วันเวลาปัจจุบัน 20 เม.ย. 2024, 10:55  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 76 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2018, 22:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
สัญญาจำผิดเห็นแล้วเป็นคนสัตว์วัตถุทันทีทำให้จิตวิปลาสจำคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามคำสอน
เพราะจักขุวิญญาณคือตาเห็นสีได้เพียง1สีดับทันทีคิดนึกเป็นคนสัตว์วัตถุสำรวมตายังไงเห็นผิดแล้ว
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 06:17 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ที่ถูก..ต้องเห็น...อย่างที่พระพุทธเจ้าสอนนะครับ..

http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... 924&Z=4181
อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖
มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์

๘. อานาปานสติสูตร (๑๑๘)
-------------------------------


[๒๘๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้วอย่างไร
ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน
ธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างก็ดี นั่งคู้บัลลังก์
ตั้งกายตรง ดำรงสติมั่นเฉพาะหน้า เธอย่อมมีสติหายใจออก มีสติหายใจเข้า
เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า หายใจออกยาว หรือเมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า
หายใจเข้ายาว เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้น หรือเมื่อหายใจ
เข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลม
ทั้งปวง หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า สำเหนียก
อยู่ ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า
สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ปีติ หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้
ปีติ หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจออก ว่าเราจัก
เป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร
หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเรา
จักระงับจิตสังขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจเข้า สำเหนียกอยู่
ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิต หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิต หายใจเข้า
สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจ
เข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจออก ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจเข้า
สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจออก ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจเข้า
สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจออก ว่าเราจักเป็น
ผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณา
ความคลายกำหนัด หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัด
หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจออก
ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็น
ผู้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความ
สละคืนกิเลส หายใจเข้า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้ว
อย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้แล จึงมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ฯ
[๒๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้วอย่างไร ทำ
ให้มากแล้วอย่างไร จึงบำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
สมัยใด เมื่อภิกษุหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า หายใจออกยาว หรือเมื่อหายใจเข้า
ยาว ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้ายาว เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้น
หรือเมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้
กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจ
เข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับกายสังขาร
หายใจเข้า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกาย
มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ดูกร
ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวลมหายใจออก ลมหายใจเข้านี้ ว่าเป็นกายชนิดหนึ่ง
ในพวกกาย เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกาย
มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุสำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้
ปีติ หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ปีติ หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเรา
จักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจเข้า สำเหนียก
อยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้
จิตสังขาร หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจออก
ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจเข้า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า
พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและ
โทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวการใส่ใจลมหายใจออก
ลมหายใจเข้าเป็นอย่างดีนี้ ว่าเป็นเวทนาชนิดหนึ่ง ในพวกเวทนา เพราะฉะนั้นแล
ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่า พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู้สึกตัว
มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุสำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนด
รู้จิต หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิต หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจัก
ทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจเข้า สำเหนียกอยู่
ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจออก ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจเข้า สำเหนียกอยู่
ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจออก ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจเข้า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า พิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ
กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล่าว
อานาปานสติแก่ภิกษุผู้เผลอสติ ไม่รู้สึกตัวอยู่ เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น
ภิกษุจึงชื่อว่า พิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌา
และโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุสำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณา
ความไม่เที่ยง หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจเข้า
สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัด หายใจออก ว่าเราจัก
เป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัด หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้
ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส
หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจ
ออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจเข้า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า พิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ
กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ เธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสด้วย
ปัญญาแล้ว ย่อมเป็นผู้วางเฉยได้ดี เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่า
พิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและ
โทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้ว
อย่างนี้แล ชื่อว่าบำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้ ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 06:27 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อีกพระสูตร..

ให้เห็นอย่างที่พระพุทธเจ้าสอน..

http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... 410&Z=1433

อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต

วิปัลลาสสูต

......................


[๔๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส ๔
ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส
ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง ๑ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข ๑ ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่า
เป็นตน ๑ ในสิ่งที่ไม่งามว่างาม ๑ สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส
๔ ประการนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่
วิปลาส ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่
วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าไม่เที่ยง ๑ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นทุกข์ ๑
ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าไม่ใช่ตน ๑ ในสิ่งที่ไม่งามว่าไม่งาม ๑ สัญญาไม่วิปลาส
จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ๔ ประการนี้แล ฯ

เหล่าสัตว์ผู้ถูกมิจฉาทิฐิกำจัด มีจิตฟุ้งซ่าน มีความสำคัญผิด
มีความสำคัญในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง สำคัญในสิ่งที่เป็นทุกข์
ว่าเป็นสุข สำคัญในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน และสำคัญในสิ่งที่
ไม่งามว่างาม สัตว์คือชนเหล่านั้น ชื่อว่าประกอบแล้วในเครื่อง
ประกอบของมาร ไม่เป็นผู้เกษมจากโยคะ มีปรกติไปสู่ชาติ
และมรณะ ย่อมไปสู่สงสาร


ก็ในกาลใด พระพุทธเจ้าทั้งหลาย
ผู้กระทำแสงสว่าง บังเกิดขึ้นในโลก พระพุทธเจ้าเหล่านั้น
ย่อมประกาศธรรมนี้เป็นเครื่องให้สัตว์ถึงความสงบทุกข์ ชน
เหล่านั้น ผู้มีปัญญา ฟังธรรมของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น
แล้ว ได้จิตของตน ได้เห็นสิ่งไม่เที่ยงโดยความเป็นของไม่
เที่ยง ได้เห็นทุกข์โดยความเป็นทุกข์ ได้เห็นสิ่งที่ไม่ใช่ตน
ว่าไม่ใช่ตน ได้เห็นสิ่งที่ไม่งามโดยความเป็นของไม่งาม
สมาทานสัมมาทิฐิ จึงล่วงทุกข์ทั้งปวงได้ ฯ

จบสูตรที่ ๙



:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 07:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
สัญญาจำผิดเห็นแล้วเป็นคนสัตว์วัตถุทันทีทำให้จิตวิปลาสจำคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามคำสอน
เพราะจักขุวิญญาณคือตาเห็นสีได้เพียง1สีดับทันทีคิดนึกเป็นคนสัตว์วัตถุสำรวมตายังไงเห็นผิดแล้ว



เรื่องสัญยิงสัญญาพึงศึกษากว้างๆที่

ความรู้ตามแนวพุทธธรรม

viewtopic.php?f=1&t=56123

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 08:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




20180719_071841.png
20180719_071841.png [ 184.99 KiB | เปิดดู 3875 ครั้ง ]
Rosarin เขียน:
Kiss
สัญญาจำผิดเห็นแล้วเป็นคนสัตว์วัตถุทันทีทำให้จิตวิปลาสจำคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามคำสอน
เพราะจักขุวิญญาณคือตาเห็นสีได้เพียง1สีดับทันทีคิดนึกเป็นคนสัตว์วัตถุสำรวมตายังไงเห็นผิดแล้ว
onion onion onion


เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 10:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
สัญญาจำผิดเห็นแล้วเป็นคนสัตว์วัตถุทันทีทำให้จิตวิปลาสจำคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามคำสอน
เพราะจักขุวิญญาณคือตาเห็นสีได้เพียง1สีดับทันทีคิดนึกเป็นคนสัตว์วัตถุสำรวมตายังไงเห็นผิดแล้ว
onion onion onion


เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

สัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทุกขณะ
ถ้าไม่รู้ว่าตนเองมีความเห็นผิดจะรู้ตัวตอนไหนคะ
เดี๋ยวนี้เลยค่ะที่กำลังลืมตาดูอยู่นี้ไม่ได้เห็นเพียงสี1สีเลยค่ะ
ตถาคตตรัสรู้ว่าจิตเห็นสีเพียง1สีเกิดแล้วดับสะสมที่จิตทันที
จะไม่รู้ความจริงเดี๋ยวนี้เลยว่าตนเองกำลังเห็นผิดจะไปรู้ความจริงตอนไหนคะ
ตถาคตคือมหาบุรุษเอกบุรุษ1เดียวที่พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์จะมาตรัสให้ฟังเพื่อเข้าใจถูกตามได้ค่ะ
เดี๋ยวนี้เลยที่ลืมตาอยู่มีธัมมะปรากฏครบ6ทางเมื่อเห็นเป็นใหญ่เป็นประธานในการพาเห็นผิดค่ะ
เห็นผิดจริงๆคือเห็นคนสัตว์วัตถุคือตัวเองน่ะกำลังเห็นอะไรเอาไปเทียบตามตำราว่าจิตเห็นสี1สีดับทันที
จึงกลายเป็นตาเนื้อทุกคนเป็นวิบากจิตเมื่อเห็นสิ่งที่ปรากฏเป็นคนสัตว์วัตถุจึงกลายเป็นสัญญาวิปลาส
จำผิดคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามจิตเห็นตามที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเห็นของตนจึงกลายเป็นมิจฉาทิฏฐิ
มีอุปาทานขันธ์มองเห็นทุกอย่างที่ปรากฏโดยไม่รู้ความจริงคือความเห็นผิดกำลังเห็นผิดเป็นกิเลสแล้วค่ะ
และเอาเห็นที่เห็นผิดที่กลายเป็นกิเลสออกไม่ได้จึงต้องเพียรฟังพระพุทธพจน์เพื่อให้เกิดสัมมาตามทีละน้อย
:b55: :b55: :b55:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 16:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
สัญญาจำผิดเห็นแล้วเป็นคนสัตว์วัตถุทันทีทำให้จิตวิปลาสจำคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามคำสอน
เพราะจักขุวิญญาณคือตาเห็นสีได้เพียง1สีดับทันทีคิดนึกเป็นคนสัตว์วัตถุสำรวมตายังไงเห็นผิดแล้ว
onion onion onion


เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

สัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทุกขณะ
ถ้าไม่รู้ว่าตนเองมีความเห็นผิดจะรู้ตัวตอนไหนคะ
เดี๋ยวนี้เลยค่ะที่กำลังลืมตาดูอยู่นี้ไม่ได้เห็นเพียงสี1สีเลยค่ะ
ตถาคตตรัสรู้ว่าจิตเห็นสีเพียง1สีเกิดแล้วดับสะสมที่จิตทันที
จะไม่รู้ความจริงเดี๋ยวนี้เลยว่าตนเองกำลังเห็นผิดจะไปรู้ความจริงตอนไหนคะ
ตถาคตคือมหาบุรุษเอกบุรุษ1เดียวที่พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์จะมาตรัสให้ฟังเพื่อเข้าใจถูกตามได้ค่ะ
เดี๋ยวนี้เลยที่ลืมตาอยู่มีธัมมะปรากฏครบ6ทางเมื่อเห็นเป็นใหญ่เป็นประธานในการพาเห็นผิดค่ะ
เห็นผิดจริงๆคือเห็นคนสัตว์วัตถุคือตัวเองน่ะกำลังเห็นอะไรเอาไปเทียบตามตำราว่าจิตเห็นสี1สีดับทันที
จึงกลายเป็นตาเนื้อทุกคนเป็นวิบากจิตเมื่อเห็นสิ่งที่ปรากฏเป็นคนสัตว์วัตถุจึงกลายเป็นสัญญาวิปลาส
จำผิดคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามจิตเห็นตามที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเห็นของตนจึงกลายเป็นมิจฉาทิฏฐิ
มีอุปาทานขันธ์มองเห็นทุกอย่างที่ปรากฏโดยไม่รู้ความจริงคือความเห็นผิดกำลังเห็นผิดเป็นกิเลสแล้วค่ะ
และเอาเห็นที่เห็นผิดที่กลายเป็นกิเลสออกไม่ได้จึงต้องเพียรฟังพระพุทธพจน์เพื่อให้เกิดสัมมาตามทีละน้อย



เกินเยียวยา

ขี้เหม็นเป็นกิเลส :b1:

เพิ่งนึกออก ไม่เคยถามเรื่องสีเลย คุณโรสที่ว่าเห็นสี เห็นสีทีละสี มีสีอะไรบ้างขอรับที่เห็นน่ะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 16:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
สัญญาจำผิดเห็นแล้วเป็นคนสัตว์วัตถุทันทีทำให้จิตวิปลาสจำคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามคำสอน
เพราะจักขุวิญญาณคือตาเห็นสีได้เพียง1สีดับทันทีคิดนึกเป็นคนสัตว์วัตถุสำรวมตายังไงเห็นผิดแล้ว
onion onion onion


เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

สัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทุกขณะ
ถ้าไม่รู้ว่าตนเองมีความเห็นผิดจะรู้ตัวตอนไหนคะ
เดี๋ยวนี้เลยค่ะที่กำลังลืมตาดูอยู่นี้ไม่ได้เห็นเพียงสี1สีเลยค่ะ
ตถาคตตรัสรู้ว่าจิตเห็นสีเพียง1สีเกิดแล้วดับสะสมที่จิตทันที
จะไม่รู้ความจริงเดี๋ยวนี้เลยว่าตนเองกำลังเห็นผิดจะไปรู้ความจริงตอนไหนคะ
ตถาคตคือมหาบุรุษเอกบุรุษ1เดียวที่พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์จะมาตรัสให้ฟังเพื่อเข้าใจถูกตามได้ค่ะ
เดี๋ยวนี้เลยที่ลืมตาอยู่มีธัมมะปรากฏครบ6ทางเมื่อเห็นเป็นใหญ่เป็นประธานในการพาเห็นผิดค่ะ
เห็นผิดจริงๆคือเห็นคนสัตว์วัตถุคือตัวเองน่ะกำลังเห็นอะไรเอาไปเทียบตามตำราว่าจิตเห็นสี1สีดับทันที
จึงกลายเป็นตาเนื้อทุกคนเป็นวิบากจิตเมื่อเห็นสิ่งที่ปรากฏเป็นคนสัตว์วัตถุจึงกลายเป็นสัญญาวิปลาส
จำผิดคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามจิตเห็นตามที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเห็นของตนจึงกลายเป็นมิจฉาทิฏฐิ
มีอุปาทานขันธ์มองเห็นทุกอย่างที่ปรากฏโดยไม่รู้ความจริงคือความเห็นผิดกำลังเห็นผิดเป็นกิเลสแล้วค่ะ
และเอาเห็นที่เห็นผิดที่กลายเป็นกิเลสออกไม่ได้จึงต้องเพียรฟังพระพุทธพจน์เพื่อให้เกิดสัมมาตามทีละน้อย



เกินเยียวยา

ขี้เหม็นเป็นกิเลส :b1:

เพิ่งนึกออก ไม่เคยถามเรื่องสีเลย คุณโรสที่ว่าเห็นสี เห็นสีทีละสี มีสีอะไรบ้างขอรับที่เห็นน่ะ

:b12:
ไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้าไม่ได้เห็นสีรู้ตัวไหมล่ะ
เห็นคนสัตว์วัตถุหรือเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว
เป็นความเห็นผิดแล้วเป็นกิเลสแล้ว
เข้าใจว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าไหม
เห็นแค่สี1สีดับทันทีจะสีอะไร
จะรู้ได้ไหมเป็นกิเลสตัวเอง
ยังไม่รู้อีกเหรอคะว่ามีกิเลส
:b32: :b32:
เห็นคนสัตว์วัตถุเป็นรูปนิมิตที่เกิดจากสีหลากสีที่ดับไปหลายขณะจำอดีตสีไว้ไงคะ
:b34:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 16:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
สัญญาจำผิดเห็นแล้วเป็นคนสัตว์วัตถุทันทีทำให้จิตวิปลาสจำคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามคำสอน
เพราะจักขุวิญญาณคือตาเห็นสีได้เพียง1สีดับทันทีคิดนึกเป็นคนสัตว์วัตถุสำรวมตายังไงเห็นผิดแล้ว
onion onion onion


เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

สัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทุกขณะ
ถ้าไม่รู้ว่าตนเองมีความเห็นผิดจะรู้ตัวตอนไหนคะ
เดี๋ยวนี้เลยค่ะที่กำลังลืมตาดูอยู่นี้ไม่ได้เห็นเพียงสี1สีเลยค่ะ
ตถาคตตรัสรู้ว่าจิตเห็นสีเพียง1สีเกิดแล้วดับสะสมที่จิตทันที
จะไม่รู้ความจริงเดี๋ยวนี้เลยว่าตนเองกำลังเห็นผิดจะไปรู้ความจริงตอนไหนคะ
ตถาคตคือมหาบุรุษเอกบุรุษ1เดียวที่พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์จะมาตรัสให้ฟังเพื่อเข้าใจถูกตามได้ค่ะ
เดี๋ยวนี้เลยที่ลืมตาอยู่มีธัมมะปรากฏครบ6ทางเมื่อเห็นเป็นใหญ่เป็นประธานในการพาเห็นผิดค่ะ
เห็นผิดจริงๆคือเห็นคนสัตว์วัตถุคือตัวเองน่ะกำลังเห็นอะไรเอาไปเทียบตามตำราว่าจิตเห็นสี1สีดับทันที
จึงกลายเป็นตาเนื้อทุกคนเป็นวิบากจิตเมื่อเห็นสิ่งที่ปรากฏเป็นคนสัตว์วัตถุจึงกลายเป็นสัญญาวิปลาส
จำผิดคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามจิตเห็นตามที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเห็นของตนจึงกลายเป็นมิจฉาทิฏฐิ
มีอุปาทานขันธ์มองเห็นทุกอย่างที่ปรากฏโดยไม่รู้ความจริงคือความเห็นผิดกำลังเห็นผิดเป็นกิเลสแล้วค่ะ
และเอาเห็นที่เห็นผิดที่กลายเป็นกิเลสออกไม่ได้จึงต้องเพียรฟังพระพุทธพจน์เพื่อให้เกิดสัมมาตามทีละน้อย



เกินเยียวยา

ขี้เหม็นเป็นกิเลส :b1:

เพิ่งนึกออก ไม่เคยถามเรื่องสีเลย คุณโรสที่ว่าเห็นสี เห็นสีทีละสี มีสีอะไรบ้างขอรับที่เห็นน่ะ

:b12:

ไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้าไม่ได้เห็นสีรู้ตัวไหมล่ะ
เห็นคนสัตว์วัตถุหรือเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว
เป็นความเห็นผิดแล้วเป็นกิเลสแล้ว
เข้าใจว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าไหม
เห็นแค่สี1สีดับทันทีจะสีอะไร
จะรู้ได้ไหมเป็นกิเลสตัวเอง
ยังไม่รู้อีกเหรอคะว่ามีกิเลส
:b32: :b32:
เห็นคนสัตว์วัตถุเป็นรูปนิมิตที่เกิดจากสีหลากสีที่ดับไปหลายขณะจำอดีตสีไว้ไงคะ
:b34:



เอาไงแน่ เด๋วก็เห็นทีละสี มาตอนนี้ ไม่ได้เห็นสีอีกแระ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 16:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
สัญญาจำผิดเห็นแล้วเป็นคนสัตว์วัตถุทันทีทำให้จิตวิปลาสจำคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามคำสอน
เพราะจักขุวิญญาณคือตาเห็นสีได้เพียง1สีดับทันทีคิดนึกเป็นคนสัตว์วัตถุสำรวมตายังไงเห็นผิดแล้ว
onion onion onion


เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

สัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทุกขณะ
ถ้าไม่รู้ว่าตนเองมีความเห็นผิดจะรู้ตัวตอนไหนคะ
เดี๋ยวนี้เลยค่ะที่กำลังลืมตาดูอยู่นี้ไม่ได้เห็นเพียงสี1สีเลยค่ะ
ตถาคตตรัสรู้ว่าจิตเห็นสีเพียง1สีเกิดแล้วดับสะสมที่จิตทันที
จะไม่รู้ความจริงเดี๋ยวนี้เลยว่าตนเองกำลังเห็นผิดจะไปรู้ความจริงตอนไหนคะ
ตถาคตคือมหาบุรุษเอกบุรุษ1เดียวที่พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์จะมาตรัสให้ฟังเพื่อเข้าใจถูกตามได้ค่ะ
เดี๋ยวนี้เลยที่ลืมตาอยู่มีธัมมะปรากฏครบ6ทางเมื่อเห็นเป็นใหญ่เป็นประธานในการพาเห็นผิดค่ะ
เห็นผิดจริงๆคือเห็นคนสัตว์วัตถุคือตัวเองน่ะกำลังเห็นอะไรเอาไปเทียบตามตำราว่าจิตเห็นสี1สีดับทันที
จึงกลายเป็นตาเนื้อทุกคนเป็นวิบากจิตเมื่อเห็นสิ่งที่ปรากฏเป็นคนสัตว์วัตถุจึงกลายเป็นสัญญาวิปลาส
จำผิดคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามจิตเห็นตามที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเห็นของตนจึงกลายเป็นมิจฉาทิฏฐิ
มีอุปาทานขันธ์มองเห็นทุกอย่างที่ปรากฏโดยไม่รู้ความจริงคือความเห็นผิดกำลังเห็นผิดเป็นกิเลสแล้วค่ะ
และเอาเห็นที่เห็นผิดที่กลายเป็นกิเลสออกไม่ได้จึงต้องเพียรฟังพระพุทธพจน์เพื่อให้เกิดสัมมาตามทีละน้อย



เกินเยียวยา

ขี้เหม็นเป็นกิเลส :b1:

เพิ่งนึกออก ไม่เคยถามเรื่องสีเลย คุณโรสที่ว่าเห็นสี เห็นสีทีละสี มีสีอะไรบ้างขอรับที่เห็นน่ะ

:b12:

ไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้าไม่ได้เห็นสีรู้ตัวไหมล่ะ
เห็นคนสัตว์วัตถุหรือเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว
เป็นความเห็นผิดแล้วเป็นกิเลสแล้ว
เข้าใจว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าไหม
เห็นแค่สี1สีดับทันทีจะสีอะไร
จะรู้ได้ไหมเป็นกิเลสตัวเอง
ยังไม่รู้อีกเหรอคะว่ามีกิเลส
:b32: :b32:
เห็นคนสัตว์วัตถุเป็นรูปนิมิตที่เกิดจากสีหลากสีที่ดับไปหลายขณะจำอดีตสีไว้ไงคะ
:b34:



เอาไงแน่ เด๋วก็เห็นทีละสี มาตอนนี้ ไม่ได้เห็นสีอีกแระ :b32:

ยกเว้นพระพุทธเจ้าเท่านั้นที่เห็นสีแล้วเป็นชาวพุทธประสาอะไร
ไม่เข้าใจว่าตัวเองเห็นอย่างพระพุทธเจ้าไหมแกล้งโง่หรือโง่จริงคะ
อวิชชาคือโง่รู้หรือยังมีใครแกล้งโง่ไหมมีแต่โง่แล้วที่ไม่รู้ว่าทรงบอกอะไร
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 16:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
สัญญาจำผิดเห็นแล้วเป็นคนสัตว์วัตถุทันทีทำให้จิตวิปลาสจำคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามคำสอน
เพราะจักขุวิญญาณคือตาเห็นสีได้เพียง1สีดับทันทีคิดนึกเป็นคนสัตว์วัตถุสำรวมตายังไงเห็นผิดแล้ว
onion onion onion


เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

สัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทุกขณะ
ถ้าไม่รู้ว่าตนเองมีความเห็นผิดจะรู้ตัวตอนไหนคะ
เดี๋ยวนี้เลยค่ะที่กำลังลืมตาดูอยู่นี้ไม่ได้เห็นเพียงสี1สีเลยค่ะ
ตถาคตตรัสรู้ว่าจิตเห็นสีเพียง1สีเกิดแล้วดับสะสมที่จิตทันที
จะไม่รู้ความจริงเดี๋ยวนี้เลยว่าตนเองกำลังเห็นผิดจะไปรู้ความจริงตอนไหนคะ
ตถาคตคือมหาบุรุษเอกบุรุษ1เดียวที่พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์จะมาตรัสให้ฟังเพื่อเข้าใจถูกตามได้ค่ะ
เดี๋ยวนี้เลยที่ลืมตาอยู่มีธัมมะปรากฏครบ6ทางเมื่อเห็นเป็นใหญ่เป็นประธานในการพาเห็นผิดค่ะ
เห็นผิดจริงๆคือเห็นคนสัตว์วัตถุคือตัวเองน่ะกำลังเห็นอะไรเอาไปเทียบตามตำราว่าจิตเห็นสี1สีดับทันที
จึงกลายเป็นตาเนื้อทุกคนเป็นวิบากจิตเมื่อเห็นสิ่งที่ปรากฏเป็นคนสัตว์วัตถุจึงกลายเป็นสัญญาวิปลาส
จำผิดคลาดเคลื่อนไม่ตรงตามจิตเห็นตามที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเห็นของตนจึงกลายเป็นมิจฉาทิฏฐิ
มีอุปาทานขันธ์มองเห็นทุกอย่างที่ปรากฏโดยไม่รู้ความจริงคือความเห็นผิดกำลังเห็นผิดเป็นกิเลสแล้วค่ะ
และเอาเห็นที่เห็นผิดที่กลายเป็นกิเลสออกไม่ได้จึงต้องเพียรฟังพระพุทธพจน์เพื่อให้เกิดสัมมาตามทีละน้อย



เกินเยียวยา

ขี้เหม็นเป็นกิเลส :b1:

เพิ่งนึกออก ไม่เคยถามเรื่องสีเลย คุณโรสที่ว่าเห็นสี เห็นสีทีละสี มีสีอะไรบ้างขอรับที่เห็นน่ะ

:b12:

ไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้าไม่ได้เห็นสีรู้ตัวไหมล่ะ
เห็นคนสัตว์วัตถุหรือเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว
เป็นความเห็นผิดแล้วเป็นกิเลสแล้ว
เข้าใจว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าไหม
เห็นแค่สี1สีดับทันทีจะสีอะไร
จะรู้ได้ไหมเป็นกิเลสตัวเอง
ยังไม่รู้อีกเหรอคะว่ามีกิเลส
:b32: :b32:
เห็นคนสัตว์วัตถุเป็นรูปนิมิตที่เกิดจากสีหลากสีที่ดับไปหลายขณะจำอดีตสีไว้ไงคะ
:b34:



เอาไงแน่ เด๋วก็เห็นทีละสี มาตอนนี้ ไม่ได้เห็นสีอีกแระ :b32:

ยกเว้นพระพุทธเจ้าเท่านั้นที่เห็นสีแล้วเป็นชาวพุทธประสาอะไร
ไม่เข้าใจว่าตัวเองเห็นอย่างพระพุทธเจ้าไหมแกล้งโง่หรือโง่จริงคะ
อวิชชาคือโง่รู้หรือยังมีใครแกล้งโง่ไหมมีแต่โง่แล้วที่ไม่รู้ว่าทรงบอกอะไร
:b32: :b32:



สนิทัสสนรูป รูปซึ่งมองเห็นได้ คือ ตา มองเห็น ได้แก่ รูปารมณ์ (หมายถึง วัณณะ คือ สี)

คุณโรสมีตาไหม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 16:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต

วิปัลลาสสูตร
......................


[๔๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส ๔
ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส
ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง ๑ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข ๑ ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่า
เป็นตน ๑ ในสิ่งที่ไม่งามว่างาม ๑ สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส
๔ ประการนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่
วิปลาส ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่
วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าไม่เที่ยง ๑ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นทุกข์ ๑
ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าไม่ใช่ตน ๑ ในสิ่งที่ไม่งามว่าไม่งาม ๑ สัญญาไม่วิปลาส
จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ๔ ประการนี้แล ฯ

เหล่าสัตว์ผู้ถูกมิจฉาทิฐิกำจัด มีจิตฟุ้งซ่าน มีความสำคัญผิด
มีความสำคัญในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง สำคัญในสิ่งที่เป็นทุกข์
ว่าเป็นสุข สำคัญในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน และสำคัญในสิ่งที่
ไม่งามว่างาม สัตว์คือชนเหล่านั้น ชื่อว่าประกอบแล้วในเครื่อง
ประกอบของมาร ไม่เป็นผู้เกษมจากโยคะ มีปรกติไปสู่ชาติ
และมรณะ ย่อมไปสู่สงสาร

ก็ในกาลใด พระพุทธเจ้าทั้งหลาย
ผู้กระทำแสงสว่าง บังเกิดขึ้นในโลก พระพุทธเจ้าเหล่านั้น
ย่อมประกาศธรรมนี้เป็นเครื่องให้สัตว์ถึงความสงบทุกข์ ชน
เหล่านั้น ผู้มีปัญญา ฟังธรรมของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น
แล้ว ได้จิตของตน ได้เห็นสิ่งไม่เที่ยงโดยความเป็นของไม่
เที่ยง ได้เห็นทุกข์โดยความเป็นทุกข์ ได้เห็นสิ่งที่ไม่ใช่ตน
ว่าไม่ใช่ตน ได้เห็นสิ่งที่ไม่งามโดยความเป็นของไม่งาม
สมาทานสัมมาทิฐิ จึงล่วงทุกข์ทั้งปวงได้ ฯ
จบสูตรที่ ๙

ลุงหมาน เขียน:
เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

สัญญาวิปัลลาส จิตตวิปัลลาส ทิฏฐิวิปัลลาส 4 เป็นคำที่พระพุทธองค์สอน
ดันไปจำป้าจินต์สอนผิดๆถูกๆมา
ลุงหมาน อธิบายได้ชัดเจน กลับไม่ทำความเข้าใจในคำพระพุทธองค์
ไหน บอกว่าคิดตามพระพุทธองค์ล่ะ
อย่าดันทุรันคิดเลย
สัญญาวิปัลลาส จิตตวิปัลลาส ทิฏฐิวิปัลลาส >สามประการมันเนื่องกัน ชงเรื่องต้องครบสามประการครับ

เพียงสัญญาจำว่าเป็นสัตว์บุคคล ไม่ใช่ตัวบ่งบอกครับว่าเห็นผิด........

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 19:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต

วิปัลลาสสูตร
......................


[๔๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส ๔
ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส
ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง ๑ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข ๑ ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่า
เป็นตน ๑ ในสิ่งที่ไม่งามว่างาม ๑ สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส
๔ ประการนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่
วิปลาส ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่
วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าไม่เที่ยง ๑ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นทุกข์ ๑
ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าไม่ใช่ตน ๑ ในสิ่งที่ไม่งามว่าไม่งาม ๑ สัญญาไม่วิปลาส
จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ๔ ประการนี้แล ฯ

เหล่าสัตว์ผู้ถูกมิจฉาทิฐิกำจัด มีจิตฟุ้งซ่าน มีความสำคัญผิด
มีความสำคัญในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง สำคัญในสิ่งที่เป็นทุกข์
ว่าเป็นสุข สำคัญในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน และสำคัญในสิ่งที่
ไม่งามว่างาม สัตว์คือชนเหล่านั้น ชื่อว่าประกอบแล้วในเครื่อง
ประกอบของมาร ไม่เป็นผู้เกษมจากโยคะ มีปรกติไปสู่ชาติ
และมรณะ ย่อมไปสู่สงสาร

ก็ในกาลใด พระพุทธเจ้าทั้งหลาย
ผู้กระทำแสงสว่าง บังเกิดขึ้นในโลก พระพุทธเจ้าเหล่านั้น
ย่อมประกาศธรรมนี้เป็นเครื่องให้สัตว์ถึงความสงบทุกข์ ชน
เหล่านั้น ผู้มีปัญญา ฟังธรรมของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น
แล้ว ได้จิตของตน ได้เห็นสิ่งไม่เที่ยงโดยความเป็นของไม่
เที่ยง ได้เห็นทุกข์โดยความเป็นทุกข์ ได้เห็นสิ่งที่ไม่ใช่ตน
ว่าไม่ใช่ตน ได้เห็นสิ่งที่ไม่งามโดยความเป็นของไม่งาม
สมาทานสัมมาทิฐิ จึงล่วงทุกข์ทั้งปวงได้ ฯ
จบสูตรที่ ๙

ลุงหมาน เขียน:
เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

สัญญาวิปัลลาส จิตตวิปัลลาส ทิฏฐิวิปัลลาส 4 เป็นคำที่พระพุทธองค์สอน
ดันไปจำป้าจินต์สอนผิดๆถูกๆมา
ลุงหมาน อธิบายได้ชัดเจน กลับไม่ทำความเข้าใจในคำพระพุทธองค์
ไหน บอกว่าคิดตามพระพุทธองค์ล่ะ
อย่าดันทุรันคิดเลย

เจ้าของ ข้อความ
เช่นนั้น
หัวข้อกระทู้: Re: สัญญาวิปลาส ตอบกลับพร้อมอ้างอิง
Quote Tipitaka:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต

วิปัลลาสสูตร
......................


[๔๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส ๔
ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส
ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง ๑ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข ๑ ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่า
เป็นตน ๑ ในสิ่งที่ไม่งามว่างาม ๑ สัญญาวิปลาส จิตวิปลาส ทิฐิวิปลาส
๔ ประการนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่
วิปลาส ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่
วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าไม่เที่ยง ๑ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นทุกข์ ๑
ในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าไม่ใช่ตน ๑ ในสิ่งที่ไม่งามว่าไม่งาม ๑ สัญญาไม่วิปลาส
จิตไม่วิปลาส ทิฐิไม่วิปลาส ๔ ประการนี้แล ฯ

เหล่าสัตว์ผู้ถูกมิจฉาทิฐิกำจัด มีจิตฟุ้งซ่าน มีความสำคัญผิด
มีความสำคัญในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง สำคัญในสิ่งที่เป็นทุกข์
ว่าเป็นสุข สำคัญในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน และสำคัญในสิ่งที่
ไม่งามว่างาม สัตว์คือชนเหล่านั้น ชื่อว่าประกอบแล้วในเครื่อง
ประกอบของมาร ไม่เป็นผู้เกษมจากโยคะ มีปรกติไปสู่ชาติ
และมรณะ ย่อมไปสู่สงสาร

ก็ในกาลใด พระพุทธเจ้าทั้งหลาย
ผู้กระทำแสงสว่าง บังเกิดขึ้นในโลก พระพุทธเจ้าเหล่านั้น
ย่อมประกาศธรรมนี้เป็นเครื่องให้สัตว์ถึงความสงบทุกข์ ชน
เหล่านั้น ผู้มีปัญญา ฟังธรรมของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น
แล้ว ได้จิตของตน ได้เห็นสิ่งไม่เที่ยงโดยความเป็นของไม่
เที่ยง ได้เห็นทุกข์โดยความเป็นทุกข์ ได้เห็นสิ่งที่ไม่ใช่ตน
ว่าไม่ใช่ตน ได้เห็นสิ่งที่ไม่งามโดยความเป็นของไม่งาม
สมาทานสัมมาทิฐิ จึงล่วงทุกข์ทั้งปวงได้ ฯ
จบสูตรที่ ๙

ลุงหมาน เขียน:
เมื่อจำอะไรมาผิดหรือเข้าใจผิด ก็อย่าไปโทษสัญญา หน้าที่ของสัญญาน่ะเขาทำหน้าที่จำ เขาจำได้ทั้งผิดและถูก ไม่ได้วิปลาสคลาดเคลื่อนแต่อย่างใด เขาจะตรงต่อหน้าที่ เพียงแต่ที่มันคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้นมันไม่ใช่เพราะสัญญา เป็นเพราะสังขารที่เป็นทิฏฐิปรุงแต่งให้ให้สัญญาจำสิ่งที่ผิดไป ดังนั้นอย่าไปโทษสัญญาจำผิด เพราะสังขารให้ข้อมูลมาผิด สัญญาก็จำสิ่งที่ข้อมูลป้อนมาผิด ถ้าสังขารปรุงส่งข้อมูลถูกเขาก็จำถูก นอกจากสัญญาถูกครอบงำด้วยโมหะอันนี้ก็อาจทำให้สัญญาอาจบกพร่องต่อหน้าหลงๆ ลืมๆ ได้

สัญญาวิปัลลาส จิตตวิปัลลาส ทิฏฐิวิปัลลาส 4 เป็นคำที่พระพุทธองค์สอน
ดันไปจำป้าจินต์สอนผิดๆถูกๆมา
ลุงหมาน อธิบายได้ชัดเจน กลับไม่ทำความเข้าใจในคำพระพุทธองค์
ไหน บอกว่าคิดตามพระพุทธองค์ล่ะ
อย่าดันทุรันคิดเลย
สัญญาวิปัลลาส จิตตวิปัลลาส ทิฏฐิวิปัลลาส >สามประการมันเนื่องกัน ชงเรื่องต้องครบสามประการครับ

เพียงสัญญาจำว่าเป็นสัตว์บุคคล ไม่ใช่ตัวบ่งบอกครับว่าเห็นผิด........

:b32:
คำตอบคือเดี๋ยวนี้เลยมีครบตามที่เขียนมาแล้วพร้อมกันเป็นปัจจัยร่วมกันไงคะดับและวิปลาสแล้ว
จิต+เจตสิก+รูป
เห็นสีหรือคนคะไม่ชัดเห็นสีหรือตัวอักษรคริคริคริจำผิดไงเมื่อสัญญาจำผิดคือสัญญาวิปลาส
จิตมันก็รู้พร้อมกับรูปพร้อมเจตสิกเลยมันรู้ผิดพร้อมกันไงเลยกลายเป็นวิปลาสทั้ง3อย่าง
มีแล้วนี่ตรงทุกคำคือเดี๋ยวนี้อ่านจำตัวอักษรคือบัญญัติไม่จำตามคำสอนไงว่ารู้ได้ตรงแค่1
สัญญาวิปัลลาส จิตตวิปัลลาส ทิฏฐิวิปัลลาส >สามประการมันเนื่องกัน ชงเรื่องต้องครบสามประการค่ะอิอิ
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 19:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
เมื่อไหร่จะเริ่มฟังคะสัญญาจำถูกตอนกำลังฟังแล้วคิดถูกตรงตามเสียงจริงๆ
จากประสบการณ์ที่ฟังและจำถูกตามมาโดยลำดับตามลำดับทีละน้อยและบ่อยๆ
สังขารขันธ์ที่เป็นกุศลร่วมกันปรุงแต่งจิตถูกเพราะสัญญาจำทุกอย่างถูกก็คือถูกคือดีไงคะ
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2018, 19:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
ฟังครั้งเดียวตอนนี้จะรู้เท่าโรสที่ฟังมา7-8ปีหรือคะปัญญาแรกเกิดจากเริ่มฟังค่ะ
https://youtu.be/qDFblCO4Yl0


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 76 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 92 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร