วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 00:21  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 510 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 34  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 01:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
คุณกรัธกาย มักนำข้อเขียนและสาระธรรมจากแหล่งอื่นเอามาลง

อันนี้เป็นสิ่งที่ดี

แต่!

ในสาระแง่ธรรมที่คนเขียนขึ้น มักสอดแทรกเอาการดูหมิ่นชาวพุทธอยู่ลึกๆ และแสดงออกมาเป็นข้อความเช่นตัวอย่างข้างบน ที่ผมแย้งไปว่า ใครรับรองข้อความนี้

คุณกรัธกายกลับไปติดใจกับข้อความอย่างนี้ ยังไม่พอ เอามาลงเมื่อมีการ สนทนาทางธรรมในหมู่ลานที่เป็นกลุ่มเล็ก โดยที่ผู้สนทนาจะให้คำตอบในแง่มุมใด ก็ปิดหูปิดตาตนเอง กลับไปค้นคว้าเอาคำพูดของนักแต่งหนังสือมาลงแย้งความเห็นเขา คุณกรัธกายลงพิจารณาดู ว่า ทำไม! แต่งหนังสือแล้ว ต้องไม่วายวางข้อความต่อว่าชาวพุทธกันเองด้วย อย่างนี้คุณกรัธกายก็ไม่วายถือเป็นเรื่องที่ประเสริฐเลิศล้ำ จดจำนำเอาไปใช้ในที่ต่างๆ



คุณเอาอะไรมาร้อยเรียงกันละเนี่ย

อ้างคำพูด:
student เขียน:

ทีนี้ คนที่เป็นพุทธก็ต้องเอาแนวปฎิบัติ หรือโพธิปักขิยธรรมมาเป็นแนวทางชีวิต ไม่ต้องไปจมปรักว่าชีวิต (ทุกข์) ยากจน (ทุกข์) หรือ ไร้สิ่งที่หวัง หรือความไม่เท่าเทียมของชีวิตให้หลุดพ้นจากวงจรแห่ง "สมุทัย" แต่ ใช้ "มรรค" เป็นวงจรของชีวิตในปัจจุบัน อันนี้เรียกปรับความเห็นและความเชื่อ คุณกรัธกายจะลอกผมก็ได้ ไม่ว่ากัน เพราะเห็นชอบไปเอาข้อความคนนั้นคนนี้มาลงอยู่แล้ว


เห็นมีโพธิปักขิยธรรม, สมุทัย, มรรค อิอิ แล้วก็เติมความคิดของตนผสมเข้าไป

ไหนคุณแจงความหมายของถ้อยคำที่พูดสิ อะไร


ถ้าไม่เอาความเข้าใจอธิบาย จะเข้าลานทำไมครับ
ส่วนมากลานก็เป็นที่แสดงความคิดเห็นอยู่แล้ว
การที่เอาสิ่งที่ตัวเองเข้าใจ มันก็เป็นหัวใจหลักของการสนทนาธรรมอยู่แล้ว
คุณกรัธกายเข้าใจอะไรผิดหรือปล่าวครับ?

การที่เอาสาระหนังสือข้อความคนแต่ง(ใครก็ไม่รู้)มาลง
มันก็ไม่ได้แสดงถึงความรู้จริงของคนเอามาลงหรอกครับ

คุณกรัธกายก็ลงสาระธรรมอยู่ทุกวัน
ไม่เอะใจเลยเหรอครับว่า สิ่งที่คนเขาสนทนาอยู่เสมอทำไมไม่ลงให้อ่าน

มรรค-สมุทัย-โพธิปักขิยธรรม บัญญัติหลักๆที่ผ่านหูผ่านตาอยู่เสมอ ไม่ยักกะลงให้คนเขาอ่านกัน พอเขาเอามาสนทนาตอบ ก็วกกลับมาถามความหมายกลับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 01:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:

ทีนี้ คนที่เป็นพุทธก็ต้องเอาแนวปฎิบัติ หรือโพธิปักขิยธรรมมาเป็นแนวทางชีวิต ไม่ต้องไปจมปรักว่าชีวิต (ทุกข์) ยากจน (ทุกข์) หรือ ไร้สิ่งที่หวัง หรือความไม่เท่าเทียมของชีวิตให้หลุดพ้นจากวงจรแห่ง "สมุทัย" แต่ ใช้ "มรรค" เป็นวงจรของชีวิตในปัจจุบัน อันนี้เรียกปรับความเห็นและความเชื่อ คุณกรัธกายจะลอกผมก็ได้ ไม่ว่ากัน เพราะเห็นชอบไปเอาข้อความคนนั้นคนนี้มาลงอยู่แล้ว


ความคิดคุณท่อนนั่น เข้ากับบทความนี้

นับว่าเป็นเรื่องแปลก และน่าใจหาย ที่คนสมัยนี้กลับไม่เข้าใจว่า พระไตรปิฎกคืออะไร ทำไมต้องรักษาพระไตรปิฎก ทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นมาตรฐาน หรือเป็นเกณฑ์วินิจฉัยว่า อะไรเป็นธรรมวินัย อะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า
หากปราศจากความเข้าใจพื้นฐานเช่นนี้เสียแล้ว บางคนก็อาจไปไกลถึงขนาดที่ทึกทักเอาผิดๆว่า คำสอนของพระพุทธเจ้า ใครจะว่าอย่างไรก็ได้


คุณมโนไปเรื่อยจับศัพท์นั่นมาผูกโยงกับศัพท์นี้เละเทะเป็นเต้าหู้ตกตึก :b1:


สนทนากับคุณกรัธกายต้องคุยกันยาว
ไม่ใช่อะไร มีคำถามจะถามคุณกรัธกายเยอะ เอาที่เห็นข้อความข้างบนก่อน
"นับว่าเป็นเรื่องแปลกและใจหาย คนสมัยนี้กลับไม่เข้าใจว่า พระไตรปิฎกคืออะไร ทำไมต้องรักษาทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นมาตรฐาน หรือเป็นเกณฑ์วินิจฉัยว่า อะไรเป็นธรรมวินัย อะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า
หากปราศจากความเข้าใจพื้นฐานเช่นนี้เสียแล้ว [color=#FF0000]บางคนก็อาจไปไกลถึงขนาดที่ทึกทักเอาผิดๆว่า คำสอนของพระพุทธเจ้า ใครจะว่าอย่างไรก็ได้"

ไม่ทราบว่า ใครเป็นคนพูดครับ? ใครเป็นคนรับรองคำพูดนี้?
เป็นสาวกในพุทธศาสนาเหมือนกัน ไม่ทราบว่า เอาคำๆนี้มาใช้เคยคิดไหมครับว่าพระพุทธเจ้าทราบแล้วจะรับรองคำพูดนี้ให้เป็นมาตรฐานใช้กับคนในศาสนาพุทธเหรอครับ? คิดสิคิด?



พระพุทธเจ้าสอนอะไรล่ะ คิดสิคิด


คุณกรัธกายตั้งคำถามผิด! คิดสิคิด!

คำถามที่ควรจะถาม ควรจะเป็น" คุณเรียนรู้อะไรจากคำสอนของพระพุทธเจ้า" มองเข้าหาตัวสิครับ อย่าส่งจิตออกนอกเกี่ยวกับคนอื่น

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 01:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


นักแต่งหนังสือ กับคุณกรัธกาย ดูอีกทีก็คล้ายๆกันนะครับ

เพ่งเล็งแต่คนอื่น "น่าเสียดง เสียดายชาวพุทธอย่างโน้นอย่างนี้"

แต่เรื่องของตัวเองนั้นไม่ค่อยจะรู้

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 02:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:


คุณกรัธกายต้องแยกแยะให้เป็นระหว่าง ข้อปฎิบัติในทางแห่งพุทธ(โพธิปักขิยธรรม) กับ ความเห็นของคน(ทิฏฐิ) สองอย่างนี้มีความเกี่ยวโยงกันแต่ไม่เหมือนกัน
คุณบอกแนวคิดเรื่องกรรมเป็นแนวคิดออกแนวนิครนถ์(ผมยังไม่รู้ด้วยซ้ำว่านิครนถ์ที่ว่าคือลัทธิอะไร
คนพุทธต้องเชื่อเรื่องกรรมครับ ถ้าไม่เชื่อ จัดเป็นมิจฉาทิฐิ คุณอยากจะพัฒนาตนให้เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ นั่นแหละ คุณถึงต้องใช้หลัก โพธิปักขิยธรรม มาเป็นแนวทางชีวิต



(ตัดให้ดูเฉพาะข้อที่ว่าเป็นลัทธินิครนถ์ และเพราะความไม่รู้ไม่เข้าใจนั่นแหละ จึงเป็นนิครนถ์โดยไม่รู้ตัว)

ลัทธิมิจฉาทิฏฐิ เกี่ยวกับสุขทุกข์ และความเป็นไปในชีวิตของมนุษย์อยู่ ๓ ลัทธิ
ได้แก่


๑. ปุพเพกตเหตุวาท การถือว่าสุขทุกข์ทั้งปวง เป็นเพราะกรรมเก่า (past-action) เรียกสั้นๆว่า ปุพเพกตวาท


(เมื่อนิครนถ์คิดยังงั้นแล้ว พระพุทธเจ้าจึง) ว่า

“ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสมณพราหมณ์ ๓ พวกนั้น เราเข้าไปหา (พวกที่ ๑) แล้ว

ถามว่า “ทราบว่า ท่านทั้งหลายมีวาทะ มีทิฐิอย่างนี้...จริงหรือ ?”

ถ้าสมณพราหมณ์เหล่านั้น ถูกเราถามอย่างนี้แล้ว รับว่าจริง เราก็กล่าวกะเขาว่า

“ถ้าเช่นนั้น ท่านก็จักต้องเป็นผู้ทำปาณาติบาต เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ทำอทินนาทาน เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ประพฤติอพรหมจรรย์...
.เป็นผู้กล่าวมุสาวาท...ฯลฯ เป็นผู้มีมิจฉาทิฐิ เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุน่ะสิ”


“ภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อบุคคลมายึดเอากรรมที่ทำไว้ในปางก่อนเป็นสาระ
ฉันทะก็ดี
ความพยายามก็ดี ว่า “สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ” ก็ย่อมไม่มี

เมื่อไม่กำหนดถือเอาสิ่งที่ควรทำ และสิ่งไม่ที่ควรทำ โดยจริงจังมั่นคง ดังนี้ สมณพราหมณ์พวกนี้ ก็เท่ากับอยู่อย่างหลงสติ ไร้เครื่องรักษา จะมีสมณวาทะที่ชอบธรรมเฉพาะตนไม่ได้ นี้แล เป็นนิคหะอันชอบธรรมอย่างแรกของเราต่อสมณพราหมณ์ ผู้มีวาทะ มีทิฐิ อย่างนี้” * (องฺ.ติก.20/501/222)


เอาอีกรอบครับ
" สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ" ในสาระนี้ความเข้าใจผมนั้นคือ โพธิปักขิยธรรมครับ คุณกรัธกายจะเข้าใจว่าอะไรผมไม่รู้(เจ้าตัวไม่เคยอธิบายอยู่แล้วว่าเข้าใจอะไร)

ชาวนิครนถ์ ที่เป็นมิจฉาทิฐิเพราะไม่ยอมรับเอา หลักการฝึกตน เพราะยึดถือเอากรรมว่าเดี๋ยวก็วกกลับมาสนองอยู่ดี คือพูดง่ายๆ รอให้กรรมกำหนดชีวิต

คำถามของพระพุทธเจ้า (ตามที่ผมเข้าใจ) เมื่อไม่มีธรรมเป็นเครื่องรักษา ก็อยู่อย่างหลงสติ

พุทธก็ต้องมีธรรมเป็นเครื่องรักษาจึงจะเป็นสัมมาทิฏฐิ

ความยากจน การถูกโกง อะไรต่างๆ เป็นความยากจน ****ของคนที่บริโภคกาม****

แล้วธรรมอะไรล่ะครับ ที่เป็นธรรมะข้อปฎิบัติ "การไม่ชื่อว่าบริโภคกาม"

"ของคนที่บริโภคกาม" เป็นสมุทัยเหตุของทุกข์(ความจน และอื่นๆ)

ส่วน ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค (อริยสัจ4) เป็น โพธิปักขิยธรรม (มีเหตุ มีผล)เป็นธรรมของผู้ที่ละเว้นการบริโภคกาม
พุทธศาสนา ย่อมมีเนื้อหาของเหตุและผล ไม่มีอะไรปรากฎขึ้นมาลอยๆ

คุณกรัธกาย ใจเย็นๆนะครับ

อย่าพึ่งโดดเข้ามาสรุป ว่าจับบัญญัติมาผสม มั่วและผิดเพี้ยนไปหมดอย่างนั้นอย่างนี้

อันนี้เอาไว้ให้ท่านอิ่นๆเข้ามาอ่านบ้าง หากทุกๆคนว่าผิดเพี้ยน จะได้ยอมรับความผิดพลาด ไม่อยากให้คุณกรัธกายรีบกระโดดเข้ามา

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 08:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:

ทีนี้ คนที่เป็นพุทธก็ต้องเอาแนวปฎิบัติ หรือโพธิปักขิยธรรมมาเป็นแนวทางชีวิต ไม่ต้องไปจมปรักว่าชีวิต (ทุกข์) ยากจน (ทุกข์) หรือ ไร้สิ่งที่หวัง หรือความไม่เท่าเทียมของชีวิตให้หลุดพ้นจากวงจรแห่ง "สมุทัย" แต่ ใช้ "มรรค" เป็นวงจรของชีวิตในปัจจุบัน อันนี้เรียกปรับความเห็นและความเชื่อ คุณกรัธกายจะลอกผมก็ได้ ไม่ว่ากัน เพราะเห็นชอบไปเอาข้อความคนนั้นคนนี้มาลงอยู่แล้ว


ความคิดคุณท่อนนั่น เข้ากับบทความนี้

นับว่าเป็นเรื่องแปลก และน่าใจหาย ที่คนสมัยนี้กลับไม่เข้าใจว่า พระไตรปิฎกคืออะไร ทำไมต้องรักษาพระไตรปิฎก ทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นมาตรฐาน หรือเป็นเกณฑ์วินิจฉัยว่า อะไรเป็นธรรมวินัย อะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า
หากปราศจากความเข้าใจพื้นฐานเช่นนี้เสียแล้ว บางคนก็อาจไปไกลถึงขนาดที่ทึกทักเอาผิดๆว่า คำสอนของพระพุทธเจ้า ใครจะว่าอย่างไรก็ได้


คุณมโนไปเรื่อยจับศัพท์นั่นมาผูกโยงกับศัพท์นี้เละเทะเป็นเต้าหู้ตกตึก :b1:


สนทนากับคุณกรัธกายต้องคุยกันยาว
ไม่ใช่อะไร มีคำถามจะถามคุณกรัธกายเยอะ เอาที่เห็นข้อความข้างบนก่อน
"นับว่าเป็นเรื่องแปลกและใจหาย คนสมัยนี้กลับไม่เข้าใจว่า พระไตรปิฎกคืออะไร ทำไมต้องรักษาทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นมาตรฐาน หรือเป็นเกณฑ์วินิจฉัยว่า อะไรเป็นธรรมวินัย อะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า
หากปราศจากความเข้าใจพื้นฐานเช่นนี้เสียแล้ว [color=#FF0000]บางคนก็อาจไปไกลถึงขนาดที่ทึกทักเอาผิดๆว่า คำสอนของพระพุทธเจ้า ใครจะว่าอย่างไรก็ได้"

ไม่ทราบว่า ใครเป็นคนพูดครับ? ใครเป็นคนรับรองคำพูดนี้?
เป็นสาวกในพุทธศาสนาเหมือนกัน ไม่ทราบว่า เอาคำๆนี้มาใช้เคยคิดไหมครับว่าพระพุทธเจ้าทราบแล้วจะรับรองคำพูดนี้ให้เป็นมาตรฐานใช้กับคนในศาสนาพุทธเหรอครับ? คิดสิคิด?



พระพุทธเจ้าสอนอะไรล่ะ คิดสิคิด


คุณกรัธกายตั้งคำถามผิด! คิดสิคิด!

คำถามที่ควรจะถาม ควรจะเป็น" คุณเรียนรู้อะไรจากคำสอนของพระพุทธเจ้า" มองเข้าหาตัวสิครับ อย่าส่งจิตออกนอกเกี่ยวกับคนอื่น



มาอีกแระ อย่าส่งจิตออกนอก คิกๆๆ จำใครมาพูดรู้นะ พระพุทธเจ้าเนี่ยะนะ ส่งจิตไปถึงอดีต ปัจจุบัน อนาคตนะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 08:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:


คุณกรัธกายต้องแยกแยะให้เป็นระหว่าง ข้อปฎิบัติในทางแห่งพุทธ(โพธิปักขิยธรรม) กับ ความเห็นของคน(ทิฏฐิ) สองอย่างนี้มีความเกี่ยวโยงกันแต่ไม่เหมือนกัน
คุณบอกแนวคิดเรื่องกรรมเป็นแนวคิดออกแนวนิครนถ์(ผมยังไม่รู้ด้วยซ้ำว่านิครนถ์ที่ว่าคือลัทธิอะไร
คนพุทธต้องเชื่อเรื่องกรรมครับ ถ้าไม่เชื่อ จัดเป็นมิจฉาทิฐิ คุณอยากจะพัฒนาตนให้เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ นั่นแหละ คุณถึงต้องใช้หลัก โพธิปักขิยธรรม มาเป็นแนวทางชีวิต



(ตัดให้ดูเฉพาะข้อที่ว่าเป็นลัทธินิครนถ์ และเพราะความไม่รู้ไม่เข้าใจนั่นแหละ จึงเป็นนิครนถ์โดยไม่รู้ตัว)

ลัทธิมิจฉาทิฏฐิ เกี่ยวกับสุขทุกข์ และความเป็นไปในชีวิตของมนุษย์อยู่ ๓ ลัทธิ
ได้แก่


๑. ปุพเพกตเหตุวาท การถือว่าสุขทุกข์ทั้งปวง เป็นเพราะกรรมเก่า (past-action) เรียกสั้นๆว่า ปุพเพกตวาท


(เมื่อนิครนถ์คิดยังงั้นแล้ว พระพุทธเจ้าจึง) ว่า

“ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสมณพราหมณ์ ๓ พวกนั้น เราเข้าไปหา (พวกที่ ๑) แล้ว

ถามว่า “ทราบว่า ท่านทั้งหลายมีวาทะ มีทิฐิอย่างนี้...จริงหรือ ?”

ถ้าสมณพราหมณ์เหล่านั้น ถูกเราถามอย่างนี้แล้ว รับว่าจริง เราก็กล่าวกะเขาว่า

“ถ้าเช่นนั้น ท่านก็จักต้องเป็นผู้ทำปาณาติบาต เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ทำอทินนาทาน เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ประพฤติอพรหมจรรย์...
.เป็นผู้กล่าวมุสาวาท...ฯลฯ เป็นผู้มีมิจฉาทิฐิ เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุน่ะสิ”


“ภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อบุคคลมายึดเอากรรมที่ทำไว้ในปางก่อนเป็นสาระ
ฉันทะก็ดี
ความพยายามก็ดี ว่า “สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ” ก็ย่อมไม่มี

เมื่อไม่กำหนดถือเอาสิ่งที่ควรทำ และสิ่งไม่ที่ควรทำ โดยจริงจังมั่นคง ดังนี้ สมณพราหมณ์พวกนี้ ก็เท่ากับอยู่อย่างหลงสติ ไร้เครื่องรักษา จะมีสมณวาทะที่ชอบธรรมเฉพาะตนไม่ได้ นี้แล เป็นนิคหะอันชอบธรรมอย่างแรกของเราต่อสมณพราหมณ์ ผู้มีวาทะ มีทิฐิ อย่างนี้” * (องฺ.ติก.20/501/222)


เอาอีกรอบครับ
" สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ" ในสาระนี้ความเข้าใจผมนั้นคือ โพธิปักขิยธรรมครับ คุณกรัธกายจะเข้าใจว่าอะไรผมไม่รู้(เจ้าตัวไม่เคยอธิบายอยู่แล้วว่าเข้าใจอะไร)

ชาวนิครนถ์ ที่เป็นมิจฉาทิฐิเพราะไม่ยอมรับเอา หลักการฝึกตน เพราะยึดถือเอากรรมว่าเดี๋ยวก็วกกลับมาสนองอยู่ดี คือพูดง่ายๆ รอให้กรรมกำหนดชีวิต

คำถามของพระพุทธเจ้า (ตามที่ผมเข้าใจ) เมื่อไม่มีธรรมเป็นเครื่องรักษา ก็อยู่อย่างหลงสติ

พุทธก็ต้องมีธรรมเป็นเครื่องรักษาจึงจะเป็นสัมมาทิฏฐิ

ความยากจน การถูกโกง อะไรต่างๆ เป็นความยากจน ****ของคนที่บริโภคกาม****

แล้วธรรมอะไรล่ะครับ ที่เป็นธรรมะข้อปฎิบัติ "การไม่ชื่อว่าบริโภคกาม"

"ของคนที่บริโภคกาม" เป็นสมุทัยเหตุของทุกข์(ความจน และอื่นๆ)

ส่วน ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค (อริยสัจ4) เป็น โพธิปักขิยธรรม (มีเหตุ มีผล)เป็นธรรมของผู้ที่ละเว้นการบริโภคกาม
พุทธศาสนา ย่อมมีเนื้อหาของเหตุและผล ไม่มีอะไรปรากฎขึ้นมาลอยๆ

คุณกรัธกาย ใจเย็นๆนะครับ

อย่าพึ่งโดดเข้ามาสรุป ว่าจับบัญญัติมาผสม มั่วและผิดเพี้ยนไปหมดอย่างนั้นอย่างนี้

อันนี้เอาไว้ให้ท่านอิ่นๆเข้ามาอ่านบ้าง หากทุกๆคนว่าผิดเพี้ยน จะได้ยอมรับความผิดพลาด ไม่อยากให้คุณกรัธกายรีบกระโดดเข้ามา



เอาทีละข้อ กามโภคี แปลว่า ผู้บริโภคกาม ได้แก่ ชาวบ้าน,คฤหัสถ์ ดูหลัก

ในการจำแนกผู้ครองเรือน หรือชาวบ้าน (กามโภคี) เป็น ๑๐ ประเภท พระพุทธเจ้าทรงแสดงผู้ครองเรือนประเภทที่ ๑๐ ว่าเป็นผู้ครองเรือนที่ประเสริฐเลิศสูงสุด จากคุณสมบัติของผู้ครองเรือนอย่างเลิศนั้น จะเห็นหลักการปฏิบัติเกี่ยวกับทรัพย์ ที่ถูกต้องตามหลักธรรม สรุปได้ดังนี้ *(องฺ.ทสก.24/91/194)

๑) การหา แสวงหาทรัพย์โดยชอบธรรม ไม่ข่มเหงเบียดเบียน

๒) การใช้ (ขั้นนี้มีการวางแผน ซึ่งถือว่ารวมทั้งการเก็บรักษา และการเป็นอยู่พอดีไว้ด้วยในตัว)

ก. เลี้ยงตน (และคนที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ) ให้เป็นสุข
ข. เผื่อแผ่แบ่งปัน
ค. ใช้ทรัพย์ทำสิ่งดีงามเป็นประโยชน์เป็นบุญ (รวมทั้งใช้เผยแผ่ส่งเสริมธรรม)

๓. การมีปัญญาที่ทำให้เป็นอิสระ ไม่ลุ่มหลงหมกมุ่นมัวเมา กินใช้ทรัพย์อย่างรู้เท่าทันเห็นคุณ โทษ มีจิตใจเป็นอิสระด้วยนิสสรณปัญญา และอาศัยทรัพย์ได้โอกาสที่จะพัฒนาจิตปัญญายิ่งๆขึ้นไป

ขอยกพุทธพจน์ที่ตรัสสอนในเรื่องการปฏิบัติเกี่ยวกับทรัพย์มาดูเป็นตัวอย่าง

“ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จำพวกเหล่านี้ มีปรากฏอยู่ในโลก สามจำพวกไหน ? คือคนตาบอด คนตาเดียว คนสองตา”

“บุคคลตาบอดเป็นไฉน ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ไม่มีดวงตาชนิดที่ช่วยให้ได้โภคทรัพย์ที่ยังไม่ได้ หรือทำโภคทรัพย์ที่ได้แล้วให้เพิ่มพูน กับทั้งไม่มีดวงตาชนิดที่จะช่วยให้รู้จักธรรม ที่เป็นกุศล เป็นอกุศล...ธรรมมีโทษ...ไม่มีโทษ... ธรรมทราม ธรรมประณีต...ธรรมที่เปรียบได้กับของดำ หรือของขาว นี้เรียกว่า บุคคลตาบอด

“บุคคลตาเดียวเป็นไฉน ? บุคคลบางคนในโลกนี้ มีดวงตาชนิดที่ช่วยให้ได้โภคทรัพย์ที่ยังไม่ได้ หรือทำโภคทรัพย์ที่ได้แล้วให้เพิ่มพูน แต่ไม่มีดวงตาชนิดที่จะช่วยให้รู้จักธรรม ที่เป็นกุศล เป็นอกุศล...ธรรมมีโทษ...ไม่มีโทษ... ธรรมทราม ธรรมประณีต...ธรรมที่เปรียบได้กับของดำ หรือของขาว นี้เรียกว่า บุคคลตาเดียว

“บุคคลสองตาเป็นไฉน ? บุคคลบางคนในโลกนี้ มีดวงตาชนิดที่ช่วยให้ได้โภคทรัพย์ที่ยังไม่ได้ หรือทำโภคทรัพย์ที่ได้แล้วให้เพิ่มพูน อีกทั้งมีดวงตาชนิดที่ช่วยให้รู้จักธรรม ที่เป็นกุศล เป็นอกุศล...ธรรมมีโทษ...ไม่มีโทษ... ธรรมทราม ธรรมประณีต...ธรรมที่เปรียบได้กับของดำ หรือของขาว นี้เรียกว่าบุคคลสองตา

“คนตาบอด ตาเสีย มีแต่กาลีเคราะห์ร้ายทั้งสองทาง คือโภคทรัพย์อย่างที่ว่า ก็ไม่มี คุณความดี ก็ไม่ทำ

“อีกคนหนึ่ง ที่เรียกว่าตาเดียว เที่ยวเสวงหาแต่ทรัพย์ถูกธรรมก็เอา ผิดธรรมก็เอา ไม่ว่าจะเป็นการลักขโมยคดโกง หรือโกหกหลอกลวงก็ได้ เขาเป็นคนเสวยกามที่ฉลาดสะสมทรัพย์ แต่จากนี้ ไปนรก คนตาเดียวย่อมเดือดร้อน

“ส่วนคนที่เรียกว่าสองตา เป็นคนประเสริฐ ย่อมแบ่งปันทรัพย์ ซึ่งได้มาด้วยความขยัน จากกองโภคะที่ได้มาโดยชอบธรรม ออกเผือแผ่ มีความคิดสูง ประเสริฐ มีจิตใจแน่วแน่ ย่อมเข้าถึงสถานะดีงาม ที่ไปแล้วไม่เศร้าโศก

“พึงหลีกเว้นคนตาบอดและคนตาเดียวเสียให้ไกล ควรคบหาแต่คนสองตา ผู้ประเสริฐ” *(องฺ.ติก.20/468/162)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 08:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:


คุณกรัธกายต้องแยกแยะให้เป็นระหว่าง ข้อปฎิบัติในทางแห่งพุทธ(โพธิปักขิยธรรม) กับ ความเห็นของคน(ทิฏฐิ) สองอย่างนี้มีความเกี่ยวโยงกันแต่ไม่เหมือนกัน
คุณบอกแนวคิดเรื่องกรรมเป็นแนวคิดออกแนวนิครนถ์(ผมยังไม่รู้ด้วยซ้ำว่านิครนถ์ที่ว่าคือลัทธิอะไร
คนพุทธต้องเชื่อเรื่องกรรมครับ ถ้าไม่เชื่อ จัดเป็นมิจฉาทิฐิ คุณอยากจะพัฒนาตนให้เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ นั่นแหละ คุณถึงต้องใช้หลัก โพธิปักขิยธรรม มาเป็นแนวทางชีวิต



(ตัดให้ดูเฉพาะข้อที่ว่าเป็นลัทธินิครนถ์ และเพราะความไม่รู้ไม่เข้าใจนั่นแหละ จึงเป็นนิครนถ์โดยไม่รู้ตัว)

ลัทธิมิจฉาทิฏฐิ เกี่ยวกับสุขทุกข์ และความเป็นไปในชีวิตของมนุษย์อยู่ ๓ ลัทธิ
ได้แก่


๑. ปุพเพกตเหตุวาท การถือว่าสุขทุกข์ทั้งปวง เป็นเพราะกรรมเก่า (past-action) เรียกสั้นๆว่า ปุพเพกตวาท


(เมื่อนิครนถ์คิดยังงั้นแล้ว พระพุทธเจ้าจึง) ว่า

“ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสมณพราหมณ์ ๓ พวกนั้น เราเข้าไปหา (พวกที่ ๑) แล้ว

ถามว่า “ทราบว่า ท่านทั้งหลายมีวาทะ มีทิฐิอย่างนี้...จริงหรือ ?”

ถ้าสมณพราหมณ์เหล่านั้น ถูกเราถามอย่างนี้แล้ว รับว่าจริง เราก็กล่าวกะเขาว่า

“ถ้าเช่นนั้น ท่านก็จักต้องเป็นผู้ทำปาณาติบาต เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ทำอทินนาทาน เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ประพฤติอพรหมจรรย์...
.เป็นผู้กล่าวมุสาวาท...ฯลฯ เป็นผู้มีมิจฉาทิฐิ เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุน่ะสิ”


“ภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อบุคคลมายึดเอากรรมที่ทำไว้ในปางก่อนเป็นสาระ
ฉันทะก็ดี
ความพยายามก็ดี ว่า “สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ” ก็ย่อมไม่มี

เมื่อไม่กำหนดถือเอาสิ่งที่ควรทำ และสิ่งไม่ที่ควรทำ โดยจริงจังมั่นคง ดังนี้ สมณพราหมณ์พวกนี้ ก็เท่ากับอยู่อย่างหลงสติ ไร้เครื่องรักษา จะมีสมณวาทะที่ชอบธรรมเฉพาะตนไม่ได้ นี้แล เป็นนิคหะอันชอบธรรมอย่างแรกของเราต่อสมณพราหมณ์ ผู้มีวาทะ มีทิฐิ อย่างนี้” * (องฺ.ติก.20/501/222)


เอาอีกรอบครับ
" สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ" ในสาระนี้ความเข้าใจผมนั้นคือ โพธิปักขิยธรรมครับ คุณกรัธกายจะเข้าใจว่าอะไรผมไม่รู้(เจ้าตัวไม่เคยอธิบายอยู่แล้วว่าเข้าใจอะไร)

ชาวนิครนถ์ ที่เป็นมิจฉาทิฐิเพราะไม่ยอมรับเอา หลักการฝึกตน เพราะยึดถือเอากรรมว่าเดี๋ยวก็วกกลับมาสนองอยู่ดี คือพูดง่ายๆ รอให้กรรมกำหนดชีวิต

คำถามของพระพุทธเจ้า (ตามที่ผมเข้าใจ) เมื่อไม่มีธรรมเป็นเครื่องรักษา ก็อยู่อย่างหลงสติ

พุทธก็ต้องมีธรรมเป็นเครื่องรักษาจึงจะเป็นสัมมาทิฏฐิ

ความยากจน การถูกโกง อะไรต่างๆ เป็นความยากจน ****ของคนที่บริโภคกาม****

แล้วธรรมอะไรล่ะครับ ที่เป็นธรรมะข้อปฎิบัติ "การไม่ชื่อว่าบริโภคกาม"

"ของคนที่บริโภคกาม" เป็นสมุทัยเหตุของทุกข์(ความจน และอื่นๆ)

ส่วน ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค (อริยสัจ4) เป็น โพธิปักขิยธรรม (มีเหตุ มีผล)เป็นธรรมของผู้ที่ละเว้นการบริโภคกาม
พุทธศาสนา ย่อมมีเนื้อหาของเหตุและผล ไม่มีอะไรปรากฎขึ้นมาลอยๆ


คุณกรัธกาย ใจเย็นๆนะครับ

อย่าพึ่งโดดเข้ามาสรุป ว่าจับบัญญัติมาผสม มั่วและผิดเพี้ยนไปหมดอย่างนั้นอย่างนี้

อันนี้เอาไว้ให้ท่านอิ่นๆเข้ามาอ่านบ้าง หากทุกๆคนว่าผิดเพี้ยน จะได้ยอมรับความผิดพลาด ไม่อยากให้คุณกรัธกายรีบกระโดดเข้ามา


มั่วสุดๆ

นั่นเป็นความเห็นส่วนตัวคุณเองนะไม่ใช่พระพุทธศาสนา อิอิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 08:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
นักแต่งหนังสือ กับคุณกรัธกาย ดูอีกทีก็คล้ายๆกันนะครับ

เพ่งเล็งแต่คนอื่น "น่าเสียดง เสียดายชาวพุทธอย่างโน้นอย่างนี้"

แต่เรื่องของตัวเองนั้นไม่ค่อยจะรู้


หนังสือนั่นเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า มันจึงเท่ากับรู้เรื่องตัวเองด้วย คนอื่นด้วยนะ เพราะอะไร? เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนคน คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 08:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
คุณกรัธกาย มักนำข้อเขียนและสาระธรรมจากแหล่งอื่นเอามาลง

อันนี้เป็นสิ่งที่ดี

แต่!

ในสาระแง่ธรรมที่คนเขียนขึ้น มักสอดแทรกเอาการดูหมิ่นชาวพุทธอยู่ลึกๆ และแสดงออกมาเป็นข้อความเช่นตัวอย่างข้างบน ที่ผมแย้งไปว่า ใครรับรองข้อความนี้

คุณกรัธกายกลับไปติดใจกับข้อความอย่างนี้ ยังไม่พอ เอามาลงเมื่อมีการ สนทนาทางธรรมในหมู่ลานที่เป็นกลุ่มเล็ก โดยที่ผู้สนทนาจะให้คำตอบในแง่มุมใด ก็ปิดหูปิดตาตนเอง กลับไปค้นคว้าเอาคำพูดของนักแต่งหนังสือมาลงแย้งความเห็นเขา คุณกรัธกายลงพิจารณาดู ว่า ทำไม! แต่งหนังสือแล้ว ต้องไม่วายวางข้อความต่อว่าชาวพุทธกันเองด้วย อย่างนี้คุณกรัธกายก็ไม่วายถือเป็นเรื่องที่ประเสริฐเลิศล้ำ จดจำนำเอาไปใช้ในที่ต่างๆ



คุณเอาอะไรมาร้อยเรียงกันละเนี่ย

อ้างคำพูด:
student เขียน:

ทีนี้ คนที่เป็นพุทธก็ต้องเอาแนวปฎิบัติ หรือโพธิปักขิยธรรมมาเป็นแนวทางชีวิต ไม่ต้องไปจมปรักว่าชีวิต (ทุกข์) ยากจน (ทุกข์) หรือ ไร้สิ่งที่หวัง หรือความไม่เท่าเทียมของชีวิตให้หลุดพ้นจากวงจรแห่ง "สมุทัย" แต่ ใช้ "มรรค" เป็นวงจรของชีวิตในปัจจุบัน อันนี้เรียกปรับความเห็นและความเชื่อ คุณกรัธกายจะลอกผมก็ได้ ไม่ว่ากัน เพราะเห็นชอบไปเอาข้อความคนนั้นคนนี้มาลงอยู่แล้ว


เห็นมีโพธิปักขิยธรรม, สมุทัย, มรรค อิอิ แล้วก็เติมความคิดของตนผสมเข้าไป

ไหนคุณแจงความหมายของถ้อยคำที่พูดสิ อะไร


ถ้าไม่เอาความเข้าใจอธิบาย จะเข้าลานทำไมครับ
ส่วนมากลานก็เป็นที่แสดงความคิดเห็นอยู่แล้ว
การที่เอาสิ่งที่ตัวเองเข้าใจ มันก็เป็นหัวใจหลักของการสนทนาธรรมอยู่แล้ว
คุณกรัธกายเข้าใจอะไรผิดหรือปล่าวครับ?

การที่เอาสาระหนังสือข้อความคนแต่ง(ใครก็ไม่รู้)มาลง
มันก็ไม่ได้แสดงถึงความรู้จริงของคนเอามาลงหรอกครับ

คุณกรัธกายก็ลงสาระธรรมอยู่ทุกวัน
ไม่เอะใจเลยเหรอครับว่า สิ่งที่คนเขาสนทนาอยู่เสมอทำไมไม่ลงให้อ่าน

มรรค-สมุทัย-โพธิปักขิยธรรม บัญญัติหลักๆที่ผ่านหูผ่านตาอยู่เสมอ ไม่ยักกะลงให้คนเขาอ่านกัน พอเขาเอามาสนทนาตอบ ก็วกกลับมาถามความหมายกลับ


นั่นไงๆ เขาถึงว่า...บางคนเข้าใจไปไกล ถึงกับเข้าใจผิดๆว่า พระพุทธศาสนาใครจะว่ายังไงก็ได้ คิกๆๆ ชัดเลย หรือจะเถียง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 08:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
คุณกรัธกาย มักนำข้อเขียนและสาระธรรมจากแหล่งอื่นเอามาลง

อันนี้เป็นสิ่งที่ดี

แต่!

ในสาระแง่ธรรมที่คนเขียนขึ้น มักสอดแทรกเอาการดูหมิ่นชาวพุทธอยู่ลึกๆ และแสดงออกมาเป็นข้อความเช่นตัวอย่างข้างบน ที่ผมแย้งไปว่า ใครรับรองข้อความนี้

คุณกรัธกายกลับไปติดใจกับข้อความอย่างนี้ ยังไม่พอ เอามาลงเมื่อมีการ สนทนาทางธรรมในหมู่ลานที่เป็นกลุ่มเล็ก โดยที่ผู้สนทนาจะให้คำตอบในแง่มุมใด ก็ปิดหูปิดตาตนเอง กลับไปค้นคว้าเอาคำพูดของนักแต่งหนังสือมาลงแย้งความเห็นเขา คุณกรัธกายลงพิจารณาดู ว่า ทำไม! แต่งหนังสือแล้ว ต้องไม่วายวางข้อความต่อว่าชาวพุทธกันเองด้วย อย่างนี้คุณกรัธกายก็ไม่วายถือเป็นเรื่องที่ประเสริฐเลิศล้ำ จดจำนำเอาไปใช้ในที่ต่างๆ



คุณเอาอะไรมาร้อยเรียงกันละเนี่ย

อ้างคำพูด:
student เขียน:

ทีนี้ คนที่เป็นพุทธก็ต้องเอาแนวปฎิบัติ หรือโพธิปักขิยธรรมมาเป็นแนวทางชีวิต ไม่ต้องไปจมปรักว่าชีวิต (ทุกข์) ยากจน (ทุกข์) หรือ ไร้สิ่งที่หวัง หรือความไม่เท่าเทียมของชีวิตให้หลุดพ้นจากวงจรแห่ง "สมุทัย" แต่ ใช้ "มรรค" เป็นวงจรของชีวิตในปัจจุบัน อันนี้เรียกปรับความเห็นและความเชื่อ คุณกรัธกายจะลอกผมก็ได้ ไม่ว่ากัน เพราะเห็นชอบไปเอาข้อความคนนั้นคนนี้มาลงอยู่แล้ว


เห็นมีโพธิปักขิยธรรม, สมุทัย, มรรค อิอิ แล้วก็เติมความคิดของตนผสมเข้าไป

ไหนคุณแจงความหมายของถ้อยคำที่พูดสิ อะไร


ถ้าไม่เอาความเข้าใจอธิบาย จะเข้าลานทำไมครับ
ส่วนมากลานก็เป็นที่แสดงความคิดเห็นอยู่แล้ว
การที่เอาสิ่งที่ตัวเองเข้าใจ มันก็เป็นหัวใจหลักของการสนทนาธรรมอยู่แล้ว
คุณกรัธกายเข้าใจอะไรผิดหรือปล่าวครับ?

การที่เอาสาระหนังสือข้อความคนแต่ง(ใครก็ไม่รู้)มาลง
มันก็ไม่ได้แสดงถึงความรู้จริงของคนเอามาลงหรอกครับ

คุณกรัธกายก็ลงสาระธรรมอยู่ทุกวัน
ไม่เอะใจเลยเหรอครับว่า สิ่งที่คนเขาสนทนาอยู่เสมอทำไมไม่ลงให้อ่าน

มรรค-สมุทัย-โพธิปักขิยธรรม บัญญัติหลักๆที่ผ่านหูผ่านตาอยู่เสมอ ไม่ยักกะลงให้คนเขาอ่านกัน พอเขาเอามาสนทนาตอบ ก็วกกลับมาถามความหมายกลับ


คุณลองว่ามาสิ มรรค สมุทัย โพธิปักขิยธรรม ว่าไป

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 08:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:


คุณกรัธกายต้องแยกแยะให้เป็นระหว่าง ข้อปฎิบัติในทางแห่งพุทธ(โพธิปักขิยธรรม) กับ ความเห็นของคน(ทิฏฐิ) สองอย่างนี้มีความเกี่ยวโยงกันแต่ไม่เหมือนกัน
คุณบอกแนวคิดเรื่องกรรมเป็นแนวคิดออกแนวนิครนถ์(ผมยังไม่รู้ด้วยซ้ำว่านิครนถ์ที่ว่าคือลัทธิอะไร
คนพุทธต้องเชื่อเรื่องกรรมครับ ถ้าไม่เชื่อ จัดเป็นมิจฉาทิฐิ คุณอยากจะพัฒนาตนให้เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ นั่นแหละ คุณถึงต้องใช้หลัก โพธิปักขิยธรรม มาเป็นแนวทางชีวิต



(ตัดให้ดูเฉพาะข้อที่ว่าเป็นลัทธินิครนถ์ และเพราะความไม่รู้ไม่เข้าใจนั่นแหละ จึงเป็นนิครนถ์โดยไม่รู้ตัว)

ลัทธิมิจฉาทิฏฐิ เกี่ยวกับสุขทุกข์ และความเป็นไปในชีวิตของมนุษย์อยู่ ๓ ลัทธิ
ได้แก่


๑. ปุพเพกตเหตุวาท การถือว่าสุขทุกข์ทั้งปวง เป็นเพราะกรรมเก่า (past-action) เรียกสั้นๆว่า ปุพเพกตวาท


(เมื่อนิครนถ์คิดยังงั้นแล้ว พระพุทธเจ้าจึง) ว่า

“ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสมณพราหมณ์ ๓ พวกนั้น เราเข้าไปหา (พวกที่ ๑) แล้ว

ถามว่า “ทราบว่า ท่านทั้งหลายมีวาทะ มีทิฐิอย่างนี้...จริงหรือ ?”

ถ้าสมณพราหมณ์เหล่านั้น ถูกเราถามอย่างนี้แล้ว รับว่าจริง เราก็กล่าวกะเขาว่า

“ถ้าเช่นนั้น ท่านก็จักต้องเป็นผู้ทำปาณาติบาต เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ทำอทินนาทาน เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ประพฤติอพรหมจรรย์...
.เป็นผู้กล่าวมุสาวาท...ฯลฯ เป็นผู้มีมิจฉาทิฐิ เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุน่ะสิ”


“ภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อบุคคลมายึดเอากรรมที่ทำไว้ในปางก่อนเป็นสาระ
ฉันทะก็ดี
ความพยายามก็ดี ว่า “สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ” ก็ย่อมไม่มี

เมื่อไม่กำหนดถือเอาสิ่งที่ควรทำ และสิ่งไม่ที่ควรทำ โดยจริงจังมั่นคง ดังนี้ สมณพราหมณ์พวกนี้ ก็เท่ากับอยู่อย่างหลงสติ ไร้เครื่องรักษา จะมีสมณวาทะที่ชอบธรรมเฉพาะตนไม่ได้ นี้แล เป็นนิคหะอันชอบธรรมอย่างแรกของเราต่อสมณพราหมณ์ ผู้มีวาทะ มีทิฐิ อย่างนี้” * (องฺ.ติก.20/501/222)


เอาอีกรอบครับ
" สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ" ในสาระนี้ความเข้าใจผมนั้นคือ โพธิปักขิยธรรมครับ
คุณกรัธกายจะเข้าใจว่าอะไรผมไม่รู้(เจ้าตัวไม่เคยอธิบายอยู่แล้วว่าเข้าใจอะไร)

ชาวนิครนถ์ ที่เป็นมิจฉาทิฐิเพราะไม่ยอมรับเอา หลักการฝึกตน เพราะยึดถือเอากรรมว่าเดี๋ยวก็วกกลับมาสนองอยู่ดี คือพูดง่ายๆ รอให้กรรมกำหนดชีวิต

คำถามของพระพุทธเจ้า (ตามที่ผมเข้าใจ) เมื่อไม่มีธรรมเป็นเครื่องรักษา ก็อยู่อย่างหลงสติ

พุทธก็ต้องมีธรรมเป็นเครื่องรักษาจึงจะเป็นสัมมาทิฏฐิ

ความยากจน การถูกโกง อะไรต่างๆ เป็นความยากจน ****ของคนที่บริโภคกาม****

แล้วธรรมอะไรล่ะครับ ที่เป็นธรรมะข้อปฎิบัติ "การไม่ชื่อว่าบริโภคกาม"

"ของคนที่บริโภคกาม" เป็นสมุทัยเหตุของทุกข์(ความจน และอื่นๆ)

ส่วน ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค (อริยสัจ4) เป็น โพธิปักขิยธรรม (มีเหตุ มีผล)เป็นธรรมของผู้ที่ละเว้นการบริโภคกาม
พุทธศาสนา ย่อมมีเนื้อหาของเหตุและผล ไม่มีอะไรปรากฎขึ้นมาลอยๆ

คุณกรัธกาย ใจเย็นๆนะครับ

อย่าพึ่งโดดเข้ามาสรุป ว่าจับบัญญัติมาผสม มั่วและผิดเพี้ยนไปหมดอย่างนั้นอย่างนี้

อันนี้เอาไว้ให้ท่านอิ่นๆเข้ามาอ่านบ้าง หากทุกๆคนว่าผิดเพี้ยน จะได้ยอมรับความผิดพลาด ไม่อยากให้คุณกรัธกายรีบกระโดดเข้ามา


โพธิปักขิยธรรมอีกแล้ว ว่าไป เอาชัดๆเลยนะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 08:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:

ทีนี้ คนที่เป็นพุทธก็ต้องเอาแนวปฎิบัติ หรือโพธิปักขิยธรรมมาเป็นแนวทางชีวิต ไม่ต้องไปจมปรักว่าชีวิต (ทุกข์) ยากจน (ทุกข์) หรือ ไร้สิ่งที่หวัง หรือความไม่เท่าเทียมของชีวิตให้หลุดพ้นจากวงจรแห่ง "สมุทัย" แต่ ใช้ "มรรค" เป็นวงจรของชีวิตในปัจจุบัน อันนี้เรียกปรับความเห็นและความเชื่อ คุณกรัธกายจะลอกผมก็ได้ ไม่ว่ากัน เพราะเห็นชอบไปเอาข้อความคนนั้นคนนี้มาลงอยู่แล้ว


ความคิดคุณท่อนนั่น เข้ากับบทความนี้

นับว่าเป็นเรื่องแปลก และน่าใจหาย ที่คนสมัยนี้กลับไม่เข้าใจว่า พระไตรปิฎกคืออะไร ทำไมต้องรักษาพระไตรปิฎก ทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นมาตรฐาน หรือเป็นเกณฑ์วินิจฉัยว่า อะไรเป็นธรรมวินัย อะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า
หากปราศจากความเข้าใจพื้นฐานเช่นนี้เสียแล้ว บางคนก็อาจไปไกลถึงขนาดที่ทึกทักเอาผิดๆว่า คำสอนของพระพุทธเจ้า ใครจะว่าอย่างไรก็ได้


คุณมโนไปเรื่อยจับศัพท์นั่นมาผูกโยงกับศัพท์นี้เละเทะเป็นเต้าหู้ตกตึก :b1:


สนทนากับคุณกรัธกายต้องคุยกันยาว
ไม่ใช่อะไร มีคำถามจะถามคุณกรัธกายเยอะ เอาที่เห็นข้อความข้างบนก่อน
"นับว่าเป็นเรื่องแปลกและใจหาย คนสมัยนี้กลับไม่เข้าใจว่า พระไตรปิฎกคืออะไร ทำไมต้องรักษาทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นมาตรฐาน หรือเป็นเกณฑ์วินิจฉัยว่า อะไรเป็นธรรมวินัย อะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า
หากปราศจากความเข้าใจพื้นฐานเช่นนี้เสียแล้ว บางคนก็อาจไปไกลถึงขนาดที่ทึกทักเอาผิดๆว่า คำสอนของพระพุทธเจ้า ใครจะว่าอย่างไรก็ได้
"

ไม่ทราบว่า ใครเป็นคนพูดครับ? ใครเป็นคนรับรองคำพูดนี้?
เป็นสาวกในพุทธศาสนาเหมือนกัน ไม่ทราบว่า เอาคำๆนี้มาใช้เคยคิดไหมครับว่าพระพุทธเจ้าทราบแล้วจะรับรองคำพูดนี้ให้เป็นมาตรฐานใช้กับคนในศาสนาพุทธเหรอครับ? คิดสิคิด?



คุณดูลิงค์นั่นไปนะ ดูไปเรื่อยๆ ถ้าเห็น คคห. นั่นแล้ว ช่วยบอกกรัชกายด้วยมีของขวัญส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ :b32: ให้คุณ

viewtopic.php?f=1&t=54929

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 09:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
นักแต่งหนังสือ กับคุณกรัธกาย ดูอีกทีก็คล้ายๆกันนะครับ

เพ่งเล็งแต่คนอื่น "น่าเสียดง เสียดายชาวพุทธอย่างโน้นอย่างนี้"

แต่เรื่องของตัวเองนั้นไม่ค่อยจะรู้


หนังสือนั่นเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า มันจึงเท่ากับรู้เรื่องตัวเองด้วย คนอื่นด้วยนะ เพราะอะไร? เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนคน คิกๆๆ


ขอโทษนะครับ

ขี้ตู่นะครับ คำว่า"เสียดายชาวพุทธ อย่างนั้นอย่างนี้" พอแปลพระไตรปิฎกได้ท่อนหนึ่งจบแล้ว เอาอีกละ
ต้องสอดความคิดเห็นตนเองลงไป อย่างนี้เรียกส่งจิตออกนอก ยังไม่รู้ตัวอีก

จะบอกให้ทราบนะครับว่า พระไตรปิฎก สังคายนาในประเทศไทยช่วงหลังๆมาทุก100ปี ล่าสุดปี2535
คุณนักเขียนก็เหมือนกับ ไปเอาพระไตรปิฎกที่สังคายนาในประเทศไทยมาเขียนตีความหมาย สุดท้ายก็ไม่วายหมิ่นคนไทยพุทธ คุณกรัธกายนี่สุดยอดเลยครับ ถึงได้เกร่นไว้ตอนแรกว่าอยู่คนเดียวในโลก

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 10:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
นักแต่งหนังสือ กับคุณกรัธกาย ดูอีกทีก็คล้ายๆกันนะครับ

เพ่งเล็งแต่คนอื่น "น่าเสียดง เสียดายชาวพุทธอย่างโน้นอย่างนี้"

แต่เรื่องของตัวเองนั้นไม่ค่อยจะรู้


หนังสือนั่นเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า มันจึงเท่ากับรู้เรื่องตัวเองด้วย คนอื่นด้วยนะ เพราะอะไร? เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนคน คิกๆๆ


ขอโทษนะครับ

ขี้ตู่นะครับ คำว่า"เสียดายชาวพุทธ อย่างนั้นอย่างนี้" พอแปลพระไตรปิฎกได้ท่อนหนึ่งจบแล้ว เอาอีกละ
ต้องสอดความคิดเห็นตนเองลงไป อย่างนี้เรียกส่งจิตออกนอก ยังไม่รู้ตัวอีก

จะบอกให้ทราบนะครับว่า พระไตรปิฎก สังคายนาในประเทศไทยช่วงหลังๆมาทุก100ปี ล่าสุดปี2535
คุณนักเขียนก็เหมือนกับ ไปเอาพระไตรปิฎกที่สังคายนาในประเทศไทยมาเขียนตีความหมาย สุดท้ายก็ไม่วายหมิ่นคนไทยพุทธ คุณกรัธกายนี่สุดยอดเลยครับ ถึงได้เกร่นไว้ตอนแรกว่าอยู่คนเดียวในโลก


ไปอ่านให้จบ อิอิ มีมากเกิน ๕ บรรทัดนะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 10:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:


คุณกรัธกายต้องแยกแยะให้เป็นระหว่าง ข้อปฎิบัติในทางแห่งพุทธ(โพธิปักขิยธรรม) กับ ความเห็นของคน(ทิฏฐิ) สองอย่างนี้มีความเกี่ยวโยงกันแต่ไม่เหมือนกัน
คุณบอกแนวคิดเรื่องกรรมเป็นแนวคิดออกแนวนิครนถ์(ผมยังไม่รู้ด้วยซ้ำว่านิครนถ์ที่ว่าคือลัทธิอะไร
คนพุทธต้องเชื่อเรื่องกรรมครับ ถ้าไม่เชื่อ จัดเป็นมิจฉาทิฐิ คุณอยากจะพัฒนาตนให้เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ นั่นแหละ คุณถึงต้องใช้หลัก โพธิปักขิยธรรม มาเป็นแนวทางชีวิต



(ตัดให้ดูเฉพาะข้อที่ว่าเป็นลัทธินิครนถ์ และเพราะความไม่รู้ไม่เข้าใจนั่นแหละ จึงเป็นนิครนถ์โดยไม่รู้ตัว)

ลัทธิมิจฉาทิฏฐิ เกี่ยวกับสุขทุกข์ และความเป็นไปในชีวิตของมนุษย์อยู่ ๓ ลัทธิ
ได้แก่


๑. ปุพเพกตเหตุวาท การถือว่าสุขทุกข์ทั้งปวง เป็นเพราะกรรมเก่า (past-action) เรียกสั้นๆว่า ปุพเพกตวาท


(เมื่อนิครนถ์คิดยังงั้นแล้ว พระพุทธเจ้าจึง) ว่า

“ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสมณพราหมณ์ ๓ พวกนั้น เราเข้าไปหา (พวกที่ ๑) แล้ว

ถามว่า “ทราบว่า ท่านทั้งหลายมีวาทะ มีทิฐิอย่างนี้...จริงหรือ ?”

ถ้าสมณพราหมณ์เหล่านั้น ถูกเราถามอย่างนี้แล้ว รับว่าจริง เราก็กล่าวกะเขาว่า

“ถ้าเช่นนั้น ท่านก็จักต้องเป็นผู้ทำปาณาติบาต เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ทำอทินนาทาน เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุ
จะต้องเป็นผู้ประพฤติอพรหมจรรย์...
.เป็นผู้กล่าวมุสาวาท...ฯลฯ เป็นผู้มีมิจฉาทิฐิ เพราะกรรมที่ทำไว้ปางก่อนเป็นเหตุน่ะสิ”


“ภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อบุคคลมายึดเอากรรมที่ทำไว้ในปางก่อนเป็นสาระ
ฉันทะก็ดี
ความพยายามก็ดี ว่า “สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ” ก็ย่อมไม่มี

เมื่อไม่กำหนดถือเอาสิ่งที่ควรทำ และสิ่งไม่ที่ควรทำ โดยจริงจังมั่นคง ดังนี้ สมณพราหมณ์พวกนี้ ก็เท่ากับอยู่อย่างหลงสติ ไร้เครื่องรักษา จะมีสมณวาทะที่ชอบธรรมเฉพาะตนไม่ได้ นี้แล เป็นนิคหะอันชอบธรรมอย่างแรกของเราต่อสมณพราหมณ์ ผู้มีวาทะ มีทิฐิ อย่างนี้” * (องฺ.ติก.20/501/222)


เอาอีกรอบครับ
" สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ" ในสาระนี้ความเข้าใจผมนั้นคือ โพธิปักขิยธรรมครับ
คุณกรัธกายจะเข้าใจว่าอะไรผมไม่รู้(เจ้าตัวไม่เคยอธิบายอยู่แล้วว่าเข้าใจอะไร)

ชาวนิครนถ์ ที่เป็นมิจฉาทิฐิเพราะไม่ยอมรับเอา หลักการฝึกตน เพราะยึดถือเอากรรมว่าเดี๋ยวก็วกกลับมาสนองอยู่ดี คือพูดง่ายๆ รอให้กรรมกำหนดชีวิต

คำถามของพระพุทธเจ้า (ตามที่ผมเข้าใจ) เมื่อไม่มีธรรมเป็นเครื่องรักษา ก็อยู่อย่างหลงสติ

พุทธก็ต้องมีธรรมเป็นเครื่องรักษาจึงจะเป็นสัมมาทิฏฐิ

ความยากจน การถูกโกง อะไรต่างๆ เป็นความยากจน ****ของคนที่บริโภคกาม****

แล้วธรรมอะไรล่ะครับ ที่เป็นธรรมะข้อปฎิบัติ "การไม่ชื่อว่าบริโภคกาม"

"ของคนที่บริโภคกาม" เป็นสมุทัยเหตุของทุกข์(ความจน และอื่นๆ)

ส่วน ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค (อริยสัจ4) เป็น โพธิปักขิยธรรม (มีเหตุ มีผล)เป็นธรรมของผู้ที่ละเว้นการบริโภคกาม
พุทธศาสนา ย่อมมีเนื้อหาของเหตุและผล ไม่มีอะไรปรากฎขึ้นมาลอยๆ

คุณกรัธกาย ใจเย็นๆนะครับ

อย่าพึ่งโดดเข้ามาสรุป ว่าจับบัญญัติมาผสม มั่วและผิดเพี้ยนไปหมดอย่างนั้นอย่างนี้

อันนี้เอาไว้ให้ท่านอิ่นๆเข้ามาอ่านบ้าง หากทุกๆคนว่าผิดเพี้ยน จะได้ยอมรับความผิดพลาด ไม่อยากให้คุณกรัธกายรีบกระโดดเข้ามา


โพธิปักขิยธรรมอีกแล้ว ว่าไป เอาชัดๆเลยนะ


ว่าไงโพธิปักขิยธรรม ไหนว่าไปสิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 510 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 34  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 40 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร