วันเวลาปัจจุบัน 19 เม.ย. 2024, 22:41  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 36 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 มี.ค. 2018, 20:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
นิพพานนี่หมายถึงอะไรขอรับ ทำไมมันเยอะแยะขนาดนั้น


แสดงว่า คุณยังอ่อนด้อยในปริยัติมาก

เหล่านั้นคือ จิต เจตสิก รูป ที่ยังดำเนิน เข้าสู่กระแส ไปยังปลายทางคือนิพพานค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 มี.ค. 2018, 20:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


จากข้างบน


นั้นเป็นตัวอย่างคนที่อ่อนในปริยัติ และขาดการปฎิบัติ

และไม่ได้พิจารณานิพพาน โดยอนุมาน

จึงไม่สามารถแยกออกได้ว่า

อย่างไหน คือนิพพานแท้ อย่างไหนคือนิพพานเทียม


ทำให้หลงผิด โอ้โห นิพพานทำมัยมีเยอะแยะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มี.ค. 2018, 07:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
นิพพานนี่หมายถึงอะไรขอรับ ทำไมมันเยอะแยะขนาดนั้น


แสดงว่า คุณยังอ่อนด้อยในปริยัติมาก

เหล่านั้นคือ จิต เจตสิก รูป ที่ยังดำเนิน เข้าสู่กระแส ไปยังปลายทางคือนิพพานค่ะ


เขาถามว่าทำไมนิพพานมันเยอะแยะขนาดนั้น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มี.ค. 2018, 07:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
จากข้างบน


นั้นเป็นตัวอย่างคนที่อ่อนในปริยัติ และขาดการปฎิบัติ

และไม่ได้พิจารณานิพพาน โดยอนุมาน

จึงไม่สามารถแยกออกได้ว่า

อย่างไหน คือนิพพานแท้ อย่างไหนคือนิพพานเทียม


ทำให้หลงผิด โอ้โห นิพพานทำมัยมีเยอะแยะ


ยกตัวอย่างนิพพานแท้ นิพพานเทียมสิ (ทำให้นึกวาทกรรมพุทธแท้ พุทธเทียม ครั้งเขาแย่งตำแหน่งสังฆราชกัน) นิพพานแท้เป็นยังไง นิพพานเทียมเป็นยังไง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 เม.ย. 2018, 12:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
ภิกษุทั้งหลาย นิพพานธาตุ ๒ ประการนี้ ๒ ประการเป็นไฉน
คือ สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑ อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ เป็นไฉน

ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์
ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงได้แล้ว มีประโยชน์ของตนอันบรรลุแล้ว
มีสังโยชน์ในภพนี้สิ้นรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ




ภิกษุนั้นย่อมเสวยอารมณ์ ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่

เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย
อินทรีย์ ๕ เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว






ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ความสิ้นไปแห่งราคะ
ความสิ้นไปแห่งโทสะ
ความสิ้นไปแห่งโมหะ
ของภิกษุนั้น


นี้เราเรียกว่า สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ






เมื่อจะนำเรื่อง อุปทาน ๔ มาอธิบายรายละเอียด มาสะดุดตรง กามุปาทาน
มีเหตุให้วกกลับไปเรื่อง สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ยังมีข้องใจเรื่องความชอบใจ ไม่ชอบใจ หรือพอใจและไม่พอใจ ที่มีอยู่ในบางพระสูตร
ซึ่งเป็นสภาวะของกามุปาทาน

ทำให้เกิดคิดพิจรณาว่า ในเมื่อโลภะ โทสะ โมหะ สิ้นหมดแล้ว
ทำไมยังมีความพอใจ และไม่พอใจเกิดขึ้นได้อีก

แล้วมีเหตุปัจจัยให้เจอพระสูตรนี้เข้า

"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"



พระสุตรที่นำมาใช้ในการอธิบายสภาวะ สำคัญเหมือนกันนะ โดยเฉพาะผู้ที่ไม่รู้ปริยัติ รู้ชัดแต่สภาวะ หากนำมาถ่ายทอด หรือแม้การขีดเขียนนั้นๆ มีส่วนในการเผยแพร่พระธรรมคำสอน ต้องศึกษาให้มาก ต้องดูเนื้อความในหลายๆพระสูตร จนกว่าจะเจอที่ตรงกับสภาวะ คือ ไม่ทำให้เกิดความข้องใจในคำเรียกนั้นๆ





ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นพระอรหันตขีณาสพ

"ภิกษุนั้นย่อมเสวยอารมณ์ ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่ เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย อินทรีย์ ๕ เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว"



"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"




เมื่อรู้ว่า อิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ หมายถึง โลกธรรม ๘ จบทันที ตัดทิ้งไปได้กับคำว่า พอใจและไม่พอใจ ชอบใจและไม่ชอบใจ ไม่พึงนำมาใส่ลงในสอุปาทิเสนิพพานธาตุ ควรใช้ข้อความดั้งเดิม อิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ เพราะไม่งั้น ความหมายจะเปลี่ยนไปทันที คือ ยังมีอุปธิ ได้แก่ กามุปาทาน



"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"

อินทรีย์ ๕ หมายถึง
๑. จักขุนทรีย์ (อินทรีย์คือจักขุปสาท)
๒. โสตินทรีย์ (อินทรีย์คือโสตปสาท)
๓. ฆานินทรีย์ (อินทรีย์คือฆานปสาท)
๔. ชิวหินทรีย์ (อินทรีย์คือชิวหาปสาท)
๕. กายินทรีย์ (อินทรีย์คือกายปสาท)

กล่าวคือ พระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่
คือ จะไม่กล่าวว่า เพราะยังมีเบญจขันธ์ หรือ ยังมีขันธ์ ๕ อยู่

เพราะจะไปขัดแย้งกับ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี




ย่อมประสบกับอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่

กล่าวคือ ย่อมประสพกับโลกธรรม ๘
ซึ่งเป็นเรื่องของวิบาก ที่ยังคงมีอยู่

คำว่า เสวยสุขและทุกข์อยู่ น่าจะมาจากของเดิม
คือ ยังเสวยเวทนาอยู่ ซึ่งหมายถึง อุเบกขาเวทนา

กล่าวโดยสภาวะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี

เมื่อนำมากล่าวในแง่การดับเหตุแห่งทุกข์ ซึ่งเคยนำมาพูดถึงบ่อยๆ
ชรา มรณะ หมายถึง โลกธรรม ๘ โสกะ ปริเทว ทุกข์ โทมนัส อุปยาส จึงมีเกิดขึ้น

เพราะภพ ได้แก่ มโนกรรม เป็นปัจจัย ชาติจึงมี ได้แก่ กายกรรม วจีกรรม
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรา มรณะ ฯลฯ

พระไตรปิฎก โดยส่วนมากมีการใส่คำแปลลงทับในเนื้อความที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ จะรู้ชัดตามความเป็นจริงของคำเรียกนั้นๆว่ามีลักษณะอาการเกิดขึ้นแบบไหน ต้องรู้ชัดด้วยตนเองโดยสภาวะด้วย กล่าวคือ รู้ชัดในลักษณะอุปทานขันธ์ ๕ ที่มีเกิดขึ้นตามความเป็นจริง และรู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจ ๔ ด้วยตนเอง คือ มีปัญญินทรีย์เกิดขึ้นแล้ว

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 เม.ย. 2018, 21:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
walaiporn เขียน:
ภิกษุทั้งหลาย นิพพานธาตุ ๒ ประการนี้ ๒ ประการเป็นไฉน
คือ สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑ อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ เป็นไฉน

ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์
ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงได้แล้ว มีประโยชน์ของตนอันบรรลุแล้ว
มีสังโยชน์ในภพนี้สิ้นรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ






ภิกษุนั้นย่อมเสวยอารมณ์ ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่

เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย
อินทรีย์ ๕ เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว






ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ความสิ้นไปแห่งราคะ
ความสิ้นไปแห่งโทสะ
ความสิ้นไปแห่งโมหะ
ของภิกษุนั้น


นี้เราเรียกว่า สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ






เมื่อจะนำเรื่อง อุปทาน ๔ มาอธิบายรายละเอียด มาสะดุดตรง กามุปาทาน
มีเหตุให้วกกลับไปเรื่อง สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ยังมีข้องใจเรื่องความชอบใจ ไม่ชอบใจ หรือพอใจและไม่พอใจ ที่มีอยู่ในบางพระสูตร
ซึ่งเป็นสภาวะของกามุปาทาน

ทำให้เกิดคิดพิจรณาว่า ในเมื่อโลภะ โทสะ โมหะ สิ้นหมดแล้ว
ทำไมยังมีความพอใจ และไม่พอใจเกิดขึ้นได้อีก

แล้วมีเหตุปัจจัยให้เจอพระสูตรนี้เข้า

"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"



พระสุตรที่นำมาใช้ในการอธิบายสภาวะ สำคัญเหมือนกันนะ โดยเฉพาะผู้ที่ไม่รู้ปริยัติ รู้ชัดแต่สภาวะ หากนำมาถ่ายทอด หรือแม้การขีดเขียนนั้นๆ มีส่วนในการเผยแพร่พระธรรมคำสอน ต้องศึกษาให้มาก ต้องดูเนื้อความในหลายๆพระสูตร จนกว่าจะเจอที่ตรงกับสภาวะ คือ ไม่ทำให้เกิดความข้องใจในคำเรียกนั้นๆ





ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นพระอรหันตขีณาสพ

"ภิกษุนั้นย่อมเสวยอารมณ์ ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่ เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย อินทรีย์ ๕ เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว"



"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"




เมื่อรู้ว่า อิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ หมายถึง โลกธรรม ๘ จบทันที ตัดทิ้งไปได้กับคำว่า พอใจและไม่พอใจ ชอบใจและไม่ชอบใจ ไม่พึงนำมาใส่ลงในสอุปาทิเสนิพพานธาตุ ควรใช้ข้อความดั้งเดิม อิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ เพราะไม่งั้น ความหมายจะเปลี่ยนไปทันที คือ ยังมีอุปธิ ได้แก่ กามุปาทาน



"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"

อินทรีย์ ๕ หมายถึง
๑. จักขุนทรีย์ (อินทรีย์คือจักขุปสาท)
๒. โสตินทรีย์ (อินทรีย์คือโสตปสาท)
๓. ฆานินทรีย์ (อินทรีย์คือฆานปสาท)
๔. ชิวหินทรีย์ (อินทรีย์คือชิวหาปสาท)
๕. กายินทรีย์ (อินทรีย์คือกายปสาท)

กล่าวคือ พระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่
คือ จะไม่กล่าวว่า เพราะยังมีเบญจขันธ์ หรือ ยังมีขันธ์ ๕ อยู่

เพราะจะไปขัดแย้งกับ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี




ย่อมประสบกับอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่

กล่าวคือ ย่อมประสพกับโลกธรรม ๘
ซึ่งเป็นเรื่องของวิบาก ที่ยังคงมีอยู่

คำว่า เสวยสุขและทุกข์อยู่ น่าจะมาจากของเดิม
คือ ยังเสวยเวทนาอยู่ ซึ่งหมายถึง อุเบกขาเวทนา

กล่าวโดยสภาวะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี

เมื่อนำมากล่าวในแง่การดับเหตุแห่งทุกข์ ซึ่งเคยนำมาพูดถึงบ่อยๆ
ชรา มรณะ หมายถึง โลกธรรม ๘ โสกะ ปริเทว ทุกข์ โทมนัส อุปยาส จึงมีเกิดขึ้น

เพราะภพ ได้แก่ มโนกรรม เป็นปัจจัย ชาติจึงมี ได้แก่ กายกรรม วจีกรรม
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรา มรณะ ฯลฯ

พระไตรปิฎก โดยส่วนมากมีการใส่คำแปลลงทับในเนื้อความที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ จะรู้ชัดตามความเป็นจริงของคำเรียกนั้นๆว่ามีลักษณะอาการเกิดขึ้นแบบไหน ต้องรู้ชัดด้วยตนเองโดยสภาวะด้วย กล่าวคือ รู้ชัดในลักษณะอุปทานขันธ์ ๕ ที่มีเกิดขึ้นตามความเป็นจริง และรู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจ ๔ ด้วยตนเอง คือ มีปัญญินทรีย์เกิดขึ้นแล้ว



หมายถึงรู้ชัดในการเกิดดับ คุณโทษ และมีอุบายเพื่อสลัดออกอินทรีย์ไปแต่ละเหล่าได้

แต่อินทรีย์บางเหล่า ยังไม่อาจสลายไปได้ทั้งหมดในเวลาเดียวกันค่ะ

แต่ไม่มีการเข้าไปยึดมั่นถือมั่นในอินทรีย์อีกเลยค่ะ

และอินทรีย์ห้านั้น ที่พระองค์กล่าว เป็นคนละอันกันค่ะ
ไม่ใช่จักษุอินทรีย์ .....

ที่ว่าเสวยอารมณ์อยู่นั้น คือรู้ว่าทุกข์ทั้งหมดยังไม่สิ้นไปค่ะ

ไม่ใช่ความพอใจหรือไม่พอใจค่ะ
แต่หมายถึงรู้ว่า ความเป็นใหญ่ของอินทรีย์ที่ยังคงมีในบางเหล่าเหลืออยู่

แต่ปราศจากความยึดมั่นถือมั่นไปแล้วค่ะ เป็นอัญญาตาวินทรีย์
เมื่อดับหมด จึงถึงความเป็นพระอรหันต์ ค่ะ



[๘๔๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน? คือ สัทธิน-
*ทรีย์ ๑ วิริยินทรีย์ ๑ สตินทรีย์ ๑ สมาธินทรีย์ ๑ ปัญญินทรีย์ ๑ เมื่อใดแล ภิกษุรู้ชัดซึ่ง
ความเกิด ความดับ คุณ โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งอินทรีย์ ๕ ประการนี้ ตาม
ความเป็นจริงแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นเพราะไม่ถือมั่น เมื่อนั้น เราเรียกภิกษุนั้นว่า พระอรหันตขีณาสพ
อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงแล้ว บรรลุประโยชน์ของตนแล้ว สิ้น
สังโยชน์ที่จะนำไปสู่ภพแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 เม.ย. 2018, 22:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


จะมีนิพพานเป็นอารมณ์ เท่านั้นค่ะ


[๒๖๐] ในขณะโสดาปัตติผล อัญญินทรีย์มีสัทธินทรีย์ซึ่งมีความน้อมใจ
เชื่อเป็นบริวาร ... ธรรมทั้งหลายที่เกิดในขณะโสดาปัตติผล ทั้งหมดนั่นแลเป็น
อัพยากฤต นอกจากรูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ล้วนไม่มีอาสวะ เป็นโลกุตตระ
มีนิพพานเป็นอารมณ์ในขณะโสดาปัตติผล อัญญินทรีย์มีอินทรีย์ ๘ ประการนี้ซึ่งมี
สหชาตธรรมเป็นบริวาร ... ธรรมเหล่านั้นแลเป็นอาการและเป็นบริวารของอัญญิน
ทรีย์นั้น ฯ
[๒๖๑] ในขณะสกทาคามิมรรค ฯลฯ ในขณะสกทคามิผล ฯลฯ
ในขณะอนาคามิมรรค ฯลฯ ในขณะอนาคามิผล ฯลฯ
ในขณะอรหัตตมรรค อัญญินทรีย์มีสัทธินทรีย์ซึ่งมีความน้อมใจเชื่อเป็น
บริวาร ฯลฯ ชีวิตินทรีย์มีความเป็นอธิบดีในความสืบต่อที่กำลังเป็นไปเป็นบริวาร
ธรรมทั้งหลายที่เกิดในขณะอรหัตตมรรค นอกจากรูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ทั้งหมด
นั่นแลเป็นกุศลล้วนไม่มีอาสวะ เป็นธรรมเครื่องนำออก เป็นธรรมเครื่องให้ถึง
ความไม่สั่งสม เป็นโลกุตตระ มีนิพพานเป็นอารมณ์ ในขณะอรหัตตมรรค
อัญญินทรีย์มีอินทรีย์ ๘ ประการนี้ซึ่งมีสหชาตธรรมเป็นบริวาร ... ธรรมเหล่านั้น
แลเป็นอาการและเป็นบริวารของอัญญินทรีย์นั้น ฯ
[๒๖๒] ในขณะอรหัตตผล อัญญาตาวินทรีย์มีสัทธินทรีย์ ซึ่งมีความ
น้อมใจเชื่อเป็นบริวาร วิริยินทรีย์มีการประคองไว้เป็นบริวาร สตินทรีย์มีความ
ตั้งมั่นเป็นบริวาร สมาธินทรีย์มีความไม่ฟุ้งซ่านเป็นบริวาร ปัญญินทรีย์มีความเห็น
เป็นบริวาร มนินทรีย์มีความรู้แจ้งเป็นบริวาร โสมนัสสินทรีย์มีความยินดีเป็น
บริวาร ชีวิตินทรีย์มีความเป็นอธิบดีในการสืบต่อ ที่กำลังเป็นไป เป็นบริวารธรรม
ทั้งหลายที่เกิดในขณะอรหัตตผล ทั้งหมดนั่นแลเป็นอัพยากฤตนอกจากรูปที่มีจิต
เป็นสมุฏฐาน ล้วนไม่มีอาสวะ เป็นโลกุตตระ มีนิพพานเป็นอารมณ์ ในขณะ
อรหัตตผล อัญญาตาวินทรีย์มีอินทรีย์ ๘ ประการนี้ซึ่งมีสหชาตธรรมเป็นบริวาร
มีธรรมอื่น ๆ เป็นบริวาร มีธรรมที่อาศัยกันเป็นบริวาร มีธรรมที่ประกอบกันเป็น
บริวาร เป็นสหรคต เกิดร่วมกัน เกี่ยวข้องกัน ประกอบด้วยกันธรรมเหล่านั้นแล
เป็นอาการและเป็นบริวารของอัญญาตาวินทรีย์นั้น อินทรีย์ ๘ หมวดเหล่านี้ รวม
เป็นอาการ ๖๔ ด้วยประการฉะนี้ ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 เม.ย. 2018, 12:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
walaiporn เขียน:
walaiporn เขียน:
ภิกษุทั้งหลาย นิพพานธาตุ ๒ ประการนี้ ๒ ประการเป็นไฉน
คือ สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑ อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ เป็นไฉน

ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์
ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงได้แล้ว มีประโยชน์ของตนอันบรรลุแล้ว
มีสังโยชน์ในภพนี้สิ้นรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ






ภิกษุนั้นย่อมเสวยอารมณ์ ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่

เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย
อินทรีย์ ๕ เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว






ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ความสิ้นไปแห่งราคะ
ความสิ้นไปแห่งโทสะ
ความสิ้นไปแห่งโมหะ
ของภิกษุนั้น


นี้เราเรียกว่า สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ






เมื่อจะนำเรื่อง อุปทาน ๔ มาอธิบายรายละเอียด มาสะดุดตรง กามุปาทาน
มีเหตุให้วกกลับไปเรื่อง สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ยังมีข้องใจเรื่องความชอบใจ ไม่ชอบใจ หรือพอใจและไม่พอใจ ที่มีอยู่ในบางพระสูตร
ซึ่งเป็นสภาวะของกามุปาทาน

ทำให้เกิดคิดพิจรณาว่า ในเมื่อโลภะ โทสะ โมหะ สิ้นหมดแล้ว
ทำไมยังมีความพอใจ และไม่พอใจเกิดขึ้นได้อีก

แล้วมีเหตุปัจจัยให้เจอพระสูตรนี้เข้า

"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"



พระสุตรที่นำมาใช้ในการอธิบายสภาวะ สำคัญเหมือนกันนะ โดยเฉพาะผู้ที่ไม่รู้ปริยัติ รู้ชัดแต่สภาวะ หากนำมาถ่ายทอด หรือแม้การขีดเขียนนั้นๆ มีส่วนในการเผยแพร่พระธรรมคำสอน ต้องศึกษาให้มาก ต้องดูเนื้อความในหลายๆพระสูตร จนกว่าจะเจอที่ตรงกับสภาวะ คือ ไม่ทำให้เกิดความข้องใจในคำเรียกนั้นๆ





ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นพระอรหันตขีณาสพ

"ภิกษุนั้นย่อมเสวยอารมณ์ ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่ เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย อินทรีย์ ๕ เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว"



"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"




เมื่อรู้ว่า อิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ หมายถึง โลกธรรม ๘ จบทันที ตัดทิ้งไปได้กับคำว่า พอใจและไม่พอใจ ชอบใจและไม่ชอบใจ ไม่พึงนำมาใส่ลงในสอุปาทิเสนิพพานธาตุ ควรใช้ข้อความดั้งเดิม อิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ เพราะไม่งั้น ความหมายจะเปลี่ยนไปทันที คือ ยังมีอุปธิ ได้แก่ กามุปาทาน



"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"

อินทรีย์ ๕ หมายถึง
๑. จักขุนทรีย์ (อินทรีย์คือจักขุปสาท)
๒. โสตินทรีย์ (อินทรีย์คือโสตปสาท)
๓. ฆานินทรีย์ (อินทรีย์คือฆานปสาท)
๔. ชิวหินทรีย์ (อินทรีย์คือชิวหาปสาท)
๕. กายินทรีย์ (อินทรีย์คือกายปสาท)

กล่าวคือ พระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่
คือ จะไม่กล่าวว่า เพราะยังมีเบญจขันธ์ หรือ ยังมีขันธ์ ๕ อยู่

เพราะจะไปขัดแย้งกับ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี




ย่อมประสบกับอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่

กล่าวคือ ย่อมประสพกับโลกธรรม ๘
ซึ่งเป็นเรื่องของวิบาก ที่ยังคงมีอยู่

คำว่า เสวยสุขและทุกข์อยู่ น่าจะมาจากของเดิม
คือ ยังเสวยเวทนาอยู่ ซึ่งหมายถึง อุเบกขาเวทนา

กล่าวโดยสภาวะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี

เมื่อนำมากล่าวในแง่การดับเหตุแห่งทุกข์ ซึ่งเคยนำมาพูดถึงบ่อยๆ
ชรา มรณะ หมายถึง โลกธรรม ๘ โสกะ ปริเทว ทุกข์ โทมนัส อุปยาส จึงมีเกิดขึ้น

เพราะภพ ได้แก่ มโนกรรม เป็นปัจจัย ชาติจึงมี ได้แก่ กายกรรม วจีกรรม
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรา มรณะ ฯลฯ

พระไตรปิฎก โดยส่วนมากมีการใส่คำแปลลงทับในเนื้อความที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ จะรู้ชัดตามความเป็นจริงของคำเรียกนั้นๆว่ามีลักษณะอาการเกิดขึ้นแบบไหน ต้องรู้ชัดด้วยตนเองโดยสภาวะด้วย กล่าวคือ รู้ชัดในลักษณะอุปทานขันธ์ ๕ ที่มีเกิดขึ้นตามความเป็นจริง และรู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจ ๔ ด้วยตนเอง คือ มีปัญญินทรีย์เกิดขึ้นแล้ว



หมายถึงรู้ชัดในการเกิดดับ คุณโทษ และมีอุบายเพื่อสลัดออกอินทรีย์ไปแต่ละเหล่าได้

แต่อินทรีย์บางเหล่า ยังไม่อาจสลายไปได้ทั้งหมดในเวลาเดียวกันค่ะ

แต่ไม่มีการเข้าไปยึดมั่นถือมั่นในอินทรีย์อีกเลยค่ะ

และอินทรีย์ห้านั้น ที่พระองค์กล่าว เป็นคนละอันกันค่ะ
ไม่ใช่จักษุอินทรีย์ .....

ที่ว่าเสวยอารมณ์อยู่นั้น คือรู้ว่าทุกข์ทั้งหมดยังไม่สิ้นไปค่ะ

ไม่ใช่ความพอใจหรือไม่พอใจค่ะ
แต่หมายถึงรู้ว่า ความเป็นใหญ่ของอินทรีย์ที่ยังคงมีในบางเหล่าเหลืออยู่

แต่ปราศจากความยึดมั่นถือมั่นไปแล้วค่ะ เป็นอัญญาตาวินทรีย์
เมื่อดับหมด จึงถึงความเป็นพระอรหันต์ ค่ะ



[๘๔๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน? คือ สัทธิน-
*ทรีย์ ๑ วิริยินทรีย์ ๑ สตินทรีย์ ๑ สมาธินทรีย์ ๑ ปัญญินทรีย์ ๑ เมื่อใดแล ภิกษุรู้ชัดซึ่ง
ความเกิด ความดับ คุณ โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งอินทรีย์ ๕ ประการนี้ ตาม
ความเป็นจริงแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นเพราะไม่ถือมั่น เมื่อนั้น เราเรียกภิกษุนั้นว่า พระอรหันตขีณาสพ
อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงแล้ว บรรลุประโยชน์ของตนแล้ว สิ้น
สังโยชน์ที่จะนำไปสู่ภพแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ.







หมายถึงรู้ชัดในการเกิดดับ คุณโทษ และมีอุบายเพื่อสลัดออกอินทรีย์ไปแต่ละเหล่าได้


ตรงนี้เรียกว่า เกิดจากการท่องจำ ไม่ใช่ตามความเป็นจริง ที่มีเกิดขึ้นในพระอรหันต์


อิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ และการเสวยอารมณ์ ที่คุณนำมาอธิบาย
คนละสภาวะ คนละเรื่องกับสิ่งที่วลัยพรนำมาโพสค่ะ


ต้องขออภัยด้วย ที่ไม่สนทนาด้วย

คำแนะนำค่ะ ปฏิบัติให้มากๆค่ะ เอาให้ขาดใจตายไปเลยค่ะ

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แก้ไขล่าสุดโดย walaiporn เมื่อ 28 เม.ย. 2018, 12:33, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 เม.ย. 2018, 12:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
จะมีนิพพานเป็นอารมณ์ เท่านั้นค่ะ


[๒๖๐] ในขณะโสดาปัตติผล อัญญินทรีย์มีสัทธินทรีย์ซึ่งมีความน้อมใจ
เชื่อเป็นบริวาร ... ธรรมทั้งหลายที่เกิดในขณะโสดาปัตติผล ทั้งหมดนั่นแลเป็น
อัพยากฤต นอกจากรูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ล้วนไม่มีอาสวะ เป็นโลกุตตระ
มีนิพพานเป็นอารมณ์ในขณะโสดาปัตติผล อัญญินทรีย์มีอินทรีย์ ๘ ประการนี้ซึ่งมี
สหชาตธรรมเป็นบริวาร ... ธรรมเหล่านั้นแลเป็นอาการและเป็นบริวารของอัญญิน
ทรีย์นั้น ฯ
[๒๖๑] ในขณะสกทาคามิมรรค ฯลฯ ในขณะสกทคามิผล ฯลฯ
ในขณะอนาคามิมรรค ฯลฯ ในขณะอนาคามิผล ฯลฯ
ในขณะอรหัตตมรรค อัญญินทรีย์มีสัทธินทรีย์ซึ่งมีความน้อมใจเชื่อเป็น
บริวาร ฯลฯ ชีวิตินทรีย์มีความเป็นอธิบดีในความสืบต่อที่กำลังเป็นไปเป็นบริวาร
ธรรมทั้งหลายที่เกิดในขณะอรหัตตมรรค นอกจากรูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ทั้งหมด
นั่นแลเป็นกุศลล้วนไม่มีอาสวะ เป็นธรรมเครื่องนำออก เป็นธรรมเครื่องให้ถึง
ความไม่สั่งสม เป็นโลกุตตระ มีนิพพานเป็นอารมณ์ ในขณะอรหัตตมรรค
อัญญินทรีย์มีอินทรีย์ ๘ ประการนี้ซึ่งมีสหชาตธรรมเป็นบริวาร ... ธรรมเหล่านั้น
แลเป็นอาการและเป็นบริวารของอัญญินทรีย์นั้น ฯ
[๒๖๒] ในขณะอรหัตตผล อัญญาตาวินทรีย์มีสัทธินทรีย์ ซึ่งมีความ
น้อมใจเชื่อเป็นบริวาร วิริยินทรีย์มีการประคองไว้เป็นบริวาร สตินทรีย์มีความ
ตั้งมั่นเป็นบริวาร สมาธินทรีย์มีความไม่ฟุ้งซ่านเป็นบริวาร ปัญญินทรีย์มีความเห็น
เป็นบริวาร มนินทรีย์มีความรู้แจ้งเป็นบริวาร โสมนัสสินทรีย์มีความยินดีเป็น
บริวาร ชีวิตินทรีย์มีความเป็นอธิบดีในการสืบต่อ ที่กำลังเป็นไป เป็นบริวารธรรม
ทั้งหลายที่เกิดในขณะอรหัตตผล ทั้งหมดนั่นแลเป็นอัพยากฤตนอกจากรูปที่มีจิต
เป็นสมุฏฐาน ล้วนไม่มีอาสวะ เป็นโลกุตตระ มีนิพพานเป็นอารมณ์ ในขณะ
อรหัตตผล อัญญาตาวินทรีย์มีอินทรีย์ ๘ ประการนี้ซึ่งมีสหชาตธรรมเป็นบริวาร
มีธรรมอื่น ๆ เป็นบริวาร มีธรรมที่อาศัยกันเป็นบริวาร มีธรรมที่ประกอบกันเป็น
บริวาร เป็นสหรคต เกิดร่วมกัน เกี่ยวข้องกัน ประกอบด้วยกันธรรมเหล่านั้นแล
เป็นอาการและเป็นบริวารของอัญญาตาวินทรีย์นั้น อินทรีย์ ๘ หมวดเหล่านี้ รวม
เป็นอาการ ๖๔ ด้วยประการฉะนี้ ฯ






ตีความให้ออกนะคะ และอธิบายรายละเอียดให้ได้ค่ะ คำว่า "มีนิพพานเป็นอารมณ์"
มีลักษณะอาการที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงของคำเรียกนั้นๆ มีอาการเกิดขึ้นแบบไหน แล้วค่อยมาสนทนากันค่ะ

หากยังไม่สามารถอธิบายได้
อย่างที่บอกไป ต้องขออภัย ที่ไม่คิดจะสนทนาด้วย

บอกให้รู้ จะได้รู้ว่า ที่จขก. ไม่มีตอบหรือเงียบ เพราะไม่คิดสนทนาด้วยค่ะ
จะได้ไม่ตีความผิดๆว่าทำไมไม่มีการตอบหรือสนทนาด้วย

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 เม.ย. 2018, 21:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
โลกสวย เขียน:
จะมีนิพพานเป็นอารมณ์ เท่านั้นค่ะ


[๒๖๐] ในขณะโสดาปัตติผล อัญญินทรีย์มีสัทธินทรีย์ซึ่งมีความน้อมใจ
เชื่อเป็นบริวาร ... ธรรมทั้งหลายที่เกิดในขณะโสดาปัตติผล ทั้งหมดนั่นแลเป็น
อัพยากฤต นอกจากรูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ล้วนไม่มีอาสวะ เป็นโลกุตตระ
มีนิพพานเป็นอารมณ์ในขณะโสดาปัตติผล อัญญินทรีย์มีอินทรีย์ ๘ ประการนี้ซึ่งมี
สหชาตธรรมเป็นบริวาร ... ธรรมเหล่านั้นแลเป็นอาการและเป็นบริวารของอัญญิน
ทรีย์นั้น ฯ
[๒๖๑] ในขณะสกทาคามิมรรค ฯลฯ ในขณะสกทคามิผล ฯลฯ
ในขณะอนาคามิมรรค ฯลฯ ในขณะอนาคามิผล ฯลฯ
ในขณะอรหัตตมรรค อัญญินทรีย์มีสัทธินทรีย์ซึ่งมีความน้อมใจเชื่อเป็น
บริวาร ฯลฯ ชีวิตินทรีย์มีความเป็นอธิบดีในความสืบต่อที่กำลังเป็นไปเป็นบริวาร
ธรรมทั้งหลายที่เกิดในขณะอรหัตตมรรค นอกจากรูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ทั้งหมด
นั่นแลเป็นกุศลล้วนไม่มีอาสวะ เป็นธรรมเครื่องนำออก เป็นธรรมเครื่องให้ถึง
ความไม่สั่งสม เป็นโลกุตตระ มีนิพพานเป็นอารมณ์ ในขณะอรหัตตมรรค
อัญญินทรีย์มีอินทรีย์ ๘ ประการนี้ซึ่งมีสหชาตธรรมเป็นบริวาร ... ธรรมเหล่านั้น
แลเป็นอาการและเป็นบริวารของอัญญินทรีย์นั้น ฯ
[๒๖๒] ในขณะอรหัตตผล อัญญาตาวินทรีย์มีสัทธินทรีย์ ซึ่งมีความ
น้อมใจเชื่อเป็นบริวาร วิริยินทรีย์มีการประคองไว้เป็นบริวาร สตินทรีย์มีความ
ตั้งมั่นเป็นบริวาร สมาธินทรีย์มีความไม่ฟุ้งซ่านเป็นบริวาร ปัญญินทรีย์มีความเห็น
เป็นบริวาร มนินทรีย์มีความรู้แจ้งเป็นบริวาร โสมนัสสินทรีย์มีความยินดีเป็น
บริวาร ชีวิตินทรีย์มีความเป็นอธิบดีในการสืบต่อ ที่กำลังเป็นไป เป็นบริวารธรรม
ทั้งหลายที่เกิดในขณะอรหัตตผล ทั้งหมดนั่นแลเป็นอัพยากฤตนอกจากรูปที่มีจิต
เป็นสมุฏฐาน ล้วนไม่มีอาสวะ เป็นโลกุตตระ มีนิพพานเป็นอารมณ์ ในขณะ
อรหัตตผล อัญญาตาวินทรีย์มีอินทรีย์ ๘ ประการนี้ซึ่งมีสหชาตธรรมเป็นบริวาร
มีธรรมอื่น ๆ เป็นบริวาร มีธรรมที่อาศัยกันเป็นบริวาร มีธรรมที่ประกอบกันเป็น
บริวาร เป็นสหรคต เกิดร่วมกัน เกี่ยวข้องกัน ประกอบด้วยกันธรรมเหล่านั้นแล
เป็นอาการและเป็นบริวารของอัญญาตาวินทรีย์นั้น อินทรีย์ ๘ หมวดเหล่านี้ รวม
เป็นอาการ ๖๔ ด้วยประการฉะนี้ ฯ






ตีความให้ออกนะคะ และอธิบายรายละเอียดให้ได้ค่ะ คำว่า "มีนิพพานเป็นอารมณ์"
มีลักษณะอาการที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงของคำเรียกนั้นๆ มีอาการเกิดขึ้นแบบไหน แล้วค่อยมาสนทนากันค่ะ

หากยังไม่สามารถอธิบายได้
อย่างที่บอกไป ต้องขออภัย ที่ไม่คิดจะสนทนาด้วย

บอกให้รู้ จะได้รู้ว่า ที่จขก. ไม่มีตอบหรือเงียบ เพราะไม่คิดสนทนาด้วยค่ะ
จะได้ไม่ตีความผิดๆว่าทำไมไม่มีการตอบหรือสนทนาด้วย



ตีความให้ออกนะคะ และอธิบายรายละเอียดให้ได้ค่ะ คำว่า "มีนิพพานเป็นอารมณ์"
มีลักษณะอาการที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงของคำเรียกนั้นๆ มีอาการเกิดขึ้นแบบไหน แล้วค่อยมาสนทนากันค่ะ

หากยังไม่สามารถอธิบายได้
อย่างที่บอกไป ต้องขออภัย ที่ไม่คิดจะสนทนาด้วย

บอกให้รู้ จะได้รู้ว่า ที่จขก. ไม่มีตอบหรือเงียบ เพราะไม่คิดสนทนาด้วยค่ะ
จะได้ไม่ตีความผิดๆว่าทำไมไม่มีการตอบหรือสนทนาด้วย

..........................................................

พอดีอยุ่ต่างประเทศ หนูไม่ได้เข้ามา

หนูก็จะบอกให้ว่า

การมีนิพพานเป็นอารมณ์นั้น เป็นอย่างไร

เพราะ จขกท. ยังอ่านพระสูตรที่ให้ไป ในอรหัตตผล ไม่แตก ไม่เข้าใจ ค่ะ
และไม่รู้เรยว่า การมีนิพพานเป็นอารมณ์นั้น เป็นอย่างไร

จะได้เห้นชัดทั้งสภาวะ และทั้งปริยัติ และเห็นชัดในการปฎิบัติด้วย

นิพพาน เป็นอัพยากตธรรม
ไม่มีอุปทาน ยึดมั่นถือมั่นว่า


แบบนี้ ฉันจะตอบ
แบบนี้ ฉันจะไม่ตอบ

แบบนี้ฉันจะสนทนาธรรมด้วย
แบบนี้ ฉันจะไม่สนทนาธรรมด้วย นะคะ

เห็นมัํยคะ ทิฎฐิเจตสิก ที่กอบด้วยอกุศล ที่ทำให้เกิดอุปทาน อันเป็นเหตุจากตัณหา
และที่ตั้งของอุปทานขันธ์

แสดงว่า จขกท ไม่ได้เป็นผู้ปฎิบัติจริงๆ ซะเรย
มันถึงแสดงออกโจ่งครึ่ม เป็นอักษรออกมา

ถ้ามีนิพพานเป็นอารณ์นั้น จะบอกให้นะคะ

ว่าตอบก็ได้ ไม่ตอบก็ได้
โดยไม่มีธงปัก กันเขตแดนไว้ว่า ฉันจะไม่ตอบ ไม่สนทนาด้วย ค่ะ

นี่ขนาดหนูยังไม่ปฎิบัติให้ขาดใจ
หนูยังรู้เรยว่า

จขกท.นั้น ใช้นิพพานเป็นอารมณ์จริงๆไม่ได้เรยค่ะ


เพราะปฎิบัติน้อยเกินค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2018, 00:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
โลกสวย เขียน:
walaiporn เขียน:
walaiporn เขียน:
ภิกษุทั้งหลาย นิพพานธาตุ ๒ ประการนี้ ๒ ประการเป็นไฉน
คือ สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑ อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ เป็นไฉน

ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์
ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงได้แล้ว มีประโยชน์ของตนอันบรรลุแล้ว
มีสังโยชน์ในภพนี้สิ้นรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ






ภิกษุนั้นย่อมเสวยอารมณ์ ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่

เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย
อินทรีย์ ๕ เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว






ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ความสิ้นไปแห่งราคะ
ความสิ้นไปแห่งโทสะ
ความสิ้นไปแห่งโมหะ
ของภิกษุนั้น


นี้เราเรียกว่า สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ






เมื่อจะนำเรื่อง อุปทาน ๔ มาอธิบายรายละเอียด มาสะดุดตรง กามุปาทาน
มีเหตุให้วกกลับไปเรื่อง สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ยังมีข้องใจเรื่องความชอบใจ ไม่ชอบใจ หรือพอใจและไม่พอใจ ที่มีอยู่ในบางพระสูตร
ซึ่งเป็นสภาวะของกามุปาทาน

ทำให้เกิดคิดพิจรณาว่า ในเมื่อโลภะ โทสะ โมหะ สิ้นหมดแล้ว
ทำไมยังมีความพอใจ และไม่พอใจเกิดขึ้นได้อีก

แล้วมีเหตุปัจจัยให้เจอพระสูตรนี้เข้า

"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"



พระสุตรที่นำมาใช้ในการอธิบายสภาวะ สำคัญเหมือนกันนะ โดยเฉพาะผู้ที่ไม่รู้ปริยัติ รู้ชัดแต่สภาวะ หากนำมาถ่ายทอด หรือแม้การขีดเขียนนั้นๆ มีส่วนในการเผยแพร่พระธรรมคำสอน ต้องศึกษาให้มาก ต้องดูเนื้อความในหลายๆพระสูตร จนกว่าจะเจอที่ตรงกับสภาวะ คือ ไม่ทำให้เกิดความข้องใจในคำเรียกนั้นๆ





ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นพระอรหันตขีณาสพ

"ภิกษุนั้นย่อมเสวยอารมณ์ ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่ เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย อินทรีย์ ๕ เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว"



"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"




เมื่อรู้ว่า อิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ หมายถึง โลกธรรม ๘ จบทันที ตัดทิ้งไปได้กับคำว่า พอใจและไม่พอใจ ชอบใจและไม่ชอบใจ ไม่พึงนำมาใส่ลงในสอุปาทิเสนิพพานธาตุ ควรใช้ข้อความดั้งเดิม อิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ เพราะไม่งั้น ความหมายจะเปลี่ยนไปทันที คือ ยังมีอุปธิ ได้แก่ กามุปาทาน



"เพราะอินทรีย์ ๕ ที่ยังคงอยู่ ไม่ดับไป ภิกษุนั้นจึงประสบอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่"

อินทรีย์ ๕ หมายถึง
๑. จักขุนทรีย์ (อินทรีย์คือจักขุปสาท)
๒. โสตินทรีย์ (อินทรีย์คือโสตปสาท)
๓. ฆานินทรีย์ (อินทรีย์คือฆานปสาท)
๔. ชิวหินทรีย์ (อินทรีย์คือชิวหาปสาท)
๕. กายินทรีย์ (อินทรีย์คือกายปสาท)

กล่าวคือ พระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่
คือ จะไม่กล่าวว่า เพราะยังมีเบญจขันธ์ หรือ ยังมีขันธ์ ๕ อยู่

เพราะจะไปขัดแย้งกับ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี




ย่อมประสบกับอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เสวยสุขและทุกข์อยู่

กล่าวคือ ย่อมประสพกับโลกธรรม ๘
ซึ่งเป็นเรื่องของวิบาก ที่ยังคงมีอยู่

คำว่า เสวยสุขและทุกข์อยู่ น่าจะมาจากของเดิม
คือ ยังเสวยเวทนาอยู่ ซึ่งหมายถึง อุเบกขาเวทนา

กล่าวโดยสภาวะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี

เมื่อนำมากล่าวในแง่การดับเหตุแห่งทุกข์ ซึ่งเคยนำมาพูดถึงบ่อยๆ
ชรา มรณะ หมายถึง โลกธรรม ๘ โสกะ ปริเทว ทุกข์ โทมนัส อุปยาส จึงมีเกิดขึ้น

เพราะภพ ได้แก่ มโนกรรม เป็นปัจจัย ชาติจึงมี ได้แก่ กายกรรม วจีกรรม
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรา มรณะ ฯลฯ

พระไตรปิฎก โดยส่วนมากมีการใส่คำแปลลงทับในเนื้อความที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ จะรู้ชัดตามความเป็นจริงของคำเรียกนั้นๆว่ามีลักษณะอาการเกิดขึ้นแบบไหน ต้องรู้ชัดด้วยตนเองโดยสภาวะด้วย กล่าวคือ รู้ชัดในลักษณะอุปทานขันธ์ ๕ ที่มีเกิดขึ้นตามความเป็นจริง และรู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจ ๔ ด้วยตนเอง คือ มีปัญญินทรีย์เกิดขึ้นแล้ว



หมายถึงรู้ชัดในการเกิดดับ คุณโทษ และมีอุบายเพื่อสลัดออกอินทรีย์ไปแต่ละเหล่าได้

แต่อินทรีย์บางเหล่า ยังไม่อาจสลายไปได้ทั้งหมดในเวลาเดียวกันค่ะ

แต่ไม่มีการเข้าไปยึดมั่นถือมั่นในอินทรีย์อีกเลยค่ะ

และอินทรีย์ห้านั้น ที่พระองค์กล่าว เป็นคนละอันกันค่ะ
ไม่ใช่จักษุอินทรีย์ .....

ที่ว่าเสวยอารมณ์อยู่นั้น คือรู้ว่าทุกข์ทั้งหมดยังไม่สิ้นไปค่ะ

ไม่ใช่ความพอใจหรือไม่พอใจค่ะ
แต่หมายถึงรู้ว่า ความเป็นใหญ่ของอินทรีย์ที่ยังคงมีในบางเหล่าเหลืออยู่

แต่ปราศจากความยึดมั่นถือมั่นไปแล้วค่ะ เป็นอัญญาตาวินทรีย์
เมื่อดับหมด จึงถึงความเป็นพระอรหันต์ ค่ะ



[๘๔๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน? คือ สัทธิน-
*ทรีย์ ๑ วิริยินทรีย์ ๑ สตินทรีย์ ๑ สมาธินทรีย์ ๑ ปัญญินทรีย์ ๑ เมื่อใดแล ภิกษุรู้ชัดซึ่ง
ความเกิด ความดับ คุณ โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งอินทรีย์ ๕ ประการนี้ ตาม
ความเป็นจริงแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นเพราะไม่ถือมั่น เมื่อนั้น เราเรียกภิกษุนั้นว่า พระอรหันตขีณาสพ
อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงแล้ว บรรลุประโยชน์ของตนแล้ว สิ้น
สังโยชน์ที่จะนำไปสู่ภพแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ.







หมายถึงรู้ชัดในการเกิดดับ คุณโทษ และมีอุบายเพื่อสลัดออกอินทรีย์ไปแต่ละเหล่าได้


ตรงนี้เรียกว่า เกิดจากการท่องจำ ไม่ใช่ตามความเป็นจริง ที่มีเกิดขึ้นในพระอรหันต์


อิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ และการเสวยอารมณ์ ที่คุณนำมาอธิบาย
คนละสภาวะ คนละเรื่องกับสิ่งที่วลัยพรนำมาโพสค่ะ


ต้องขออภัยด้วย ที่ไม่สนทนาด้วย

คำแนะนำค่ะ ปฏิบัติให้มากๆค่ะ เอาให้ขาดใจตายไปเลยค่ะ




ข้อนี้แหละค่ะ ที่สำคัญ

เพราะ จขกท เข้าใจผิดๆๆๆมโหฬาร เข้าใจผิดๆๆมหาศาล

ว่าอินทรีย์ห้าในระดับพระอรหันต์ขีพนาสพ นั้น ประกอบด้วย

อินทรีย์ ๕ หมายถึง
๑. จักขุนทรีย์ (อินทรีย์คือจักขุปสาท)
๒. โสตินทรีย์ (อินทรีย์คือโสตปสาท)
๓. ฆานินทรีย์ (อินทรีย์คือฆานปสาท)
๔. ชิวหินทรีย์ (อินทรีย์คือชิวหาปสาท)
๕. กายินทรีย์ (อินทรีย์คือกายปสาท)

อินทรีย์ห้า เหล่านี้

สำหรับผู้ไร้ปัญญา สมองทึบ ปัญญาอ่อนโดยสิ้นเชิง ประเภทปทปรมะ ก็มีอินทรีย์ห้าเหล่านี้ เหมือนกันค่ะ



แต่อินทรีย์คือความเป็นใหญ่ ที่พระอรหันต์ขีพนาสพ มี แตกต่างจากปุถุชน หรือพระอริยะระดับอื่นๆ
คือ อินทรีย์ห้าเหล่านี้


[๘๔๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน? คือ สัทธิน-
*ทรีย์ ๑ วิริยินทรีย์ ๑ สตินทรีย์ ๑ สมาธินทรีย์ ๑ ปัญญินทรีย์ ๑ เมื่อใดแล ภิกษุรู้ชัดซึ่ง
ความเกิด ความดับ คุณ โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งอินทรีย์ ๕ ประการนี้ ตาม
ความเป็นจริงแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นเพราะไม่ถือมั่น เมื่อนั้น เราเรียกภิกษุนั้นว่า พระอรหันตขีณาสพ
อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงแล้ว บรรลุประโยชน์ของตนแล้ว สิ้น
สังโยชน์ที่จะนำไปสู่ภพแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ.[/quote]


และที่แสดงยิ่งว่า จขกท ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ไม่ได้เรียนปริยัติ ไม่ได้ปฎิบัติ
เรยไม่รู้ว่า ความแตกต่างของอินทรีย์ ในพระอริยะบุคคล แต่ละขั้นต่างกันอย่างไร

อัญญาตาวินทรีย์ อันเป็นอินทรีย์สุดท้าย ที่เกิดได้
จากเจตสิกที่เกิดต่อจากอนาคามีผลจิต และอรหัตมรรคจิตค่ะ

อัญญาตาวิญทรีย์ เจตสิก เป็นปัญญาเจตสิกที่เกิดกับอรหัตตผลจิต นี้ ค่ะ


นี่คือ

เป็นความเป็นใหญ่ ที่ทำให้เป็นพระอรหัตตผลเต็มรูปแบบค่ะ

อินทรีย์ที่ไม่ต้องกระทำกิจอื่นที่ยิ่งไปกว่านี้
อันเป็นความเบาใจอย่างยิ่ง

นี่คือเหตุผลที่พระองค์ทรงแสดง อินทรีย์ 22 ไว้

และแสดงอินทรีย์22 นี้ไว้โดยลำดับ
และแสดงอินทรีย์ อัยญาตาวิญทรีย์นี้ เป็น อินทรีย์สุดท้ายค่ะ

หนูแนะนำให้ไปศึกษาปริยัติ พระอภิธรรม ในอินทรีย์ 22 นะคะ
จะได้เข้าใจอินทรีย์แต่ละระดับได้นะคะ

ไม่งั้นจะสับสนมั่วแหลกค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2018, 00:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


คนที่ไม่อยากสนทนาธรรม กับพระพุทธเจ้า

ถ้าในตามพระสูตร ก็จะมี อ.สัญชัยน่ะคะคุณ จขกท


และธรรมที่หนูนำมาสนทนาด้วย ก็นำ และยกมา
ก็นำมาจาก พระสูตร พระอภิธรรม ตามที่พระบรมศาสดาทรงแสดงไว้ ในพระไตรปิฎก



ถ้า จขกท ไม่พึงพอใจ ที่จะเปิดกระทู้ให้สมาชิก ได้สนทนาธรรม ได้มาตอบ


ก็ให้ปิดกระทู้เสียไวๆค่ะ

แล้วตั้งลัทธิวราพร ของตัวเอง แบบ อ.สัญชัยสิคะ



บ๊ายบายค่ะ

จากนู๋เม โลกสวย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2018, 09:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


สภาวะที่คุณกำลังเป็นอยู่ และกระทำอยู่ เป็นลักษณะอาการที่มีเกิดขึ้นของ
กูรู้ แต่ไม่รู้กู

อาการเหล่านี้มีเกิดขึ้นเหมือนกันหมด "ร้อนวิชา"
พออยากคุย แต่คนอื่นเขาไม่คุยด้วย ก็เลยเกิดอาการ ดีดดิ้น
เมื่ออาการดีดดิ้นเกิดขึ้นมาในใจ การแสดงออกก็เลยเป็นอย่างที่เห็น
เห็นได้ว่า ความรู้ต่างๆที่คุณคิดว่ามี หรือคิดว่ารู้ คุณยังรู้ไม่ถึงไหน
เพราะคุณศึกษาแต่นอกตัว ขาดการศึกษาในตัว


พระธรรมคำสอน ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้
ไม่ว่าจะทรงตรัสในแง่มุมไหน ล้วนเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด

สำหรับสิ่งที่คุณนำเสนอมาตั้งแต่ต้น ตรงกันข้ามทุกอย่าง
มีแต่การมีเกิดขึ้นของภพใหม่ ไม่ได้เป็นไปเพื่อดับเหตุแห่งทุกข์
แต่คุณก็ยังดูไม่ออก ที่ดูไม่ออกเพราะภายในไม่สงบ ระงับ


อภิธัมที่คุณนำมาแสดงก็เวิ่นเว้อ ความรู้ที่คุณมี ยังไม่ได้เศษเสี้ยวของคนในเว็บบอร์ดนี้
อีกอย่าง ที่บอกว่า ไม่คิดจะสนทนาด้วย แค่คำพูดแค่นี้ คุณยังดีดดิ้นขนาดนี้
นี่อินเตอร์เน็ต อาการยังขนาดนี้ ในชีวิตจริง จะขนาดไหน

เอาละ จะถือว่าช่วยคุณบรรเทาอาการที่มีเกิดขึ้นในใจ
เขียนออกมาให้หมด ใจจะได้ไม่ต้องเก็บอะไรไว้

อันนี้พูดจรงนะ เพราะในชีวิตจริง ก็ทำแบบนี้เหมือนกัน
คนที่พูดแล้วไม่เข้าใจหรือเห็นว่าคนๆนั้นเข้าใจอะไรที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวลัยพร
จะบอกเขาว่า รู้สึกนึกคิดอย่างไร พูดออกมาให้หมด จะไม่ขัดคำหรือแย้งใดๆกับเขาทั้งสิ้น
ก็ปล่อยให้เขาพูดในสิ่งที่เขาอยากพูด เมื่อพูดจนหมด เขาก็หยุดไปเอง ไปพูดเรื่องคนอื่นต่อ
ธรรมชาติของมนุษย์ก็แบบนี้แหละ มีแต่กูว่ามึง มึงว่ากู
ไม่ได้เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด

เพราะเห็นใจนะว่า คงยังรู้ไม่ทัน จึงเขียนบอก
เพราะรู้สึกเมตตานะ จึงบอกว่า ปลดปล่อยออกมาให้หมด พอจบจากเรื่องนี้ไป เรื่องใหม่มีเกิดขึ้นต่อ
ตราบใดที่ยังอ่านตัวเองไม่ออก บอกตัวเองยังไม่ได้ เวียนวนอยู่อย่างนี้แหละ


เอาล่ะเน้อ อี่นางเอ๊ย กรรมน่ะเป็นเรื่องละเอียด แม้แต่จะเป็นทางตัวหนังสือก็ตาม
เมื่อเขาไม่สนใจ ก็อย่าไปวอวแกับเขา จะกลายเป็นว่า คิดเองเออเองอยู่คนเดียว
วาจาก็เหมือนกัน แม้จะเป็นทางตัวหนังสือก็ตาม ถ้าระงับใจได้ วาจาย่อมระงับเช่นกัน
เมื่อยังระงับใจยังไม่ได้ วาจาก็เป็นดั่งที่อี่นางแสดงออกมา

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2018, 14:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
สภาวะที่คุณกำลังเป็นอยู่ และกระทำอยู่ เป็นลักษณะอาการที่มีเกิดขึ้นของ
กูรู้ แต่ไม่รู้กู

อาการเหล่านี้มีเกิดขึ้นเหมือนกันหมด "ร้อนวิชา"
พออยากคุย แต่คนอื่นเขาไม่คุยด้วย ก็เลยเกิดอาการ ดีดดิ้น
เมื่ออาการดีดดิ้นเกิดขึ้นมาในใจ การแสดงออกก็เลยเป็นอย่างที่เห็น
เห็นได้ว่า ความรู้ต่างๆที่คุณคิดว่ามี หรือคิดว่ารู้ คุณยังรู้ไม่ถึงไหน
เพราะคุณศึกษาแต่นอกตัว ขาดการศึกษาในตัว


พระธรรมคำสอน ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้
ไม่ว่าจะทรงตรัสในแง่มุมไหน ล้วนเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด

สำหรับสิ่งที่คุณนำเสนอมาตั้งแต่ต้น ตรงกันข้ามทุกอย่าง
มีแต่การมีเกิดขึ้นของภพใหม่ ไม่ได้เป็นไปเพื่อดับเหตุแห่งทุกข์
แต่คุณก็ยังดูไม่ออก ที่ดูไม่ออกเพราะภายในไม่สงบ ระงับ


อภิธัมที่คุณนำมาแสดงก็เวิ่นเว้อ ความรู้ที่คุณมี ยังไม่ได้เศษเสี้ยวของคนในเว็บบอร์ดนี้
อีกอย่าง ที่บอกว่า ไม่คิดจะสนทนาด้วย แค่คำพูดแค่นี้ คุณยังดีดดิ้นขนาดนี้
นี่อินเตอร์เน็ต อาการยังขนาดนี้ ในชีวิตจริง จะขนาดไหน

เอาละ จะถือว่าช่วยคุณบรรเทาอาการที่มีเกิดขึ้นในใจ
เขียนออกมาให้หมด ใจจะได้ไม่ต้องเก็บอะไรไว้

อันนี้พูดจรงนะ เพราะในชีวิตจริง ก็ทำแบบนี้เหมือนกัน
คนที่พูดแล้วไม่เข้าใจหรือเห็นว่าคนๆนั้นเข้าใจอะไรที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวลัยพร
จะบอกเขาว่า รู้สึกนึกคิดอย่างไร พูดออกมาให้หมด จะไม่ขัดคำหรือแย้งใดๆกับเขาทั้งสิ้น
ก็ปล่อยให้เขาพูดในสิ่งที่เขาอยากพูด เมื่อพูดจนหมด เขาก็หยุดไปเอง ไปพูดเรื่องคนอื่นต่อ
ธรรมชาติของมนุษย์ก็แบบนี้แหละ มีแต่กูว่ามึง มึงว่ากู
ไม่ได้เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด

เพราะเห็นใจนะว่า คงยังรู้ไม่ทัน จึงเขียนบอก
เพราะรู้สึกเมตตานะ จึงบอกว่า ปลดปล่อยออกมาให้หมด พอจบจากเรื่องนี้ไป เรื่องใหม่มีเกิดขึ้นต่อ
ตราบใดที่ยังอ่านตัวเองไม่ออก บอกตัวเองยังไม่ได้ เวียนวนอยู่อย่างนี้แหละ


เอาล่ะเน้อ อี่นางเอ๊ย กรรมน่ะเป็นเรื่องละเอียด แม้แต่จะเป็นทางตัวหนังสือก็ตาม
เมื่อเขาไม่สนใจ ก็อย่าไปวอวแกับเขา จะกลายเป็นว่า คิดเองเออเองอยู่คนเดียว
วาจาก็เหมือนกัน แม้จะเป็นทางตัวหนังสือก็ตาม ถ้าระงับใจได้ วาจาย่อมระงับเช่นกัน
เมื่อยังระงับใจยังไม่ได้ วาจาก็เป็นดั่งที่อี่นางแสดงออกมา


นี่ไงคะ อาการกำหนัด ดีดดิ้น ไม่คุยด้วยจนต้องระเบิดออกมา
ที่จขกท ไม่สามารถ ใช้นิพพานเป็นอารมณ์ ได้

เห็นชัดเจนยังคะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2018, 14:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


ไปแระค่ะ


เพราะจกขท ไม่มีความเป็นกัลยาณมิตร ค่ะ

บ๊ายบายค่ะ Onion_R


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 36 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 43 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร