูป
และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับนามรูป แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ...
มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็นามรูป เหตุเกิดแห่งนามรูป ความดับนามรูป และปฏิปทาที่จะให้ถึงความ
ดับนามรูป เป็นไฉน? เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ อันนี้เรียกว่า นาม มหาภูต-
*รูป ๔ และรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันนี้เรียกว่ารูป นามและรูปดังพรรณนามาฉะนี้ เรียกว่า นามรูป
เหตุเกิดแห่งนามรูป ย่อมมีเพราะวิญญาณเป็นเหตุให้เกิด ความดับนามรูป ย่อมมีเพราะวิญญาณ
ดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทา
ที่จะให้ถึงความดับนามรูป ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งนามรูป เหตุเกิดแห่ง
นามรูป ความดับนามรูป และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับนามรูปอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคา-
*นุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.

[๑๒๖] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งวิญญาณ เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ความดับวิญญาณ
และทางที่จะให้ถึงความดับวิญญาณ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่
พระสัทธรรมนี้ ก็วิญญาณ เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ความดับวิญญาณ ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับวิญญาณ
เป็นไฉน? ได้แก่ วิญญาณ ๖ หมวดเหล่านี้ คือ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ
ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ย่อมมีเพราะสังขารเป็นเหตุ
ให้เกิด ความดับวิญญาณ ย่อมมีเพราะสังขารดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ
ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับวิญญาณ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใด
แล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งวิญญาณ เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ความดับวิญญาณ ปฏิปทาที่จะให้ถึงความ
ดับวิญญาณ อย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็น
สัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.

สังขารวาร
[๑๒๗] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งสังขาร เหตุเกิดแห่งสังขาร ความดับสังขาร และ
ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับสังขาร แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่
พระสัทธรรมนี้ ก็สังขาร เหตุเกิดแห่งสังขาร ความดับสังขาร ทางที่จะให้ถึงความดับสังขาร
เป็นไฉน? ได้แก่ สังขาร ๓ เหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร เหตุเกิดแห่งสังขาร
ย่อมมีเพราะอวิชชาเป็นเหตุให้เกิด ความดับสังขาร ย่อมมีเพราะอวิชชาดับ อริยมรรคประกอบ
ด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าทางที่จะให้ถึงความดับสังขาร
ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งสังขาร เหตุเกิดแห่งสังขาร ความดับสังขาร ปฏิปทา
ที่จะให้ถึงความดับสังขารอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวก
ชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.

อวิชชาวาร
[๑๒๘] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า
พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอวิชชา เหตุเกิดแห่งอวิชชา ความดับอวิชชา
และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอวิชชา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ...
มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อวิชชา เหตุเกิดแห่งอวิชชา ความดับอวิชชา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความ
ดับอวิชชา เป็นไฉน? ความไม่รู้ในทุกข์ ในเหตุเกิดแห่งทุกข์ ในความดับทุกข์ ในปฏิปทาที่จะให้ถึง
ความดับทุกข์ อันนี้เรียกว่าอวิชชา เหตุเกิดแห่งอวิชชา ย่อมมีเพราะอาสวะเป็นเหตุให้เกิด
ความดับอวิชชา ย่อมมีเพราะอาสวะดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือความเห็นชอบ
ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอวิชชา ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวก
รู้ชัดซึ่งอวิชชา เหตุเกิดแห่งอวิชชา ความดับอวิชชา ทางที่จะให้ถึงความดับอวิชชาอย่างนี้ๆ เมื่อ
นั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนิน
ไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้.
[๑๒๙] ภิกษุเหล่านั้น ชื่นชม อนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบุตรว่า สาธุ ท่านผู้มีอายุ
แล้วได้ถามปัญหากะท่านพระสารีบุตรต่อไปว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือปริยายแม้อย่างอื่น
ที่อริยสาวกซึ่งชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใส
อันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้.

อาสววาร
[๑๓๐] ท่านพระสารีบุตรตอบว่า พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอาสวะ
อาสวสมุทัย อาสวนิโรธ อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่า
เป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม
มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อาสวะ เหตุเกิดแห่งอาสวะ ความดับอาสวะ ทางที่จะให้ถึงความดับอาสวะ
เป็นไฉน? ได้แก่ อาสวะ ๓ เหล่านี้ คือ กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ เหตุเกิดแห่งอาสวะ
ย่อมมีเพราะอวิชชาเป็นเหตุให้เกิด ความดับอาสวะ ย่อมมีเพราะอวิชชาดับ อริยมรรคประกอบ
ด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ
พยายามชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอาสวะ ดูกรท่านผู้มีอายุ
เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอาสวะ เหตุเกิดแห่งอาสวะ ความดับอาสวะ ปฏิปทาที่จะให้ถึงความ
ดับอาสวะ อย่างนี้ๆ เมื่อนั้นท่านละราคานุสัย บรรเทาปฏิฆานุสัย ถอนทิฏฐานุสัย และ
มานานุสัย โดยประการทั้งปวง ละอวิชชา ยังวิชชาให้เกิด ย่อมกระทำซึ่งที่สุดแห่งทุกข์ในปัจจุบัน
เทียว แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว
ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้.
ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ชื่นชม ยินดีภาษิตของท่านพระสารี-
*บุตรแล้วแล.

จบ สัมมาทิฏฐิสูตร ที่ ๙
ดูกรท่านผู้มีอายุ ก็ ๖ บทที่กล่าวว่าเป็นไฉน ได้แก่ ทุกข์ ชรามรณะ อุปาทาน อายตนะ ๖
นามรูป วิญญาณ ๔ บทที่กล่าวว่าเป็นไฉน ได้แก่ ชาติ ตัณหา เวทนา และหมวด ๔ แห่งอวิชชา ๕
บทที่กล่าวว่าเป็นไฉน ได้แก่ อาหาร ภพ ผัสสะ สังขาร อาสวะเป็นที่ ๕ หกอย่างเป็นไฉน
ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้ว สี่อย่างเป็นไฉน ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้ว ห้าอย่างเป็นไฉน ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้ว
บทแห่งสังขารทั้งปวง มี ๑๕ บท ฉะนี้แล.


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 22 ธ.ค. 2018, 16:41, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 18:27 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


:b1:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 20 ธ.ค. 2018, 18:54, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 18:53 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
[๕๗๙] ในอริยมรรคมีองค์ ๘ นั้น สัมมาทิฏฐิ เป็นไฉน
ภิกษุในศาสนานี้ เจริญสัมมาทิฏฐิ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัย
นิโรธ น้อมไปเพื่อความสละ ฯลฯ เจริญสัมมาสังกัปปะ ฯลฯ เจริญ
สัมมาวาจา ฯลฯ เจริญสัมมากัมมันตะ ฯลฯ เจริญสัมมาอาชีวะ ฯลฯ เจริญ
สัมมาวายามะ ฯลฯ เจริญสัมมาสติ ฯลฯ เจริญสัมมาสมาธิ อันอาศัยวิเวก
อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อความสละ

Quote Tipitaka:
[๑๖๓] ในอริยมรรคมีองค์ ๘ นั้น สัมมาทิฏฐิ เป็นไฉน
ความรู้ในทุกข์ ความรู้ในทุกขสมุทัย ความรู้ในทุกขนิโรธ ความรู้ใน
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา นี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ

Quote Tipitaka:
[๑๗๖] ในมรรคมีองค์ ๘ นั้น สัมมาทิฏฐิ เป็นไฉน
ปัญญา กิริยาที่รู้ชัด ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจัยธรรม ความเห็น
ชอบ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่องในมรรค อันใด
นี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ

Quote Tipitaka:
[๒๐๕] ในมรรคมีองค์ ๕ นั้น สัมมาทิฏฐิ เป็นไฉน
ปัญญา กิริยาที่รู้ชัด ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจัยธรรม ความเห็นชอบ
ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่องในมรรค อันใด นี้เรียก
ว่าสัมมาทิฏฐิ

Quote Tipitaka:
ในมรรคมีองค์ ๕ นั้น สัมมาทิฏฐิ เป็นไฉน
ภิกษุในศาสนานี้ เจริญโลกุตตรฌาน อันเป็นเครื่องนำออกไปจากโลก
ให้เข้าสู่นิพพาน เพื่อประหาณทิฏฐิ เพื่อบรรลุปฐมภูมิ สงัดจากกาม สงัดจาก
อกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุข
อันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา อยู่ ในสมัยใด ปัญญา กิริยาที่
รู้ชัด ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจัยธรรม สัมมาทิฏฐิ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่องในมรรค ในสมัยนั้น อันใด นี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ
ธรรมทั้งหลายที่เหลือ เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วยสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ ธรรม
ทั้งหลายที่เหลือ เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วยสัมมาสังกัปปะ ฯลฯ ธรรมทั้งหลาย
ที่เหลือ เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วยสัมมาวายามะ ฯลฯ ธรรมทั้งหลายที่เหลือ
เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วยสัมมาสติ
สัมมาสมาธิ เป็นไฉน
ภิกษุในศาสนานี้ เจริญโลกุตตรฌาน อันเป็นเครื่องนำออกไปจากโลก
ให้เข้าสู่นิพพาน เพื่อประหาณทิฏฐิ เพื่อบรรลุปฐมภูมิ สงัดจากกาม สงัดจาก
อกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุข
อันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา อยู่ ในสมัยใด ความตั้งอยู่
แห่งจิต ฯลฯ ความตั้งใจชอบ สมาธิสัมโพชฌงค์ อันเป็นองค์แห่งมรรค
นับเนื่องในมรรค ในสมัยนั้น อันใด นี้เรียกว่า สัมมาสมาธิ ธรรมทั้งหลาย
ที่เหลือ เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วยสัมมาสมาธิ

Quote Tipitaka:
ในมรรคมีองค์ ๕ นั้น สัมมาทิฏฐิ เป็นไฉน
ภิกษุในศาสนานี้ เจริญโลกุตตรฌาน อันเป็นเครื่องนำออกไปจากโลก
ให้เข้าสู่นิพพาน เพื่อประหาณทิฏฐิ เพื่อบรรลุปฐมภูมิ สงัดจากกาม สงัดจาก
อกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุข
อันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา อยู่ ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ
อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า กุศล
ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน
อันเป็นวิบาก เพราะโลกุตตรกุศลฌานอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วนั้นแล
ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
*ภิญญา ชนิดสุญญตะ อยู่ ในสมัยใด ปัญญา กิริยาที่รู้ชัด ฯลฯ ความไม่หลง
ความวิจัยธรรม สัมมาทิฏฐิ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ อันเป็นองค์แห่งมรรค นับ
เนื่องในมรรค ในสมัยนั้น อันใด นี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ ธรรมทั้งหลายที่เหลือ
เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วยสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ ธรรมทั้งหลายที่เหลือ เรียกว่า
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสัมมาสังกัปปะ ฯลฯ ธรรมทั้งหลายที่เหลือ เรียกว่า ธรรมที่
สัมปยุตด้วยสัมมาวายามะ ฯลฯ ธรรมทั้งหลายที่เหลือ เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสัมมาสติ
สัมมาสมาธิ เป็นไฉน
ภิกษุในศาสนานี้ เจริญโลกุตตรฌาน อันเป็นเครื่องนำออกไปจากโลก
ให้เข้าสู่นิพพาน เพื่อประหาณทิฏฐิ เพื่อบรรลุปฐมภูมิ สงัดจากกาม สงัดจาก
อกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุข
อันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา อยู่ ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ
อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า กุศล
ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน
อันเป็นวิบาก เพราะโลกุตตรกุศลฌานอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วนั้นแล
ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
ชนิดสุญญตะ อยู่ ในสมัยใด ความตั้งอยู่แห่งจิต ความดำรงอยู่แห่งจิต ความ
มั่นอยู่แห่งจิต ความไม่ส่ายไปแห่งจิต ความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะที่จิตไม่ส่ายไป
ความสงบ สมาธินทรีย์ สมาธิพละ สัมมาสมาธิ สมาธิสัมโพชฌงค์ อันเป็น
องค์แห่งมรรค นับเนื่องในมรรค ในสมัยนั้น อันใด นี้เรียกว่า สัมมาสมาธิ
ธรรมทั้งหลายที่เหลือ เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วยสัมมาสมาธิ


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 20 ธ.ค. 2018, 18:55, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 18:53 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
ญาณ(บาลี)=ปัญญา(บาลี)แปลไทยว่าความเข้าใจถูกตามคำสอน
ส่วนจะเข้าใจระดับไหนก็มี3ระดับถ้าไม่ทำลำดับแรกจนถึงสัจญาณ
แปลว่าข้ามสุตมยปัญญาแสดงว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มไงคะเพราะว่า
สุตมยปัญญา=สัจญาณ...เห็นคำว่าญาณต่อท้ายสัจจะไหมคะนั่นน่ะ
คือสัมมาทิฏฐิคือฟังแล้วคิดถูกตามได้ไง...กรุณาดูว่าตรงคำไหนบ้าง
ตามมรรคแรกที่เขียนเรียนให้ทราบตามนั้นข้างบนนั้นน่ะเท่ากับอะไรบ้าง
:b55: :b55: :b55:



คุณโรสเห็นผิดแล้ว ญาณกับปัญญาคนละอย่างกันนะ นักอภิธรรมมักตีรวนรวมกัน

ญาณนี้เป็นการเข้าไปรู้เห็น ปัญญานี้เป็นวิชชาเป็นผลจากญาณอีกทีหนึ่ง

คุณโรสยังไม่เคยเข้าถึงจิตทำกิจ จะรู้ไม่ได้เลย ดังนั้นบัญญัติเชื่อตามกันมาของผู้ไม่ถึงนี้มันต่างกันมากเพี้ยนง่าย

สัจจะญาณ เป็นความเข้าไปเห็นของจริงแล้ว จิตทำกิจในรอบ ๓ อาการ ๑๒ แล้ว ไม่ใช่สุตะมยะปัญญา การฟังแล้วเกิดความรู้นี้ คือฟังแล้วเห็นแนวทาง

ผมจะถามคุณโรสนะว่า อุเบกขา กับ โมหะ ต่างกันยังไง ในอาการอื่นๆนอกจากมีสติกับไม่มีสติ ตอบผมหน่อยนะครับ

๑. สุตะ คือ รู้ว่าอุเบกขา กับ โมหะต่างกันที่มีสติกับไม่มี คุณโรสหาได้ทั่วไปในเน็ตตรงนี้
๒. การเข้าไปรู้เห็นในสภาวะจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ญาณ คุณโรสต้องปฏิบัติจริงเห็นจริงตรงนี้ โดยปราศจากสมมติความคิด
๓. ผลอันเกิดจากการเข้าไปรู้เห็นจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ปัญญา เป็นวิชชา ผลจากคุณโรสเห็นจริง ลงในพระอริยะสัจ ๔

มาตอบผมด้วยนะครับ ผมมีเวลาก่อนบ่าย ๒ จะกรรมฐาน

หากตอบไม่ได้ ไม่ถูกตรงจริงก็แสดงว่าคุณโรสเห็นผิดในสุตะ กับ สัจจะญาณตลอดมา


คำถามของเอกอน คุณรสไม่ต้องตอบก็ได้นะคะ
แต่อย่าลืมตอบคุณอากาศนะคะ

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 19:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ญาณ(บาลี)=ปัญญา(บาลี)แปลไทยว่าความเข้าใจถูกตามคำสอน
ส่วนจะเข้าใจระดับไหนก็มี3ระดับถ้าไม่ทำลำดับแรกจนถึงสัจญาณ
แปลว่าข้ามสุตมยปัญญาแสดงว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มไงคะเพราะว่า
สุตมยปัญญา=สัจญาณ...เห็นคำว่าญาณต่อท้ายสัจจะไหมคะนั่นน่ะ
คือสัมมาทิฏฐิคือฟังแล้วคิดถูกตามได้ไง...กรุณาดูว่าตรงคำไหนบ้าง
ตามมรรคแรกที่เขียนเรียนให้ทราบตามนั้นข้างบนนั้นน่ะเท่ากับอะไรบ้าง
:b55: :b55: :b55:



คุณโรสเห็นผิดแล้ว ญาณกับปัญญาคนละอย่างกันนะ นักอภิธรรมมักตีรวนรวมกัน

ญาณนี้เป็นการเข้าไปรู้เห็น ปัญญานี้เป็นวิชชาเป็นผลจากญาณอีกทีหนึ่ง

คุณโรสยังไม่เคยเข้าถึงจิตทำกิจ จะรู้ไม่ได้เลย ดังนั้นบัญญัติเชื่อตามกันมาของผู้ไม่ถึงนี้มันต่างกันมากเพี้ยนง่าย

สัจจะญาณ เป็นความเข้าไปเห็นของจริงแล้ว จิตทำกิจในรอบ ๓ อาการ ๑๒ แล้ว ไม่ใช่สุตะมยะปัญญา การฟังแล้วเกิดความรู้นี้ คือฟังแล้วเห็นแนวทาง

ผมจะถามคุณโรสนะว่า อุเบกขา กับ โมหะ ต่างกันยังไง ในอาการอื่นๆนอกจากมีสติกับไม่มีสติ ตอบผมหน่อยนะครับ

๑. สุตะ คือ รู้ว่าอุเบกขา กับ โมหะต่างกันที่มีสติกับไม่มี คุณโรสหาได้ทั่วไปในเน็ตตรงนี้
๒. การเข้าไปรู้เห็นในสภาวะจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ญาณ คุณโรสต้องปฏิบัติจริงเห็นจริงตรงนี้ โดยปราศจากสมมติความคิด
๓. ผลอันเกิดจากการเข้าไปรู้เห็นจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ปัญญา เป็นวิชชา ผลจากคุณโรสเห็นจริง ลงในพระอริยะสัจ ๔

มาตอบผมด้วยนะครับ ผมมีเวลาก่อนบ่าย ๒ จะกรรมฐาน

หากตอบไม่ได้ ไม่ถูกตรงจริงก็แสดงว่าคุณโรสเห็นผิดในสุตะ กับ สัจจะญาณตลอดมา


คำถามของเอกอน คุณรสไม่ต้องตอบก็ได้นะคะ
แต่อย่าลืมตอบคุณอากาศนะคะ

:b1:

:b12:
บอกไม่ฟังอริยสัจจะรู้ถูกตัวตน
ตอนกำลังฟังเข้าใจถูกตรงทางตรงๆ
คิดตามคำสอนถูกตัวตนได้เท่านั้น
ไม่ใช่คิดตามที่ตนเชื่อตาเนื้อที่เห็น
แล้วก็ไม่ใช่เชื่อว่าคนนั้นบอกคนนี้บอกว่า
คนนั้นเป็นพระอรหันต์มันเป็นไปไม่ได้ไง
ก็พระพุทธเจ้าบอกว่าปัญญาระดับเดียวกัน
ถึงจะรู้ว่าใครบรรลุระดับไหนไม่ใช่โฆษณา
การบอกว่าเป็นเพื่อหวังผลในลาภสักการะยินดี
พอใจเพื่อให้คนอื่นไปเคารพกราบไหว้ตนหรือคะ
ที่ตอบมายังไม่ชัดหรือคะเอกอนไม่มีกาลามสูตร10
ถ้าตอบว่าใช่ฉันเป็นเอกอนจะเชื่อเลยหรือคะว่าเป็น
:b32:
ความจริงรู้ถูกตัวตนตามได้ตอนที่กำลังระลึกตามเสียงค่ะ
ถูกตัวตนตรงๆเหมือนซื้อหวยค่ะออกตรงๆไม่มีกลับไปกลับมา
เพราะคำว่าดับครบ6ทางน่ะกะพริบตาแล้วไม่ทันก็นะสะสมอวิชชาแล้ว
จะให้บอกยังไงล่ะหรือจะรีบเพียรอบรมจิตตนเองจากการฟังตรงจริงเพื่อให้คิดถูกตรงตามคำสอนได้น๊า
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 20:57 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ญาณ(บาลี)=ปัญญา(บาลี)แปลไทยว่าความเข้าใจถูกตามคำสอน
ส่วนจะเข้าใจระดับไหนก็มี3ระดับถ้าไม่ทำลำดับแรกจนถึงสัจญาณ
แปลว่าข้ามสุตมยปัญญาแสดงว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มไงคะเพราะว่า
สุตมยปัญญา=สัจญาณ...เห็นคำว่าญาณต่อท้ายสัจจะไหมคะนั่นน่ะ
คือสัมมาทิฏฐิคือฟังแล้วคิดถูกตามได้ไง...กรุณาดูว่าตรงคำไหนบ้าง
ตามมรรคแรกที่เขียนเรียนให้ทราบตามนั้นข้างบนนั้นน่ะเท่ากับอะไรบ้าง
:b55: :b55: :b55:



คุณโรสเห็นผิดแล้ว ญาณกับปัญญาคนละอย่างกันนะ นักอภิธรรมมักตีรวนรวมกัน

ญาณนี้เป็นการเข้าไปรู้เห็น ปัญญานี้เป็นวิชชาเป็นผลจากญาณอีกทีหนึ่ง

คุณโรสยังไม่เคยเข้าถึงจิตทำกิจ จะรู้ไม่ได้เลย ดังนั้นบัญญัติเชื่อตามกันมาของผู้ไม่ถึงนี้มันต่างกันมากเพี้ยนง่าย

สัจจะญาณ เป็นความเข้าไปเห็นของจริงแล้ว จิตทำกิจในรอบ ๓ อาการ ๑๒ แล้ว ไม่ใช่สุตะมยะปัญญา การฟังแล้วเกิดความรู้นี้ คือฟังแล้วเห็นแนวทาง

ผมจะถามคุณโรสนะว่า อุเบกขา กับ โมหะ ต่างกันยังไง ในอาการอื่นๆนอกจากมีสติกับไม่มีสติ ตอบผมหน่อยนะครับ

๑. สุตะ คือ รู้ว่าอุเบกขา กับ โมหะต่างกันที่มีสติกับไม่มี คุณโรสหาได้ทั่วไปในเน็ตตรงนี้
๒. การเข้าไปรู้เห็นในสภาวะจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ญาณ คุณโรสต้องปฏิบัติจริงเห็นจริงตรงนี้ โดยปราศจากสมมติความคิด
๓. ผลอันเกิดจากการเข้าไปรู้เห็นจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ปัญญา เป็นวิชชา ผลจากคุณโรสเห็นจริง ลงในพระอริยะสัจ ๔

มาตอบผมด้วยนะครับ ผมมีเวลาก่อนบ่าย ๒ จะกรรมฐาน

หากตอบไม่ได้ ไม่ถูกตรงจริงก็แสดงว่าคุณโรสเห็นผิดในสุตะ กับ สัจจะญาณตลอดมา
คำถามของเอกอน คุณรสไม่ต้องตอบก็ได้นะคะ
แต่อย่าลืมตอบคุณอากาศนะคะ

:b1:

:b12:
บอกไม่ฟังอริยสัจจะรู้ถูกตัวตน
ตอนกำลังฟังเข้าใจถูกตรงทางตรงๆ
คิดตามคำสอนถูกตัวตนได้เท่านั้น
ไม่ใช่คิดตามที่ตนเชื่อตาเนื้อที่เห็น
แล้วก็ไม่ใช่เชื่อว่าคนนั้นบอกคนนี้บอกว่า
คนนั้นเป็นพระอรหันต์มันเป็นไปไม่ได้ไง
ก็พระพุทธเจ้าบอกว่าปัญญาระดับเดียวกัน
ถึงจะรู้ว่าใครบรรลุระดับไหนไม่ใช่โฆษณา
การบอกว่าเป็นเพื่อหวังผลในลาภสักการะยินดี
พอใจเพื่อให้คนอื่นไปเคารพกราบไหว้ตนหรือคะ
ที่ตอบมายังไม่ชัดหรือคะเอกอนไม่มีกาลามสูตร10
ถ้าตอบว่าใช่ฉันเป็นเอกอนจะเชื่อเลยหรือคะว่าเป็น
:b32:
ความจริงรู้ถูกตัวตนตามได้ตอนที่กำลังระลึกตามเสียงค่ะ
ถูกตัวตนตรงๆเหมือนซื้อหวยค่ะออกตรงๆไม่มีกลับไปกลับมา
เพราะคำว่าดับครบ6ทางน่ะกะพริบตาแล้วไม่ทันก็นะสะสมอวิชชาแล้ว
จะให้บอกยังไงล่ะหรือจะรีบเพียรอบรมจิตตนเองจากการฟังตรงจริงเพื่อให้คิดถูกตรงตามคำสอนได้น๊า
:b32: :b32:


คนถาม ถามผิดนะนี่
ถามได้ไม่ตรงกับคำตอบ แย่จริง ๆ เลย :b32: :b32: :b32:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 20 ธ.ค. 2018, 21:19, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 20:59 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ญาณ(บาลี)=ปัญญา(บาลี)แปลไทยว่าความเข้าใจถูกตามคำสอน
ส่วนจะเข้าใจระดับไหนก็มี3ระดับถ้าไม่ทำลำดับแรกจนถึงสัจญาณ
แปลว่าข้ามสุตมยปัญญาแสดงว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มไงคะเพราะว่า
สุตมยปัญญา=สัจญาณ...เห็นคำว่าญาณต่อท้ายสัจจะไหมคะนั่นน่ะ
คือสัมมาทิฏฐิคือฟังแล้วคิดถูกตามได้ไง...กรุณาดูว่าตรงคำไหนบ้าง
ตามมรรคแรกที่เขียนเรียนให้ทราบตามนั้นข้างบนนั้นน่ะเท่ากับอะไรบ้าง
:b55: :b55: :b55:



คุณโรสเห็นผิดแล้ว ญาณกับปัญญาคนละอย่างกันนะ นักอภิธรรมมักตีรวนรวมกัน

ญาณนี้เป็นการเข้าไปรู้เห็น ปัญญานี้เป็นวิชชาเป็นผลจากญาณอีกทีหนึ่ง

คุณโรสยังไม่เคยเข้าถึงจิตทำกิจ จะรู้ไม่ได้เลย ดังนั้นบัญญัติเชื่อตามกันมาของผู้ไม่ถึงนี้มันต่างกันมากเพี้ยนง่าย

สัจจะญาณ เป็นความเข้าไปเห็นของจริงแล้ว จิตทำกิจในรอบ ๓ อาการ ๑๒ แล้ว ไม่ใช่สุตะมยะปัญญา การฟังแล้วเกิดความรู้นี้ คือฟังแล้วเห็นแนวทาง

ผมจะถามคุณโรสนะว่า อุเบกขา กับ โมหะ ต่างกันยังไง ในอาการอื่นๆนอกจากมีสติกับไม่มีสติ ตอบผมหน่อยนะครับ

๑. สุตะ คือ รู้ว่าอุเบกขา กับ โมหะต่างกันที่มีสติกับไม่มี คุณโรสหาได้ทั่วไปในเน็ตตรงนี้
๒. การเข้าไปรู้เห็นในสภาวะจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ญาณ คุณโรสต้องปฏิบัติจริงเห็นจริงตรงนี้ โดยปราศจากสมมติความคิด
๓. ผลอันเกิดจากการเข้าไปรู้เห็นจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ปัญญา เป็นวิชชา ผลจากคุณโรสเห็นจริง ลงในพระอริยะสัจ ๔

มาตอบผมด้วยนะครับ ผมมีเวลาก่อนบ่าย ๒ จะกรรมฐาน

หากตอบไม่ได้ ไม่ถูกตรงจริงก็แสดงว่าคุณโรสเห็นผิดในสุตะ กับ สัจจะญาณตลอดมา


คำถามของเอกอน คุณรสไม่ต้องตอบก็ได้นะคะ
แต่อย่าลืมตอบคุณอากาศนะคะ

:b1:

:b12:
บอกไม่ฟังอริยสัจจะรู้ถูกตัวตน
ตอนกำลังฟังเข้าใจถูกตรงทางตรงๆ
คิดตามคำสอนถูกตัวตนได้เท่านั้น
ไม่ใช่คิดตามที่ตนเชื่อตาเนื้อที่เห็น
แล้วก็ไม่ใช่เชื่อว่าคนนั้นบอกคนนี้บอกว่า
คนนั้นเป็นพระอรหันต์มันเป็นไปไม่ได้ไง
ก็พระพุทธเจ้าบอกว่าปัญญาระดับเดียวกัน
ถึงจะรู้ว่าใครบรรลุระดับไหนไม่ใช่โฆษณา
การบอกว่าเป็นเพื่อหวังผลในลาภสักการะยินดี
พอใจเพื่อให้คนอื่นไปเคารพกราบไหว้ตนหรือคะ
ที่ตอบมายังไม่ชัดหรือคะเอกอนไม่มีกาลามสูตร10
ถ้าตอบว่าใช่ฉันเป็นเอกอนจะเชื่อเลยหรือคะว่าเป็น
:b32:
ความจริงรู้ถูกตัวตนตามได้ตอนที่กำลังระลึกตามเสียงค่ะ
ถูกตัวตนตรงๆเหมือนซื้อหวยค่ะออกตรงๆไม่มีกลับไปกลับมา
เพราะคำว่าดับครบ6ทางน่ะกะพริบตาแล้วไม่ทันก็นะสะสมอวิชชาแล้ว
จะให้บอกยังไงล่ะหรือจะรีบเพียรอบรมจิตตนเองจากการฟังตรงจริงเพื่อให้คิดถูกตรงตามคำสอนได้น๊า
:b32: :b32:




ไม่เห็นตอบที่ถามเลย กลัวหรอครับ แหมคุณโรสเก่งอยู่แล้วจะกลัวทำไมครับ ไม่รู้สิจึงกลัว เปลี่ยนเรื่องคุยไปแระ. รอคำตอบคุณโรสนะครับ

ไม่รู้ก็บอกไม่รู้จิครับ อิอิ ผมบอกได้ครบหมดนะ อิอิ

ผมจะถามคุณโรสนะว่า อุเบกขา กับ โมหะ ต่างกันยังไง ในอาการอื่นๆนอกจากมีสติกับไม่มีสติ ตอบผมหน่อยนะครับ

๑. สุตะ คือ รู้ว่าอุเบกขา กับ โมหะต่างกันที่มีสติกับไม่มี คุณโรสหาได้ทั่วไปในเน็ตตรงนี้
๒. การเข้าไปรู้เห็นในสภาวะจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ญาณ คุณโรสต้องปฏิบัติจริงเห็นจริงตรงนี้ โดยปราศจากสมมติความคิด
๓. ผลอันเกิดจากการเข้าไปรู้เห็นจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ปัญญา เป็นวิชชา ผลจากคุณโรสเห็นจริง ลงในพระอริยะสัจ ๔

มาตอบผมด้วยนะครับ ผมมีเวลาก่อนบ่าย ๒ จะกรรมฐาน

หากตอบไม่ได้ ไม่ถูกตรงจริงก็แสดงว่าคุณโรสเห็นผิดในสุตะ กับ สัจจะญาณตลอดมา

ตอบด้วยครับ อย่าหนี อย่าเปลี่บนเรื่องพูดครับ

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 23:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ญาณ(บาลี)=ปัญญา(บาลี)แปลไทยว่าความเข้าใจถูกตามคำสอน
ส่วนจะเข้าใจระดับไหนก็มี3ระดับถ้าไม่ทำลำดับแรกจนถึงสัจญาณ
แปลว่าข้ามสุตมยปัญญาแสดงว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มไงคะเพราะว่า
สุตมยปัญญา=สัจญาณ...เห็นคำว่าญาณต่อท้ายสัจจะไหมคะนั่นน่ะ
คือสัมมาทิฏฐิคือฟังแล้วคิดถูกตามได้ไง...กรุณาดูว่าตรงคำไหนบ้าง
ตามมรรคแรกที่เขียนเรียนให้ทราบตามนั้นข้างบนนั้นน่ะเท่ากับอะไรบ้าง
:b55: :b55: :b55:



คุณโรสเห็นผิดแล้ว ญาณกับปัญญาคนละอย่างกันนะ นักอภิธรรมมักตีรวนรวมกัน

ญาณนี้เป็นการเข้าไปรู้เห็น ปัญญานี้เป็นวิชชาเป็นผลจากญาณอีกทีหนึ่ง

คุณโรสยังไม่เคยเข้าถึงจิตทำกิจ จะรู้ไม่ได้เลย ดังนั้นบัญญัติเชื่อตามกันมาของผู้ไม่ถึงนี้มันต่างกันมากเพี้ยนง่าย

สัจจะญาณ เป็นความเข้าไปเห็นของจริงแล้ว จิตทำกิจในรอบ ๓ อาการ ๑๒ แล้ว ไม่ใช่สุตะมยะปัญญา การฟังแล้วเกิดความรู้นี้ คือฟังแล้วเห็นแนวทาง

ผมจะถามคุณโรสนะว่า อุเบกขา กับ โมหะ ต่างกันยังไง ในอาการอื่นๆนอกจากมีสติกับไม่มีสติ ตอบผมหน่อยนะครับ

๑. สุตะ คือ รู้ว่าอุเบกขา กับ โมหะต่างกันที่มีสติกับไม่มี คุณโรสหาได้ทั่วไปในเน็ตตรงนี้
๒. การเข้าไปรู้เห็นในสภาวะจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ญาณ คุณโรสต้องปฏิบัติจริงเห็นจริงตรงนี้ โดยปราศจากสมมติความคิด
๓. ผลอันเกิดจากการเข้าไปรู้เห็นจริงของทั้ง ๒ อย่าง คือ ปัญญา เป็นวิชชา ผลจากคุณโรสเห็นจริง ลงในพระอริยะสัจ ๔

มาตอบผมด้วยนะครับ ผมมีเวลาก่อนบ่าย ๒ จะกรรมฐาน

หากตอบไม่ได้ ไม่ถูกตรงจริงก็แสดงว่าคุณโรสเห็นผิดในสุตะ กับ สัจจะญาณตลอดมา
คำถามของเอกอน คุณรสไม่ต้องตอบก็ได้นะคะ
แต่อย่าลืมตอบคุณอากาศนะคะ

:b1:

:b12:
บอกไม่ฟังอริยสัจจะรู้ถูกตัวตน
ตอนกำลังฟังเข้าใจถูกตรงทางตรงๆ
คิดตามคำสอนถูกตัวตนได้เท่านั้น
ไม่ใช่คิดตามที่ตนเชื่อตาเนื้อที่เห็น
แล้วก็ไม่ใช่เชื่อว่าคนนั้นบอกคนนี้บอกว่า
คนนั้นเป็นพระอรหันต์มันเป็นไปไม่ได้ไง
ก็พระพุทธเจ้าบอกว่าปัญญาระดับเดียวกัน
ถึงจะรู้ว่าใครบรรลุระดับไหนไม่ใช่โฆษณา
การบอกว่าเป็นเพื่อหวังผลในลาภสักการะยินดี
พอใจเพื่อให้คนอื่นไปเคารพกราบไหว้ตนหรือคะ
ที่ตอบมายังไม่ชัดหรือคะเอกอนไม่มีกาลามสูตร10
ถ้าตอบว่าใช่ฉันเป็นเอกอนจะเชื่อเลยหรือคะว่าเป็น
:b32:
ความจริงรู้ถูกตัวตนตามได้ตอนที่กำลังระลึกตามเสียงค่ะ
ถูกตัวตนตรงๆเหมือนซื้อหวยค่ะออกตรงๆไม่มีกลับไปกลับมา
เพราะคำว่าดับครบ6ทางน่ะกะพริบตาแล้วไม่ทันก็นะสะสมอวิชชาแล้ว
จะให้บอกยังไงล่ะหรือจะรีบเพียรอบรมจิตตนเองจากการฟังตรงจริงเพื่อให้คิดถูกตรงตามคำสอนได้น๊า
:b32: :b32:


คนถาม ถามผิดนะนี่
ถามได้ไม่ตรงกับคำตอบ แย่จริง ๆ เลย :b32: :b32: :b32:

:b32:
โมหะก็เดี๋ยวนี้ไงคะแยกความจริงระหว่างเห็นผิดกับเห็นถูกตามคำสอนไม่ออก
ตาเนื้อใครไหนที่มันมาอวดอุตริว่ามันรู้ความจริงอย่างที่พระพุทธเจ้าบอก
จิตเห็นสีได้แค่1สีในการเกิดจิตเห็นหนึ่งขณะตาไม่บอดหรือตาบอดสี
:b32:
ถ้าอยากรู้ว่าอุเบกขาได้หรือเปล่าก็ลองให้พ่อเธอหรือลูกเธอตายจะได้รู้ไงว่าอุเบกขาได้ไหม
จะรอไปจนจิตออกจากร่างแล้วให้มีคนไปเคาะโลงเรียกว่าฟังธรรมนะพ่อนะแม่นะลูกนะหรือคะ
:b13:
:b32: :b32:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 482 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ... 33  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 29 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร