วันเวลาปัจจุบัน 25 เม.ย. 2024, 05:48  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 29 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 19:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เจ้าสำนักบ้านธัมมะว่า

รูปภาพ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 19:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ทีนี้มาดูบุญแบบพระพุทธศาสนา


บุญ เครื่องชำระสันดาน, ความดี, กรรมดี, ความประพฤติชอบทางกาย วาจา และใจ, กุศลกรรม, ความสุข, กุศลธรรม ที่กล่าวมานั้น เป็นความหมายทั่วไปโดยสรุป

ต่อนี้พึงทราบคำอธิบายละเอียดขึ้น เริ่มแต่ความหมายตามรูปศัพท์ว่า "กรรมที่ชำระสันดานของผู้กระทำให้สะอาด" "สภาวะอันทำให้เกิดความน่าบูชา" "การกระทำอันทำให้เต็มอิ่มสมน้ำใจ" ความดี, กรรมที่ดีงามเป็นประโยชน์, ความประพฤติชอบทางกาย วาจา ใจ,

กุศล (มักหมายถึงโลกิยกุศลหรือความดีที่ยังกอปรด้วยอุปธิ คือ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ปรารถนากันในหมู่ชาวโลก เช่น โภคสมบัติ) บางทีหมายถึงผลของการประกอบกุศล หรือผลบุญนั่นเอง เช่น ในพุทธพจน์ (ที.ปา.11/33/62) ว่า "ภิกษุทั้งหลาย เพราะการสมาทานกุศลธรรมทั้งหลายเป็นเหตุ บุญนี้ ย่อมเจริญเพิ่มพูนอย่างนี้" และมีพุทธพจน์ (ขุ.อิติ.25/200/240) ตรัสไว้ด้วยว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย อย่าได้กลัวต่อบุญเลย คำว่า บุญนี้ เป็นชื่อของความสุข" (บุญในพุทธพจน์ทรงเน้นที่การเจริญเมตตาจิต)

พระพุทธเจ้าตรัสสอนให้ศึกษาบุญ “ปุญฺญเมว โส สิกฺเขยฺย" (ขุ.อิติ.25/200/241; 238/270) คือ ฝึกปฏิบัติหัดทำให้ชีวิตเจริญงอกงามขึ้นในความดีและสมบูรณ์ด้วยคุณสมบัติที่ดี

ในการทำบุญ ไม่พึงละเลยพื้นฐานที่ตรงตามสภาพความเป็นจริงของชีวิต ให้ชีวิตและสิ่งแวดล้อมเจริญงอกงามหนุนกันขึ้นไปสู่ความดีงามที่สมบูรณ์ เช่น พึงระลึกถึงพุทธพจน์ (สํ.ส.15/146/46) ที่ว่า

"ชนเหล่าใด ปลูกสวน ปลูกป่า สร้างสะพาน (รวมทั้งจัดเรือข้ามฟาก) จัดบริการน้ำดื่ม และบึงบ่อสระน้ำ ให้ที่พักอาศัย บุญของชนเหล่านั้น ย่อมเจริญงอกงาม ทั้งคืนทั้งวัน ตลอดทุกเวลา, ชนเหล่านั้น ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นผู้เดินทางสวรรค์"

คัมภีร์ทั้งหลายกล่าวถึงบุญกรรมที่ชาวบ้านควรร่วมกันทำไว้เป็นอ้นมาก เช่น (ชา.อ.1/299) การปรับปรุงซ่อมแซมถนนหนทาง สร้างสะพาน ขุดสระน้ำ สร้างศาลาที่พักและที่ประชุม ปลูกสวนปลูกป่า ให้ทาน รักษาศีล

พระพุทธเจ้าตรัสประมวลหลักการทำบุญที่พึงศึกษาไว้ เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ๓ (ขุ.อิติ.25/238/270) ซึ่งพระอรรถกถาจารย์ได้แจกแจงให้เห็นตัวอย่างในการขยายความออกไปเป็น บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ (เช่น สงฺคณี.อ. 208) ตรงข้ามกับ บาป

บาป ความชั่ว, ความร้าย, ความชั่วร้าย, กรรมชั่ว, กรรมลามก, อกุศลกรรมที่ส่งให้ถึงความเดือดร้อน, สภาพที่ทำให้ถึงคติอันชั่ว, สิ่งที่ทำจิตให้ตกสู่ที่ชั่ว คือ ทำให้เลวลง ให้เสื่อมลง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 20:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ทีนี้มาดูบุญแบบพระพุทธศาสนา


บุญ เครื่องชำระสันดาน, ความดี, กรรมดี, ความประพฤติชอบทางกาย วาจา และใจ, กุศลกรรม, ความสุข, กุศลธรรม ที่กล่าวมานั้น เป็นความหมายทั่วไปโดยสรุป

ต่อนี้พึงทราบคำอธิบายละเอียดขึ้น เริ่มแต่ความหมายตามรูปศัพท์ว่า "กรรมที่ชำระสันดานของผู้กระทำให้สะอาด" "สภาวะอันทำให้เกิดความน่าบูชา" "การกระทำอันทำให้เต็มอิ่มสมน้ำใจ" ความดี, กรรมที่ดีงามเป็นประโยชน์, ความประพฤติชอบทางกาย วาจา ใจ,

กุศล (มักหมายถึงโลกิยกุศลหรือความดีที่ยังกอปรด้วยอุปธิ คือ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ปรารถนากันในหมู่ชาวโลก เช่น โภคสมบัติ) บางทีหมายถึงผลของการประกอบกุศล หรือผลบุญนั่นเอง เช่น ในพุทธพจน์ (ที.ปา.11/33/62) ว่า "ภิกษุทั้งหลาย เพราะการสมาทานกุศลธรรมทั้งหลายเป็นเหตุ บุญนี้ ย่อมเจริญเพิ่มพูนอย่างนี้" และมีพุทธพจน์ (ขุ.อิติ.25/200/240) ตรัสไว้ด้วยว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย อย่าได้กลัวต่อบุญเลย คำว่า บุญนี้ เป็นชื่อของความสุข" (บุญในพุทธพจน์ทรงเน้นที่การเจริญเมตตาจิต)

พระพุทธเจ้าตรัสสอนให้ศึกษาบุญ “ปุญฺญเมว โส สิกฺเขยฺย" (ขุ.อิติ.25/200/241; 238/270) คือ ฝึกปฏิบัติหัดทำให้ชีวิตเจริญงอกงามขึ้นในความดีและสมบูรณ์ด้วยคุณสมบัติที่ดี

ในการทำบุญ ไม่พึงละเลยพื้นฐานที่ตรงตามสภาพความเป็นจริงของชีวิต ให้ชีวิตและสิ่งแวดล้อมเจริญงอกงามหนุนกันขึ้นไปสู่ความดีงามที่สมบูรณ์ เช่น พึงระลึกถึงพุทธพจน์ (สํ.ส.15/146/46) ที่ว่า

"ชนเหล่าใด ปลูกสวน ปลูกป่า สร้างสะพาน (รวมทั้งจัดเรือข้ามฟาก) จัดบริการน้ำดื่ม และบึงบ่อสระน้ำ ให้ที่พักอาศัย บุญของชนเหล่านั้น ย่อมเจริญงอกงาม ทั้งคืนทั้งวัน ตลอดทุกเวลา, ชนเหล่านั้น ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นผู้เดินทางสวรรค์"

คัมภีร์ทั้งหลายกล่าวถึงบุญกรรมที่ชาวบ้านควรร่วมกันทำไว้เป็นอ้นมาก เช่น (ชา.อ.1/299) การปรับปรุงซ่อมแซมถนนหนทาง สร้างสะพาน ขุดสระน้ำ สร้างศาลาที่พักและที่ประชุม ปลูกสวนปลูกป่า ให้ทาน รักษาศีล

พระพุทธเจ้าตรัสประมวลหลักการทำบุญที่พึงศึกษาไว้ เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ๓ (ขุ.อิติ.25/238/270) ซึ่งพระอรรถกถาจารย์ได้แจกแจงให้เห็นตัวอย่างในการขยายความออกไปเป็น บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ (เช่น สงฺคณี.อ. 208) ตรงข้ามกับ บาป

บาป ความชั่ว, ความร้าย, ความชั่วร้าย, กรรมชั่ว, กรรมลามก, อกุศลกรรมที่ส่งให้ถึงความเดือดร้อน, สภาพที่ทำให้ถึงคติอันชั่ว, สิ่งที่ทำจิตให้ตกสู่ที่ชั่ว คือ ทำให้เลวลง ให้เสื่อมลง

:b12:
รบกวนไปศึกษาโสภณเจตสิกให้เข้าใจว่าเกิดกับจิตดีงามตรงปัจจุบันขณะไหน
ให้เข้าใจก่อนนะคะคุณกรัชกายค่อยมาพูดเรื่องบุญกุศลน่ะค่ะ
เพราะถ้าไม่เข้าใจว่าจิตขณะไหนของตนเป็นอกุศลน่ะค่ะ
บุญคือสภาพจิตดีงามที่ปราศจากกิเลสเกิดไม่ได้น๊า
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 20:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ดูแล้วก็ดูให้โล่งไปเบย

กุศล 1. “สภาวะที่เกี่ยวตัดสลัดทิ้งสิ่งเลวร้ายอันน่ารังเกียจ” “ความรู้ที่ทำความชั่วร้ายให้เบาบาง" "ธรรมที่ตัดความชั่วอันเป็นดุจหญ้าคา" สภาวะหรือการกระทำที่ฉลาด กอปรด้วยปัญญา หรือเกิดจากปัญญา เกื้อกูล เอื้อต่อสุขภาพ ไม่เสียหาย ไร้โทษ ดีงาม เป็นบุญ มีผลเป็นสุข, ความดี (กุศลธรรม), กรรมดี (กุศลกรรม)

ตามปกติ กุศล กับ บุญ เป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่กุศลมีความหมายกว้างกว่า คือ กุศล มีทั้งโลกิยะ (กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร) และ โลกุตระ
ส่วนบุญโดยทั่วไปใช้กับโลกิยกุศล ถ้าจะหมายถึงระดับโลกุตระ มักต้องมีคำขยายกำกับไว้ด้วย เช่นว่า "โลกุตรบุญ"

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า บุญ มักใช้ในความหมายที่แคบกว่า หรือใช้ในขั้นต้นๆ หมายถึงความดีที่ยังประกอบด้วยอุปธิ (โอปธิก) คือยังเป็นสภาพปรุงแต่งที่ก่อผลในทางพอกพูน ให้เกิดสมบัติ อันได้แก่ความพรั่งพร้อม เช่น ร่างกายสวยงามสมบูรณ์ และมั่งมีทรัพย์สิน

แต่กุศลครอบคลุมหรือเลยต่อไปถึง นิรูปธิ (ไร้อุปธิ) และเน้นที่นิรูปธินั้น คือ มุ่งที่ภาวะไร้ปรุงแต่ง ความหลุดพ้นเป็นอิสระ โดยไปถึงนิพพาน,

พูดอีกอย่างง่ายๆ เช่นว่า บุญ มุ่งเอาความสะอาดหมดจดในแง่ที่สวยงามน่าชื่นชม
แต่กุศล มุ่งถึงความสะอาดหมดจดในแง่ที่เป็นความบริสุทธิ์ ไม่มีอะไรติดค้าง ปลอดโปร่ง โล่ง ว่าง เป็นอิสระ,

ขอให้ดูตัวอย่างที่ บุญ กับ กุศล มาด้วยกันในคาถาต่อไปนี้ (ขุ.อิติ.25/262/290)

กาเยน กุสลํ กตฺวา วาจาย กุสลํ พหุํ

มนสา กุสลํ กตฺวา อปฺปมาณํ นิรูปธึ

ตโต โอปธิกํ ปุญฺญํ กตฺวา ทาเนน ตํ พหุํ

อญฺเญปิ มจฺเจ สทฺธมฺเม พฺรหฺมจริเย นิเวสย

(ท่านจงทำให้มากทั้งด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ซึ่งกุศล อันประมาณมิได้ (อัปปมาณ แปลว่า มากมาย ก็ได้ เป็นโลกุตระ ก็ได้) อันไร้ อุปธิ (นิรูปธิ)
แต่นั้น ท่านจงทำบุญ อันระคนอุปธิ ให้มาก ด้วยทาน แล้วจง (บำเพ็ญธรรมทาน) ชักจูงแม้คนอื่นๆ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรม ในพรหมจริยะ)

คาถานี้ แม้จะเป็นคำแนะนำแก่เทวดา ก็ใช้ได้ทั่วไป คือเป็นคำแนะนำสำหรับผู้ที่จะอยู่เป็นคฤหัสถ์ว่า ในด้านแรกคือด้านหลัก ให้ทำกุศล ที่เป็นนิรูปธิ ซึ่งเป็นการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อให้ได้สาระของชีวิต โดยพัฒนาตนให้เป็นอริยชน โดยเฉพาะเป็นโสดาบัน
จากนั้น อีกด้านหนึ่ง ในฐานะเป็นอริยชน ก็ทำความดี หรือ กรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีผลในทางอุปธิ เช่น ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข ซึ่งเป็นไปตามธรรมดาของมัน และที่เป็นเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถ์ได้ ไม่เสียหาย เพราะเป็นผู้มีคุณความดีที่เป็นหลักประกันให้เกิดแต่ผลดีทั้งแก่ตนเองและแก่ สังคมแล้ว,

ตรงข้ามกับ อกุศล เทียบ บุญ 2.บางแห่ง (เช่น ขุ.เถร.26/170/268) กุศล หมายถึง ความเกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ, ความหวังดี, ความมีเมตตา

อกุศล “ไม่ฉลาด” สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์หรือตรงข้ามกับกุศล, บาป, ชั่ว, ความชั่ว (อกุศลธรรม), กรรมชั่ว (อกุศลกรรม)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 20:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทีนี้มาดูบุญแบบพระพุทธศาสนา


บุญ เครื่องชำระสันดาน, ความดี, กรรมดี, ความประพฤติชอบทางกาย วาจา และใจ, กุศลกรรม, ความสุข, กุศลธรรม ที่กล่าวมานั้น เป็นความหมายทั่วไปโดยสรุป

ต่อนี้พึงทราบคำอธิบายละเอียดขึ้น เริ่มแต่ความหมายตามรูปศัพท์ว่า "กรรมที่ชำระสันดานของผู้กระทำให้สะอาด" "สภาวะอันทำให้เกิดความน่าบูชา" "การกระทำอันทำให้เต็มอิ่มสมน้ำใจ" ความดี, กรรมที่ดีงามเป็นประโยชน์, ความประพฤติชอบทางกาย วาจา ใจ,

กุศล (มักหมายถึงโลกิยกุศลหรือความดีที่ยังกอปรด้วยอุปธิ คือ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ปรารถนากันในหมู่ชาวโลก เช่น โภคสมบัติ) บางทีหมายถึงผลของการประกอบกุศล หรือผลบุญนั่นเอง เช่น ในพุทธพจน์ (ที.ปา.11/33/62) ว่า "ภิกษุทั้งหลาย เพราะการสมาทานกุศลธรรมทั้งหลายเป็นเหตุ บุญนี้ ย่อมเจริญเพิ่มพูนอย่างนี้" และมีพุทธพจน์ (ขุ.อิติ.25/200/240) ตรัสไว้ด้วยว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย อย่าได้กลัวต่อบุญเลย คำว่า บุญนี้ เป็นชื่อของความสุข" (บุญในพุทธพจน์ทรงเน้นที่การเจริญเมตตาจิต)

พระพุทธเจ้าตรัสสอนให้ศึกษาบุญ “ปุญฺญเมว โส สิกฺเขยฺย" (ขุ.อิติ.25/200/241; 238/270) คือ ฝึกปฏิบัติหัดทำให้ชีวิตเจริญงอกงามขึ้นในความดีและสมบูรณ์ด้วยคุณสมบัติที่ดี

ในการทำบุญ ไม่พึงละเลยพื้นฐานที่ตรงตามสภาพความเป็นจริงของชีวิต ให้ชีวิตและสิ่งแวดล้อมเจริญงอกงามหนุนกันขึ้นไปสู่ความดีงามที่สมบูรณ์ เช่น พึงระลึกถึงพุทธพจน์ (สํ.ส.15/146/46) ที่ว่า

"ชนเหล่าใด ปลูกสวน ปลูกป่า สร้างสะพาน (รวมทั้งจัดเรือข้ามฟาก) จัดบริการน้ำดื่ม และบึงบ่อสระน้ำ ให้ที่พักอาศัย บุญของชนเหล่านั้น ย่อมเจริญงอกงาม ทั้งคืนทั้งวัน ตลอดทุกเวลา, ชนเหล่านั้น ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นผู้เดินทางสวรรค์"

คัมภีร์ทั้งหลายกล่าวถึงบุญกรรมที่ชาวบ้านควรร่วมกันทำไว้เป็นอ้นมาก เช่น (ชา.อ.1/299) การปรับปรุงซ่อมแซมถนนหนทาง สร้างสะพาน ขุดสระน้ำ สร้างศาลาที่พักและที่ประชุม ปลูกสวนปลูกป่า ให้ทาน รักษาศีล

พระพุทธเจ้าตรัสประมวลหลักการทำบุญที่พึงศึกษาไว้ เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ๓ (ขุ.อิติ.25/238/270) ซึ่งพระอรรถกถาจารย์ได้แจกแจงให้เห็นตัวอย่างในการขยายความออกไปเป็น บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ (เช่น สงฺคณี.อ. 208) ตรงข้ามกับ บาป

บาป ความชั่ว, ความร้าย, ความชั่วร้าย, กรรมชั่ว, กรรมลามก, อกุศลกรรมที่ส่งให้ถึงความเดือดร้อน, สภาพที่ทำให้ถึงคติอันชั่ว, สิ่งที่ทำจิตให้ตกสู่ที่ชั่ว คือ ทำให้เลวลง ให้เสื่อมลง

:b12:
รบกวนไปศึกษาโสภณเจตสิกให้เข้าใจว่าเกิดกับจิตดีงามตรงปัจจุบันขณะไหน
ให้เข้าใจก่อนนะคะคุณกรัชกายค่อยมาพูดเรื่องบุญกุศลน่ะค่ะ
เพราะถ้าไม่เข้าใจว่าจิตขณะไหนของตนเป็นอกุศลน่ะค่ะ
บุญคือสภาพจิตดีงามที่ปราศจากกิเลสเกิดไม่ได้น๊า
:b32: :b32:



ชีวิตจิตใจมันไม่ได้แข็งโด่เด่อย่างนั้นหรอกคุณโรส ขณะที่เขาคิดทำสิ่งดีงาม เช่น ให้ทาน รักษาศีล ความคิดมันเปลี่ยนไปแล้ว คิกๆๆ นี่แหละคนเรียนแล้วติดตำรา เรียนแบบทื่อๆ เรียนเหมือนเรียนแบบคนตายแล้ว

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 20:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เจ้าสำนักบ้านธัมมะว่า

รูปภาพ


เรียนแบบเจ้าสำนักบ้านธัมมะ เรียนแล้วหลงผิดมิจฉาทิฏฐิกินกะบาน :b12:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 20:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ดูแล้วก็ดูให้โล่งไปเบย

กุศล 1. “สภาวะที่เกี่ยวตัดสลัดทิ้งสิ่งเลวร้ายอันน่ารังเกียจ” “ความรู้ที่ทำความชั่วร้ายให้เบาบาง" "ธรรมที่ตัดความชั่วอันเป็นดุจหญ้าคา" สภาวะหรือการกระทำที่ฉลาด กอปรด้วยปัญญา หรือเกิดจากปัญญา เกื้อกูล เอื้อต่อสุขภาพ ไม่เสียหาย ไร้โทษ ดีงาม เป็นบุญ มีผลเป็นสุข, ความดี (กุศลธรรม), กรรมดี (กุศลกรรม)

ตามปกติ กุศล กับ บุญ เป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่กุศลมีความหมายกว้างกว่า คือ กุศล มีทั้งโลกิยะ (กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร) และ โลกุตระ
ส่วนบุญโดยทั่วไปใช้กับโลกิยกุศล ถ้าจะหมายถึงระดับโลกุตระ มักต้องมีคำขยายกำกับไว้ด้วย เช่นว่า "โลกุตรบุญ"

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า บุญ มักใช้ในความหมายที่แคบกว่า หรือใช้ในขั้นต้นๆ หมายถึงความดีที่ยังประกอบด้วยอุปธิ (โอปธิก) คือยังเป็นสภาพปรุงแต่งที่ก่อผลในทางพอกพูน ให้เกิดสมบัติ อันได้แก่ความพรั่งพร้อม เช่น ร่างกายสวยงามสมบูรณ์ และมั่งมีทรัพย์สิน

แต่กุศลครอบคลุมหรือเลยต่อไปถึง นิรูปธิ (ไร้อุปธิ) และเน้นที่นิรูปธินั้น คือ มุ่งที่ภาวะไร้ปรุงแต่ง ความหลุดพ้นเป็นอิสระ โดยไปถึงนิพพาน,

พูดอีกอย่างง่ายๆ เช่นว่า บุญ มุ่งเอาความสะอาดหมดจดในแง่ที่สวยงามน่าชื่นชม
แต่กุศล มุ่งถึงความสะอาดหมดจดในแง่ที่เป็นความบริสุทธิ์ ไม่มีอะไรติดค้าง ปลอดโปร่ง โล่ง ว่าง เป็นอิสระ,

ขอให้ดูตัวอย่างที่ บุญ กับ กุศล มาด้วยกันในคาถาต่อไปนี้ (ขุ.อิติ.25/262/290)

กาเยน กุสลํ กตฺวา วาจาย กุสลํ พหุํ

มนสา กุสลํ กตฺวา อปฺปมาณํ นิรูปธึ

ตโต โอปธิกํ ปุญฺญํ กตฺวา ทาเนน ตํ พหุํ

อญฺเญปิ มจฺเจ สทฺธมฺเม พฺรหฺมจริเย นิเวสย

(ท่านจงทำให้มากทั้งด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ซึ่งกุศล อันประมาณมิได้ (อัปปมาณ แปลว่า มากมาย ก็ได้ เป็นโลกุตระ ก็ได้) อันไร้ อุปธิ (นิรูปธิ)
แต่นั้น ท่านจงทำบุญ อันระคนอุปธิ ให้มาก ด้วยทาน แล้วจง (บำเพ็ญธรรมทาน) ชักจูงแม้คนอื่นๆ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรม ในพรหมจริยะ)

คาถานี้ แม้จะเป็นคำแนะนำแก่เทวดา ก็ใช้ได้ทั่วไป คือเป็นคำแนะนำสำหรับผู้ที่จะอยู่เป็นคฤหัสถ์ว่า ในด้านแรกคือด้านหลัก ให้ทำกุศล ที่เป็นนิรูปธิ ซึ่งเป็นการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อให้ได้สาระของชีวิต โดยพัฒนาตนให้เป็นอริยชน โดยเฉพาะเป็นโสดาบัน
จากนั้น อีกด้านหนึ่ง ในฐานะเป็นอริยชน ก็ทำความดี หรือ กรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีผลในทางอุปธิ เช่น ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข ซึ่งเป็นไปตามธรรมดาของมัน และที่เป็นเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถ์ได้ ไม่เสียหาย เพราะเป็นผู้มีคุณความดีที่เป็นหลักประกันให้เกิดแต่ผลดีทั้งแก่ตนเองและแก่ สังคมแล้ว,

ตรงข้ามกับ อกุศล เทียบ บุญ 2.บางแห่ง (เช่น ขุ.เถร.26/170/268) กุศล หมายถึง ความเกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ, ความหวังดี, ความมีเมตตา

อกุศล “ไม่ฉลาด” สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์หรือตรงข้ามกับกุศล, บาป, ชั่ว, ความชั่ว (อกุศลธรรม), กรรมชั่ว (อกุศลกรรม)

:b32:
ฉลาดเกินไปม๊างก๊อปมาแปะ :b32:
โชวแต่เงาสภาพธรรมให้คนอื่นดูน่ะ
ปัญญาเจตสิกของตนอยู่ตรงไหนไม่รู้
บอกให้เริ่มสะสมการฟังพระพุทธพจน์ให้ฟังก่อนไง
https://youtu.be/FtCwGHqFnww
:b13:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 20:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูแล้วก็ดูให้โล่งไปเบย

กุศล 1. “สภาวะที่เกี่ยวตัดสลัดทิ้งสิ่งเลวร้ายอันน่ารังเกียจ” “ความรู้ที่ทำความชั่วร้ายให้เบาบาง" "ธรรมที่ตัดความชั่วอันเป็นดุจหญ้าคา" สภาวะหรือการกระทำที่ฉลาด กอปรด้วยปัญญา หรือเกิดจากปัญญา เกื้อกูล เอื้อต่อสุขภาพ ไม่เสียหาย ไร้โทษ ดีงาม เป็นบุญ มีผลเป็นสุข, ความดี (กุศลธรรม), กรรมดี (กุศลกรรม)

ตามปกติ กุศล กับ บุญ เป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่กุศลมีความหมายกว้างกว่า คือ กุศล มีทั้งโลกิยะ (กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร) และ โลกุตระ
ส่วนบุญโดยทั่วไปใช้กับโลกิยกุศล ถ้าจะหมายถึงระดับโลกุตระ มักต้องมีคำขยายกำกับไว้ด้วย เช่นว่า "โลกุตรบุญ"

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า บุญ มักใช้ในความหมายที่แคบกว่า หรือใช้ในขั้นต้นๆ หมายถึงความดีที่ยังประกอบด้วยอุปธิ (โอปธิก) คือยังเป็นสภาพปรุงแต่งที่ก่อผลในทางพอกพูน ให้เกิดสมบัติ อันได้แก่ความพรั่งพร้อม เช่น ร่างกายสวยงามสมบูรณ์ และมั่งมีทรัพย์สิน

แต่กุศลครอบคลุมหรือเลยต่อไปถึง นิรูปธิ (ไร้อุปธิ) และเน้นที่นิรูปธินั้น คือ มุ่งที่ภาวะไร้ปรุงแต่ง ความหลุดพ้นเป็นอิสระ โดยไปถึงนิพพาน,

พูดอีกอย่างง่ายๆ เช่นว่า บุญ มุ่งเอาความสะอาดหมดจดในแง่ที่สวยงามน่าชื่นชม
แต่กุศล มุ่งถึงความสะอาดหมดจดในแง่ที่เป็นความบริสุทธิ์ ไม่มีอะไรติดค้าง ปลอดโปร่ง โล่ง ว่าง เป็นอิสระ,

ขอให้ดูตัวอย่างที่ บุญ กับ กุศล มาด้วยกันในคาถาต่อไปนี้ (ขุ.อิติ.25/262/290)

กาเยน กุสลํ กตฺวา วาจาย กุสลํ พหุํ

มนสา กุสลํ กตฺวา อปฺปมาณํ นิรูปธึ

ตโต โอปธิกํ ปุญฺญํ กตฺวา ทาเนน ตํ พหุํ

อญฺเญปิ มจฺเจ สทฺธมฺเม พฺรหฺมจริเย นิเวสย

(ท่านจงทำให้มากทั้งด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ซึ่งกุศล อันประมาณมิได้ (อัปปมาณ แปลว่า มากมาย ก็ได้ เป็นโลกุตระ ก็ได้) อันไร้ อุปธิ (นิรูปธิ)
แต่นั้น ท่านจงทำบุญ อันระคนอุปธิ ให้มาก ด้วยทาน แล้วจง (บำเพ็ญธรรมทาน) ชักจูงแม้คนอื่นๆ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรม ในพรหมจริยะ)

คาถานี้ แม้จะเป็นคำแนะนำแก่เทวดา ก็ใช้ได้ทั่วไป คือเป็นคำแนะนำสำหรับผู้ที่จะอยู่เป็นคฤหัสถ์ว่า ในด้านแรกคือด้านหลัก ให้ทำกุศล ที่เป็นนิรูปธิ ซึ่งเป็นการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อให้ได้สาระของชีวิต โดยพัฒนาตนให้เป็นอริยชน โดยเฉพาะเป็นโสดาบัน
จากนั้น อีกด้านหนึ่ง ในฐานะเป็นอริยชน ก็ทำความดี หรือ กรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีผลในทางอุปธิ เช่น ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข ซึ่งเป็นไปตามธรรมดาของมัน และที่เป็นเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถ์ได้ ไม่เสียหาย เพราะเป็นผู้มีคุณความดีที่เป็นหลักประกันให้เกิดแต่ผลดีทั้งแก่ตนเองและแก่ สังคมแล้ว,

ตรงข้ามกับ อกุศล เทียบ บุญ 2.บางแห่ง (เช่น ขุ.เถร.26/170/268) กุศล หมายถึง ความเกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ, ความหวังดี, ความมีเมตตา

อกุศล “ไม่ฉลาด” สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์หรือตรงข้ามกับกุศล, บาป, ชั่ว, ความชั่ว (อกุศลธรรม), กรรมชั่ว (อกุศลกรรม)

:b32:
ฉลาดเกินไปม๊างก๊อปมาแปะ :b32:
โชวแต่เงาสภาพธรรมให้คนอื่นดูน่ะ
ปัญญาเจตสิกของตนอยู่ตรงไหนไม่รู้
บอกให้เริ่มสะสมการฟังพระพุทธพจน์ให้ฟังก่อนไง
https://youtu.be/FtCwGHqFnww
:b13:
:b32: :b32:



แปะให้ศึกษาให้ชัด ไม่ใช่พูดมั่วๆ เทห์ๆ อุเทน พรหมมินทร์ ป่าเหนือเมื่อหน้าดอกไม้บาน

https://www.youtube.com/watch?v=9WWlCvHCcoc

:b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 20:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูแล้วก็ดูให้โล่งไปเบย

กุศล 1. “สภาวะที่เกี่ยวตัดสลัดทิ้งสิ่งเลวร้ายอันน่ารังเกียจ” “ความรู้ที่ทำความชั่วร้ายให้เบาบาง" "ธรรมที่ตัดความชั่วอันเป็นดุจหญ้าคา" สภาวะหรือการกระทำที่ฉลาด กอปรด้วยปัญญา หรือเกิดจากปัญญา เกื้อกูล เอื้อต่อสุขภาพ ไม่เสียหาย ไร้โทษ ดีงาม เป็นบุญ มีผลเป็นสุข, ความดี (กุศลธรรม), กรรมดี (กุศลกรรม)

ตามปกติ กุศล กับ บุญ เป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่กุศลมีความหมายกว้างกว่า คือ กุศล มีทั้งโลกิยะ (กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร) และ โลกุตระ
ส่วนบุญโดยทั่วไปใช้กับโลกิยกุศล ถ้าจะหมายถึงระดับโลกุตระ มักต้องมีคำขยายกำกับไว้ด้วย เช่นว่า "โลกุตรบุญ"

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า บุญ มักใช้ในความหมายที่แคบกว่า หรือใช้ในขั้นต้นๆ หมายถึงความดีที่ยังประกอบด้วยอุปธิ (โอปธิก) คือยังเป็นสภาพปรุงแต่งที่ก่อผลในทางพอกพูน ให้เกิดสมบัติ อันได้แก่ความพรั่งพร้อม เช่น ร่างกายสวยงามสมบูรณ์ และมั่งมีทรัพย์สิน

แต่กุศลครอบคลุมหรือเลยต่อไปถึง นิรูปธิ (ไร้อุปธิ) และเน้นที่นิรูปธินั้น คือ มุ่งที่ภาวะไร้ปรุงแต่ง ความหลุดพ้นเป็นอิสระ โดยไปถึงนิพพาน,

พูดอีกอย่างง่ายๆ เช่นว่า บุญ มุ่งเอาความสะอาดหมดจดในแง่ที่สวยงามน่าชื่นชม
แต่กุศล มุ่งถึงความสะอาดหมดจดในแง่ที่เป็นความบริสุทธิ์ ไม่มีอะไรติดค้าง ปลอดโปร่ง โล่ง ว่าง เป็นอิสระ,

ขอให้ดูตัวอย่างที่ บุญ กับ กุศล มาด้วยกันในคาถาต่อไปนี้ (ขุ.อิติ.25/262/290)

กาเยน กุสลํ กตฺวา วาจาย กุสลํ พหุํ

มนสา กุสลํ กตฺวา อปฺปมาณํ นิรูปธึ

ตโต โอปธิกํ ปุญฺญํ กตฺวา ทาเนน ตํ พหุํ

อญฺเญปิ มจฺเจ สทฺธมฺเม พฺรหฺมจริเย นิเวสย

(ท่านจงทำให้มากทั้งด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ซึ่งกุศล อันประมาณมิได้ (อัปปมาณ แปลว่า มากมาย ก็ได้ เป็นโลกุตระ ก็ได้) อันไร้ อุปธิ (นิรูปธิ)
แต่นั้น ท่านจงทำบุญ อันระคนอุปธิ ให้มาก ด้วยทาน แล้วจง (บำเพ็ญธรรมทาน) ชักจูงแม้คนอื่นๆ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรม ในพรหมจริยะ)

คาถานี้ แม้จะเป็นคำแนะนำแก่เทวดา ก็ใช้ได้ทั่วไป คือเป็นคำแนะนำสำหรับผู้ที่จะอยู่เป็นคฤหัสถ์ว่า ในด้านแรกคือด้านหลัก ให้ทำกุศล ที่เป็นนิรูปธิ ซึ่งเป็นการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อให้ได้สาระของชีวิต โดยพัฒนาตนให้เป็นอริยชน โดยเฉพาะเป็นโสดาบัน
จากนั้น อีกด้านหนึ่ง ในฐานะเป็นอริยชน ก็ทำความดี หรือ กรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีผลในทางอุปธิ เช่น ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข ซึ่งเป็นไปตามธรรมดาของมัน และที่เป็นเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถ์ได้ ไม่เสียหาย เพราะเป็นผู้มีคุณความดีที่เป็นหลักประกันให้เกิดแต่ผลดีทั้งแก่ตนเองและแก่ สังคมแล้ว,

ตรงข้ามกับ อกุศล เทียบ บุญ 2.บางแห่ง (เช่น ขุ.เถร.26/170/268) กุศล หมายถึง ความเกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ, ความหวังดี, ความมีเมตตา

อกุศล “ไม่ฉลาด” สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์หรือตรงข้ามกับกุศล, บาป, ชั่ว, ความชั่ว (อกุศลธรรม), กรรมชั่ว (อกุศลกรรม)

:b32:
ฉลาดเกินไปม๊างก๊อปมาแปะ :b32:
โชวแต่เงาสภาพธรรมให้คนอื่นดูน่ะ
ปัญญาเจตสิกของตนอยู่ตรงไหนไม่รู้
บอกให้เริ่มสะสมการฟังพระพุทธพจน์ให้ฟังก่อนไง
https://youtu.be/FtCwGHqFnww
:b13:
:b32: :b32:



แปะให้ศึกษาให้ชัด ไม่ใช่พูดมั่วๆ เทห์ๆ อุเทน พรหมมินทร์ ป่าเหนือเมื่อหน้าดอกไม้บาน

https://www.youtube.com/watch?v=9WWlCvHCcoc

:b32:

สติเจตสิก+ปัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทีละ1ขณะจิต
การทำฌานคือการทำจิตรู้ตามสมาธิเจตสิกที่ไม่ประกอบปัญญา
ขณะจิตที่สะสมสติเจตสิกเกิดได้โดยไม่มีปัญญาเจตสิกเกิดร่วมได้ค่ะ
แต่ขณะสะสมปัญญาเจตสิกต้องไม่ขาดสติเจตสิกเลยและต้องเป็นขณิกสมาธิ
คือสัมมามรรคสะสมตามขณะฟังที่ลืมตาดูน๊าสะสมได้เป็นขณิกะพร้อมสติ/สมาธิ/ปัญญา/หิริ/โอตัปปะ
สัมมามรรคเกิดขณะกำลังฟังเข้าใจและขณะเผลอลืมฟังเป็นอกุศลเจตสิกพิสูจน์ได้จากการฟังเท่านั้น
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 20:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูแล้วก็ดูให้โล่งไปเบย

กุศล 1. “สภาวะที่เกี่ยวตัดสลัดทิ้งสิ่งเลวร้ายอันน่ารังเกียจ” “ความรู้ที่ทำความชั่วร้ายให้เบาบาง" "ธรรมที่ตัดความชั่วอันเป็นดุจหญ้าคา" สภาวะหรือการกระทำที่ฉลาด กอปรด้วยปัญญา หรือเกิดจากปัญญา เกื้อกูล เอื้อต่อสุขภาพ ไม่เสียหาย ไร้โทษ ดีงาม เป็นบุญ มีผลเป็นสุข, ความดี (กุศลธรรม), กรรมดี (กุศลกรรม)

ตามปกติ กุศล กับ บุญ เป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่กุศลมีความหมายกว้างกว่า คือ กุศล มีทั้งโลกิยะ (กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร) และ โลกุตระ
ส่วนบุญโดยทั่วไปใช้กับโลกิยกุศล ถ้าจะหมายถึงระดับโลกุตระ มักต้องมีคำขยายกำกับไว้ด้วย เช่นว่า "โลกุตรบุญ"

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า บุญ มักใช้ในความหมายที่แคบกว่า หรือใช้ในขั้นต้นๆ หมายถึงความดีที่ยังประกอบด้วยอุปธิ (โอปธิก) คือยังเป็นสภาพปรุงแต่งที่ก่อผลในทางพอกพูน ให้เกิดสมบัติ อันได้แก่ความพรั่งพร้อม เช่น ร่างกายสวยงามสมบูรณ์ และมั่งมีทรัพย์สิน

แต่กุศลครอบคลุมหรือเลยต่อไปถึง นิรูปธิ (ไร้อุปธิ) และเน้นที่นิรูปธินั้น คือ มุ่งที่ภาวะไร้ปรุงแต่ง ความหลุดพ้นเป็นอิสระ โดยไปถึงนิพพาน,

พูดอีกอย่างง่ายๆ เช่นว่า บุญ มุ่งเอาความสะอาดหมดจดในแง่ที่สวยงามน่าชื่นชม
แต่กุศล มุ่งถึงความสะอาดหมดจดในแง่ที่เป็นความบริสุทธิ์ ไม่มีอะไรติดค้าง ปลอดโปร่ง โล่ง ว่าง เป็นอิสระ,

ขอให้ดูตัวอย่างที่ บุญ กับ กุศล มาด้วยกันในคาถาต่อไปนี้ (ขุ.อิติ.25/262/290)

กาเยน กุสลํ กตฺวา วาจาย กุสลํ พหุํ

มนสา กุสลํ กตฺวา อปฺปมาณํ นิรูปธึ

ตโต โอปธิกํ ปุญฺญํ กตฺวา ทาเนน ตํ พหุํ

อญฺเญปิ มจฺเจ สทฺธมฺเม พฺรหฺมจริเย นิเวสย

(ท่านจงทำให้มากทั้งด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ซึ่งกุศล อันประมาณมิได้ (อัปปมาณ แปลว่า มากมาย ก็ได้ เป็นโลกุตระ ก็ได้) อันไร้ อุปธิ (นิรูปธิ)
แต่นั้น ท่านจงทำบุญ อันระคนอุปธิ ให้มาก ด้วยทาน แล้วจง (บำเพ็ญธรรมทาน) ชักจูงแม้คนอื่นๆ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรม ในพรหมจริยะ)

คาถานี้ แม้จะเป็นคำแนะนำแก่เทวดา ก็ใช้ได้ทั่วไป คือเป็นคำแนะนำสำหรับผู้ที่จะอยู่เป็นคฤหัสถ์ว่า ในด้านแรกคือด้านหลัก ให้ทำกุศล ที่เป็นนิรูปธิ ซึ่งเป็นการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อให้ได้สาระของชีวิต โดยพัฒนาตนให้เป็นอริยชน โดยเฉพาะเป็นโสดาบัน
จากนั้น อีกด้านหนึ่ง ในฐานะเป็นอริยชน ก็ทำความดี หรือ กรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีผลในทางอุปธิ เช่น ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข ซึ่งเป็นไปตามธรรมดาของมัน และที่เป็นเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถ์ได้ ไม่เสียหาย เพราะเป็นผู้มีคุณความดีที่เป็นหลักประกันให้เกิดแต่ผลดีทั้งแก่ตนเองและแก่ สังคมแล้ว,

ตรงข้ามกับ อกุศล เทียบ บุญ 2.บางแห่ง (เช่น ขุ.เถร.26/170/268) กุศล หมายถึง ความเกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ, ความหวังดี, ความมีเมตตา

อกุศล “ไม่ฉลาด” สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์หรือตรงข้ามกับกุศล, บาป, ชั่ว, ความชั่ว (อกุศลธรรม), กรรมชั่ว (อกุศลกรรม)

:b32:
ฉลาดเกินไปม๊างก๊อปมาแปะ :b32:
โชวแต่เงาสภาพธรรมให้คนอื่นดูน่ะ
ปัญญาเจตสิกของตนอยู่ตรงไหนไม่รู้
บอกให้เริ่มสะสมการฟังพระพุทธพจน์ให้ฟังก่อนไง
https://youtu.be/FtCwGHqFnww
:b13:
:b32: :b32:



แปะให้ศึกษาให้ชัด ไม่ใช่พูดมั่วๆ เทห์ๆ อุเทน พรหมมินทร์ ป่าเหนือเมื่อหน้าดอกไม้บาน

https://www.youtube.com/watch?v=9WWlCvHCcoc

:b32:

สติเจตสิก+ปัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทีละ1ขณะจิต
การทำฌานคือการทำจิตรู้ตามสมาธิเจตสิกที่ไม่ประกอบปัญญา
ขณะจิตที่สะสมสติเจตสิกเกิดได้โดยไม่มีปัญญาเจตสิกเกิดร่วมได้ค่ะ
แต่ขณะสะสมปัญญาเจตสิกต้องไม่ขาดสติเจตสิกเลยและต้องเป็นขณิกสมาธิ
คือสัมมามรรคสะสมตามขณะฟังที่ลืมตาดูน๊าสะสมได้เป็นขณิกะพร้อมสติ/สมาธิ/ปัญญา/หิริ/โอตัปปะ
สัมมามรรคเกิดขณะกำลังฟังเข้าใจและขณะเผลอลืมฟังเป็นอกุศลเจตสิกพิสูจน์ได้จากการฟังเท่านั้น
:b12:
:b4: :b4:



มั่วอีกแล้ว

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 ส.ค. 2018, 07:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูแล้วก็ดูให้โล่งไปเบย

กุศล 1. “สภาวะที่เกี่ยวตัดสลัดทิ้งสิ่งเลวร้ายอันน่ารังเกียจ” “ความรู้ที่ทำความชั่วร้ายให้เบาบาง" "ธรรมที่ตัดความชั่วอันเป็นดุจหญ้าคา" สภาวะหรือการกระทำที่ฉลาด กอปรด้วยปัญญา หรือเกิดจากปัญญา เกื้อกูล เอื้อต่อสุขภาพ ไม่เสียหาย ไร้โทษ ดีงาม เป็นบุญ มีผลเป็นสุข, ความดี (กุศลธรรม), กรรมดี (กุศลกรรม)

ตามปกติ กุศล กับ บุญ เป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่กุศลมีความหมายกว้างกว่า คือ กุศล มีทั้งโลกิยะ (กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร) และ โลกุตระ
ส่วนบุญโดยทั่วไปใช้กับโลกิยกุศล ถ้าจะหมายถึงระดับโลกุตระ มักต้องมีคำขยายกำกับไว้ด้วย เช่นว่า "โลกุตรบุญ"

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า บุญ มักใช้ในความหมายที่แคบกว่า หรือใช้ในขั้นต้นๆ หมายถึงความดีที่ยังประกอบด้วยอุปธิ (โอปธิก) คือยังเป็นสภาพปรุงแต่งที่ก่อผลในทางพอกพูน ให้เกิดสมบัติ อันได้แก่ความพรั่งพร้อม เช่น ร่างกายสวยงามสมบูรณ์ และมั่งมีทรัพย์สิน

แต่กุศลครอบคลุมหรือเลยต่อไปถึง นิรูปธิ (ไร้อุปธิ) และเน้นที่นิรูปธินั้น คือ มุ่งที่ภาวะไร้ปรุงแต่ง ความหลุดพ้นเป็นอิสระ โดยไปถึงนิพพาน,

พูดอีกอย่างง่ายๆ เช่นว่า บุญ มุ่งเอาความสะอาดหมดจดในแง่ที่สวยงามน่าชื่นชม
แต่กุศล มุ่งถึงความสะอาดหมดจดในแง่ที่เป็นความบริสุทธิ์ ไม่มีอะไรติดค้าง ปลอดโปร่ง โล่ง ว่าง เป็นอิสระ,

ขอให้ดูตัวอย่างที่ บุญ กับ กุศล มาด้วยกันในคาถาต่อไปนี้ (ขุ.อิติ.25/262/290)

กาเยน กุสลํ กตฺวา วาจาย กุสลํ พหุํ

มนสา กุสลํ กตฺวา อปฺปมาณํ นิรูปธึ

ตโต โอปธิกํ ปุญฺญํ กตฺวา ทาเนน ตํ พหุํ

อญฺเญปิ มจฺเจ สทฺธมฺเม พฺรหฺมจริเย นิเวสย

(ท่านจงทำให้มากทั้งด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ซึ่งกุศล อันประมาณมิได้ (อัปปมาณ แปลว่า มากมาย ก็ได้ เป็นโลกุตระ ก็ได้) อันไร้ อุปธิ (นิรูปธิ)
แต่นั้น ท่านจงทำบุญ อันระคนอุปธิ ให้มาก ด้วยทาน แล้วจง (บำเพ็ญธรรมทาน) ชักจูงแม้คนอื่นๆ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรม ในพรหมจริยะ)

คาถานี้ แม้จะเป็นคำแนะนำแก่เทวดา ก็ใช้ได้ทั่วไป คือเป็นคำแนะนำสำหรับผู้ที่จะอยู่เป็นคฤหัสถ์ว่า ในด้านแรกคือด้านหลัก ให้ทำกุศล ที่เป็นนิรูปธิ ซึ่งเป็นการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อให้ได้สาระของชีวิต โดยพัฒนาตนให้เป็นอริยชน โดยเฉพาะเป็นโสดาบัน
จากนั้น อีกด้านหนึ่ง ในฐานะเป็นอริยชน ก็ทำความดี หรือ กรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีผลในทางอุปธิ เช่น ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข ซึ่งเป็นไปตามธรรมดาของมัน และที่เป็นเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถ์ได้ ไม่เสียหาย เพราะเป็นผู้มีคุณความดีที่เป็นหลักประกันให้เกิดแต่ผลดีทั้งแก่ตนเองและแก่ สังคมแล้ว,

ตรงข้ามกับ อกุศล เทียบ บุญ 2.บางแห่ง (เช่น ขุ.เถร.26/170/268) กุศล หมายถึง ความเกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ, ความหวังดี, ความมีเมตตา

อกุศล “ไม่ฉลาด” สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์หรือตรงข้ามกับกุศล, บาป, ชั่ว, ความชั่ว (อกุศลธรรม), กรรมชั่ว (อกุศลกรรม)

:b32:
ฉลาดเกินไปม๊างก๊อปมาแปะ :b32:
โชวแต่เงาสภาพธรรมให้คนอื่นดูน่ะ
ปัญญาเจตสิกของตนอยู่ตรงไหนไม่รู้
บอกให้เริ่มสะสมการฟังพระพุทธพจน์ให้ฟังก่อนไง
https://youtu.be/FtCwGHqFnww
:b13:
:b32: :b32:



แปะให้ศึกษาให้ชัด ไม่ใช่พูดมั่วๆ เทห์ๆ อุเทน พรหมมินทร์ ป่าเหนือเมื่อหน้าดอกไม้บาน

https://www.youtube.com/watch?v=9WWlCvHCcoc

:b32:

สติเจตสิก+ปัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทีละ1ขณะจิต
การทำฌานคือการทำจิตรู้ตามสมาธิเจตสิกที่ไม่ประกอบปัญญา
ขณะจิตที่สะสมสติเจตสิกเกิดได้โดยไม่มีปัญญาเจตสิกเกิดร่วมได้ค่ะ
แต่ขณะสะสมปัญญาเจตสิกต้องไม่ขาดสติเจตสิกเลยและต้องเป็นขณิกสมาธิ
คือสัมมามรรคสะสมตามขณะฟังที่ลืมตาดูน๊าสะสมได้เป็นขณิกะพร้อมสติ/สมาธิ/ปัญญา/หิริ/โอตัปปะ
สัมมามรรคเกิดขณะกำลังฟังเข้าใจและขณะเผลอลืมฟังเป็นอกุศลเจตสิกพิสูจน์ได้จากการฟังเท่านั้น
:b12:
:b4: :b4:



มั่วอีกแล้ว

cool
เอางี้เดี๋ยวนี้เลยนะทำใจว่างๆเหมือนแก้วเปล่าเดี๋ยวจะค่อยๆรินน้ำใส่แก้วให้
คิดตามนะคะไม่แต่งต่อเติมเพิ่มจากคำที่กำลังอ่านแล้วให้ทบทวนหลายๆรอบ
:b4:
จิตมีแล้วและไม่ขาดเจตสิกรู้ก็กระทบครบ6ทางมีแล้วครบตาหูจมูกลิ้นกายใจ
ไม่ไปไหนเลยอ่านอยู่นี่ก็มีครบจิตเจตสิกรูปนิพพานตรงตามคำสอนทุกคำคือ
ทุกคำในพระไตรปิฎกคือการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าไม่มีใครทำลายสิ่งที่มีจริง
ที่พระองค์รู้แล้วทั้งหมดได้ทรงตรัสรู้ความจริงทั้งป่าแต่ที่บัญญัติคำแค่2-3ใบคือ
ปัญญาแค่กำมือเดียวไม่ใช่ทั้งป่าแค่กำมือเดียวเทียบให้ทราบว่ายกมาแค่3ปิฎก
เป็นปัญญาจากทศพลญาณทุกคำคือเดี๋ยวนี้ทุกคำคือปัญญาพระองค์ไปท่องทำไม
พระองค์บอกให้ฟังแล้วไตรตรองตามทีละคำตอนกำลังฟังเท่านั้นที่จะเข้าใจตามได้
เข้าใจถูกตามได้=รู้=ปัญญา=สัมมาทิฏฐิ=ความรู้ถูกคิดเห็นถูกเข้าใจถูกตามคำสอนได้ตรงคำตรงจริงที่มี
:b11:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 ส.ค. 2018, 07:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูแล้วก็ดูให้โล่งไปเบย

กุศล 1. “สภาวะที่เกี่ยวตัดสลัดทิ้งสิ่งเลวร้ายอันน่ารังเกียจ” “ความรู้ที่ทำความชั่วร้ายให้เบาบาง" "ธรรมที่ตัดความชั่วอันเป็นดุจหญ้าคา" สภาวะหรือการกระทำที่ฉลาด กอปรด้วยปัญญา หรือเกิดจากปัญญา เกื้อกูล เอื้อต่อสุขภาพ ไม่เสียหาย ไร้โทษ ดีงาม เป็นบุญ มีผลเป็นสุข, ความดี (กุศลธรรม), กรรมดี (กุศลกรรม)

ตามปกติ กุศล กับ บุญ เป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่กุศลมีความหมายกว้างกว่า คือ กุศล มีทั้งโลกิยะ (กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร) และ โลกุตระ
ส่วนบุญโดยทั่วไปใช้กับโลกิยกุศล ถ้าจะหมายถึงระดับโลกุตระ มักต้องมีคำขยายกำกับไว้ด้วย เช่นว่า "โลกุตรบุญ"

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า บุญ มักใช้ในความหมายที่แคบกว่า หรือใช้ในขั้นต้นๆ หมายถึงความดีที่ยังประกอบด้วยอุปธิ (โอปธิก) คือยังเป็นสภาพปรุงแต่งที่ก่อผลในทางพอกพูน ให้เกิดสมบัติ อันได้แก่ความพรั่งพร้อม เช่น ร่างกายสวยงามสมบูรณ์ และมั่งมีทรัพย์สิน

แต่กุศลครอบคลุมหรือเลยต่อไปถึง นิรูปธิ (ไร้อุปธิ) และเน้นที่นิรูปธินั้น คือ มุ่งที่ภาวะไร้ปรุงแต่ง ความหลุดพ้นเป็นอิสระ โดยไปถึงนิพพาน,

พูดอีกอย่างง่ายๆ เช่นว่า บุญ มุ่งเอาความสะอาดหมดจดในแง่ที่สวยงามน่าชื่นชม
แต่กุศล มุ่งถึงความสะอาดหมดจดในแง่ที่เป็นความบริสุทธิ์ ไม่มีอะไรติดค้าง ปลอดโปร่ง โล่ง ว่าง เป็นอิสระ,

ขอให้ดูตัวอย่างที่ บุญ กับ กุศล มาด้วยกันในคาถาต่อไปนี้ (ขุ.อิติ.25/262/290)

กาเยน กุสลํ กตฺวา วาจาย กุสลํ พหุํ

มนสา กุสลํ กตฺวา อปฺปมาณํ นิรูปธึ

ตโต โอปธิกํ ปุญฺญํ กตฺวา ทาเนน ตํ พหุํ

อญฺเญปิ มจฺเจ สทฺธมฺเม พฺรหฺมจริเย นิเวสย

(ท่านจงทำให้มากทั้งด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ซึ่งกุศล อันประมาณมิได้ (อัปปมาณ แปลว่า มากมาย ก็ได้ เป็นโลกุตระ ก็ได้) อันไร้ อุปธิ (นิรูปธิ)
แต่นั้น ท่านจงทำบุญ อันระคนอุปธิ ให้มาก ด้วยทาน แล้วจง (บำเพ็ญธรรมทาน) ชักจูงแม้คนอื่นๆ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรม ในพรหมจริยะ)

คาถานี้ แม้จะเป็นคำแนะนำแก่เทวดา ก็ใช้ได้ทั่วไป คือเป็นคำแนะนำสำหรับผู้ที่จะอยู่เป็นคฤหัสถ์ว่า ในด้านแรกคือด้านหลัก ให้ทำกุศล ที่เป็นนิรูปธิ ซึ่งเป็นการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อให้ได้สาระของชีวิต โดยพัฒนาตนให้เป็นอริยชน โดยเฉพาะเป็นโสดาบัน
จากนั้น อีกด้านหนึ่ง ในฐานะเป็นอริยชน ก็ทำความดี หรือ กรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีผลในทางอุปธิ เช่น ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข ซึ่งเป็นไปตามธรรมดาของมัน และที่เป็นเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถ์ได้ ไม่เสียหาย เพราะเป็นผู้มีคุณความดีที่เป็นหลักประกันให้เกิดแต่ผลดีทั้งแก่ตนเองและแก่ สังคมแล้ว,

ตรงข้ามกับ อกุศล เทียบ บุญ 2.บางแห่ง (เช่น ขุ.เถร.26/170/268) กุศล หมายถึง ความเกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ, ความหวังดี, ความมีเมตตา

อกุศล “ไม่ฉลาด” สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์หรือตรงข้ามกับกุศล, บาป, ชั่ว, ความชั่ว (อกุศลธรรม), กรรมชั่ว (อกุศลกรรม)

:b32:
ฉลาดเกินไปม๊างก๊อปมาแปะ :b32:
โชวแต่เงาสภาพธรรมให้คนอื่นดูน่ะ
ปัญญาเจตสิกของตนอยู่ตรงไหนไม่รู้
บอกให้เริ่มสะสมการฟังพระพุทธพจน์ให้ฟังก่อนไง
https://youtu.be/FtCwGHqFnww
:b13:
:b32: :b32:



แปะให้ศึกษาให้ชัด ไม่ใช่พูดมั่วๆ เทห์ๆ อุเทน พรหมมินทร์ ป่าเหนือเมื่อหน้าดอกไม้บาน

https://www.youtube.com/watch?v=9WWlCvHCcoc

:b32:

สติเจตสิก+ปัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทีละ1ขณะจิต
การทำฌานคือการทำจิตรู้ตามสมาธิเจตสิกที่ไม่ประกอบปัญญา
ขณะจิตที่สะสมสติเจตสิกเกิดได้โดยไม่มีปัญญาเจตสิกเกิดร่วมได้ค่ะ
แต่ขณะสะสมปัญญาเจตสิกต้องไม่ขาดสติเจตสิกเลยและต้องเป็นขณิกสมาธิ
คือสัมมามรรคสะสมตามขณะฟังที่ลืมตาดูน๊าสะสมได้เป็นขณิกะพร้อมสติ/สมาธิ/ปัญญา/หิริ/โอตัปปะ
สัมมามรรคเกิดขณะกำลังฟังเข้าใจและขณะเผลอลืมฟังเป็นอกุศลเจตสิกพิสูจน์ได้จากการฟังเท่านั้น
:b12:
:b4: :b4:



มั่วอีกแล้ว

cool
เอางี้เดี๋ยวนี้เลยนะทำใจว่างๆเหมือนแก้วเปล่าเดี๋ยวจะค่อยๆรินน้ำใส่แก้วให้
คิดตามนะคะไม่แต่งต่อเติมเพิ่มจากคำที่กำลังอ่านแล้วให้ทบทวนหลายๆรอบ
:b4:
จิตมีแล้วและไม่ขาดเจตสิกรู้ก็กระทบครบ6ทางมีแล้วครบตาหูจมูกลิ้นกายใจ
ไม่ไปไหนเลยอ่านอยู่นี่ก็มีครบจิตเจตสิกรูปนิพพานตรงตามคำสอนทุกคำคือ
ทุกคำในพระไตรปิฎกคือการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าไม่มีใครทำลายสิ่งที่มีจริง
ที่พระองค์รู้แล้วทั้งหมดได้ทรงตรัสรู้ความจริงทั้งป่าแต่ที่บัญญัติคำแค่2-3ใบคือ
ปัญญาแค่กำมือเดียวไม่ใช่ทั้งป่าแค่กำมือเดียวเทียบให้ทราบว่ายกมาแค่3ปิฎก
เป็นปัญญาจากทศพลญาณทุกคำคือเดี๋ยวนี้ทุกคำคือปัญญาพระองค์ไปท่องทำไม
พระองค์บอกให้ฟังแล้วไตรตรองตามทีละคำตอนกำลังฟังเท่านั้นที่จะเข้าใจตามได้
เข้าใจถูกตามได้=รู้=ปัญญา=สัมมาทิฏฐิ=ความรู้ถูกคิดเห็นถูกเข้าใจถูกตามคำสอนได้ตรงคำตรงจริงที่มี
:b11:
:b32: :b32:


ตำราเขาสอนให้รู้ละเอียด เพื่อให้รู้ละเอียด แต่ผู้เรียนดันหลงไปตามนั้น

พูดยังงี้ดีฝ่า คนที่่เห็นๆนี่แหละที่ตำราเขาสอน คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ส.ค. 2018, 04:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูแล้วก็ดูให้โล่งไปเบย

กุศล 1. “สภาวะที่เกี่ยวตัดสลัดทิ้งสิ่งเลวร้ายอันน่ารังเกียจ” “ความรู้ที่ทำความชั่วร้ายให้เบาบาง" "ธรรมที่ตัดความชั่วอันเป็นดุจหญ้าคา" สภาวะหรือการกระทำที่ฉลาด กอปรด้วยปัญญา หรือเกิดจากปัญญา เกื้อกูล เอื้อต่อสุขภาพ ไม่เสียหาย ไร้โทษ ดีงาม เป็นบุญ มีผลเป็นสุข, ความดี (กุศลธรรม), กรรมดี (กุศลกรรม)

ตามปกติ กุศล กับ บุญ เป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่กุศลมีความหมายกว้างกว่า คือ กุศล มีทั้งโลกิยะ (กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร) และ โลกุตระ
ส่วนบุญโดยทั่วไปใช้กับโลกิยกุศล ถ้าจะหมายถึงระดับโลกุตระ มักต้องมีคำขยายกำกับไว้ด้วย เช่นว่า "โลกุตรบุญ"

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า บุญ มักใช้ในความหมายที่แคบกว่า หรือใช้ในขั้นต้นๆ หมายถึงความดีที่ยังประกอบด้วยอุปธิ (โอปธิก) คือยังเป็นสภาพปรุงแต่งที่ก่อผลในทางพอกพูน ให้เกิดสมบัติ อันได้แก่ความพรั่งพร้อม เช่น ร่างกายสวยงามสมบูรณ์ และมั่งมีทรัพย์สิน

แต่กุศลครอบคลุมหรือเลยต่อไปถึง นิรูปธิ (ไร้อุปธิ) และเน้นที่นิรูปธินั้น คือ มุ่งที่ภาวะไร้ปรุงแต่ง ความหลุดพ้นเป็นอิสระ โดยไปถึงนิพพาน,

พูดอีกอย่างง่ายๆ เช่นว่า บุญ มุ่งเอาความสะอาดหมดจดในแง่ที่สวยงามน่าชื่นชม
แต่กุศล มุ่งถึงความสะอาดหมดจดในแง่ที่เป็นความบริสุทธิ์ ไม่มีอะไรติดค้าง ปลอดโปร่ง โล่ง ว่าง เป็นอิสระ,

ขอให้ดูตัวอย่างที่ บุญ กับ กุศล มาด้วยกันในคาถาต่อไปนี้ (ขุ.อิติ.25/262/290)

กาเยน กุสลํ กตฺวา วาจาย กุสลํ พหุํ

มนสา กุสลํ กตฺวา อปฺปมาณํ นิรูปธึ

ตโต โอปธิกํ ปุญฺญํ กตฺวา ทาเนน ตํ พหุํ

อญฺเญปิ มจฺเจ สทฺธมฺเม พฺรหฺมจริเย นิเวสย

(ท่านจงทำให้มากทั้งด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ซึ่งกุศล อันประมาณมิได้ (อัปปมาณ แปลว่า มากมาย ก็ได้ เป็นโลกุตระ ก็ได้) อันไร้ อุปธิ (นิรูปธิ)
แต่นั้น ท่านจงทำบุญ อันระคนอุปธิ ให้มาก ด้วยทาน แล้วจง (บำเพ็ญธรรมทาน) ชักจูงแม้คนอื่นๆ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรม ในพรหมจริยะ)

คาถานี้ แม้จะเป็นคำแนะนำแก่เทวดา ก็ใช้ได้ทั่วไป คือเป็นคำแนะนำสำหรับผู้ที่จะอยู่เป็นคฤหัสถ์ว่า ในด้านแรกคือด้านหลัก ให้ทำกุศล ที่เป็นนิรูปธิ ซึ่งเป็นการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อให้ได้สาระของชีวิต โดยพัฒนาตนให้เป็นอริยชน โดยเฉพาะเป็นโสดาบัน
จากนั้น อีกด้านหนึ่ง ในฐานะเป็นอริยชน ก็ทำความดี หรือ กรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีผลในทางอุปธิ เช่น ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข ซึ่งเป็นไปตามธรรมดาของมัน และที่เป็นเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถ์ได้ ไม่เสียหาย เพราะเป็นผู้มีคุณความดีที่เป็นหลักประกันให้เกิดแต่ผลดีทั้งแก่ตนเองและแก่ สังคมแล้ว,

ตรงข้ามกับ อกุศล เทียบ บุญ 2.บางแห่ง (เช่น ขุ.เถร.26/170/268) กุศล หมายถึง ความเกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ, ความหวังดี, ความมีเมตตา

อกุศล “ไม่ฉลาด” สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์หรือตรงข้ามกับกุศล, บาป, ชั่ว, ความชั่ว (อกุศลธรรม), กรรมชั่ว (อกุศลกรรม)

:b32:
ฉลาดเกินไปม๊างก๊อปมาแปะ :b32:
โชวแต่เงาสภาพธรรมให้คนอื่นดูน่ะ
ปัญญาเจตสิกของตนอยู่ตรงไหนไม่รู้
บอกให้เริ่มสะสมการฟังพระพุทธพจน์ให้ฟังก่อนไง
https://youtu.be/FtCwGHqFnww
:b13:
:b32: :b32:



แปะให้ศึกษาให้ชัด ไม่ใช่พูดมั่วๆ เทห์ๆ อุเทน พรหมมินทร์ ป่าเหนือเมื่อหน้าดอกไม้บาน

https://www.youtube.com/watch?v=9WWlCvHCcoc

:b32:

สติเจตสิก+ปัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทีละ1ขณะจิต
การทำฌานคือการทำจิตรู้ตามสมาธิเจตสิกที่ไม่ประกอบปัญญา
ขณะจิตที่สะสมสติเจตสิกเกิดได้โดยไม่มีปัญญาเจตสิกเกิดร่วมได้ค่ะ
แต่ขณะสะสมปัญญาเจตสิกต้องไม่ขาดสติเจตสิกเลยและต้องเป็นขณิกสมาธิ
คือสัมมามรรคสะสมตามขณะฟังที่ลืมตาดูน๊าสะสมได้เป็นขณิกะพร้อมสติ/สมาธิ/ปัญญา/หิริ/โอตัปปะ
สัมมามรรคเกิดขณะกำลังฟังเข้าใจและขณะเผลอลืมฟังเป็นอกุศลเจตสิกพิสูจน์ได้จากการฟังเท่านั้น
:b12:
:b4: :b4:



มั่วอีกแล้ว

cool
เอางี้เดี๋ยวนี้เลยนะทำใจว่างๆเหมือนแก้วเปล่าเดี๋ยวจะค่อยๆรินน้ำใส่แก้วให้
คิดตามนะคะไม่แต่งต่อเติมเพิ่มจากคำที่กำลังอ่านแล้วให้ทบทวนหลายๆรอบ
:b4:
จิตมีแล้วและไม่ขาดเจตสิกรู้ก็กระทบครบ6ทางมีแล้วครบตาหูจมูกลิ้นกายใจ
ไม่ไปไหนเลยอ่านอยู่นี่ก็มีครบจิตเจตสิกรูปนิพพานตรงตามคำสอนทุกคำคือ
ทุกคำในพระไตรปิฎกคือการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าไม่มีใครทำลายสิ่งที่มีจริง
ที่พระองค์รู้แล้วทั้งหมดได้ทรงตรัสรู้ความจริงทั้งป่าแต่ที่บัญญัติคำแค่2-3ใบคือ
ปัญญาแค่กำมือเดียวไม่ใช่ทั้งป่าแค่กำมือเดียวเทียบให้ทราบว่ายกมาแค่3ปิฎก
เป็นปัญญาจากทศพลญาณทุกคำคือเดี๋ยวนี้ทุกคำคือปัญญาพระองค์ไปท่องทำไม
พระองค์บอกให้ฟังแล้วไตรตรองตามทีละคำตอนกำลังฟังเท่านั้นที่จะเข้าใจตามได้
เข้าใจถูกตามได้=รู้=ปัญญา=สัมมาทิฏฐิ=ความรู้ถูกคิดเห็นถูกเข้าใจถูกตามคำสอนได้ตรงคำตรงจริงที่มี
:b11:
:b32: :b32:


ตำราเขาสอนให้รู้ละเอียด เพื่อให้รู้ละเอียด แต่ผู้เรียนดันหลงไปตามนั้น

พูดยังงี้ดีฝ่า คนที่่เห็นๆนี่แหละที่ตำราเขาสอน คิกๆๆ

Kiss
:b12:
เอาแค่มรรคแรกอันเดียวก่อนเถอะนะให้มันดับโมหะได้ก่อนคริคริคริ
สัมมาทิฏฐิแปลว่าความรู้ความคิดเห็นถูกเข้าใจถูกตามคำสอนทีละคำตรงขณะตามปกติเป็นปกติ
คือปัญญาและปัญญาตามคำสอนเกิดตามลำดับข้าม1ไป3ไม่ได้เหมือนเทน้ำใส่แก้วที่1เต็มก่อนจึงล้น
ไปแก้วที่2ล้นจากแก้วที่2จึงจะไปเติมเต็มแก้วที่3และการฟังเหมือนน้ำที่กำลังเติมคือเติมความเข้าใจถูก
ตรงตามคำสอนทีละคำจนรู้แจ้งชัดตรงสิ่งที่กำลังปรากฏด้วยดีกับสติปัญญาอริยมรรคคือปัญญาจริงที่มี
ถ้าไม่ฟังคำสอนเลยแล้วก็ไปขูดต้นกล้วยขอหวยแล้วก็เอาเงินถูกหวยไปถวายวัดถวายพระภิกษุลงนรกกัน
หมดคริคริคริเป็นปัญญาเข้าใจบ้างหรือยังว่ากำลังทำอะไรกันอยู่อัตภาพคนได้ยากพบพระสัทธรรมไม่ฟัง
มีแต่อ่านปัญญาพระพุทธเจ้าแล้วเลือกเอามาทำไม่รู้เลยว่าปัญญาคือความรู้ที่เพิ่มเมื่อได้ฟังคำสอนนะคะ
:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ส.ค. 2018, 07:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูแล้วก็ดูให้โล่งไปเบย

กุศล 1. “สภาวะที่เกี่ยวตัดสลัดทิ้งสิ่งเลวร้ายอันน่ารังเกียจ” “ความรู้ที่ทำความชั่วร้ายให้เบาบาง" "ธรรมที่ตัดความชั่วอันเป็นดุจหญ้าคา" สภาวะหรือการกระทำที่ฉลาด กอปรด้วยปัญญา หรือเกิดจากปัญญา เกื้อกูล เอื้อต่อสุขภาพ ไม่เสียหาย ไร้โทษ ดีงาม เป็นบุญ มีผลเป็นสุข, ความดี (กุศลธรรม), กรรมดี (กุศลกรรม)

ตามปกติ กุศล กับ บุญ เป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่กุศลมีความหมายกว้างกว่า คือ กุศล มีทั้งโลกิยะ (กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร) และ โลกุตระ
ส่วนบุญโดยทั่วไปใช้กับโลกิยกุศล ถ้าจะหมายถึงระดับโลกุตระ มักต้องมีคำขยายกำกับไว้ด้วย เช่นว่า "โลกุตรบุญ"

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า บุญ มักใช้ในความหมายที่แคบกว่า หรือใช้ในขั้นต้นๆ หมายถึงความดีที่ยังประกอบด้วยอุปธิ (โอปธิก) คือยังเป็นสภาพปรุงแต่งที่ก่อผลในทางพอกพูน ให้เกิดสมบัติ อันได้แก่ความพรั่งพร้อม เช่น ร่างกายสวยงามสมบูรณ์ และมั่งมีทรัพย์สิน

แต่กุศลครอบคลุมหรือเลยต่อไปถึง นิรูปธิ (ไร้อุปธิ) และเน้นที่นิรูปธินั้น คือ มุ่งที่ภาวะไร้ปรุงแต่ง ความหลุดพ้นเป็นอิสระ โดยไปถึงนิพพาน,

พูดอีกอย่างง่ายๆ เช่นว่า บุญ มุ่งเอาความสะอาดหมดจดในแง่ที่สวยงามน่าชื่นชม
แต่กุศล มุ่งถึงความสะอาดหมดจดในแง่ที่เป็นความบริสุทธิ์ ไม่มีอะไรติดค้าง ปลอดโปร่ง โล่ง ว่าง เป็นอิสระ,

ขอให้ดูตัวอย่างที่ บุญ กับ กุศล มาด้วยกันในคาถาต่อไปนี้ (ขุ.อิติ.25/262/290)

กาเยน กุสลํ กตฺวา วาจาย กุสลํ พหุํ

มนสา กุสลํ กตฺวา อปฺปมาณํ นิรูปธึ

ตโต โอปธิกํ ปุญฺญํ กตฺวา ทาเนน ตํ พหุํ

อญฺเญปิ มจฺเจ สทฺธมฺเม พฺรหฺมจริเย นิเวสย

(ท่านจงทำให้มากทั้งด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ซึ่งกุศล อันประมาณมิได้ (อัปปมาณ แปลว่า มากมาย ก็ได้ เป็นโลกุตระ ก็ได้) อันไร้ อุปธิ (นิรูปธิ)
แต่นั้น ท่านจงทำบุญ อันระคนอุปธิ ให้มาก ด้วยทาน แล้วจง (บำเพ็ญธรรมทาน) ชักจูงแม้คนอื่นๆ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรม ในพรหมจริยะ)

คาถานี้ แม้จะเป็นคำแนะนำแก่เทวดา ก็ใช้ได้ทั่วไป คือเป็นคำแนะนำสำหรับผู้ที่จะอยู่เป็นคฤหัสถ์ว่า ในด้านแรกคือด้านหลัก ให้ทำกุศล ที่เป็นนิรูปธิ ซึ่งเป็นการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อให้ได้สาระของชีวิต โดยพัฒนาตนให้เป็นอริยชน โดยเฉพาะเป็นโสดาบัน
จากนั้น อีกด้านหนึ่ง ในฐานะเป็นอริยชน ก็ทำความดี หรือ กรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีผลในทางอุปธิ เช่น ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข ซึ่งเป็นไปตามธรรมดาของมัน และที่เป็นเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถ์ได้ ไม่เสียหาย เพราะเป็นผู้มีคุณความดีที่เป็นหลักประกันให้เกิดแต่ผลดีทั้งแก่ตนเองและแก่ สังคมแล้ว,

ตรงข้ามกับ อกุศล เทียบ บุญ 2.บางแห่ง (เช่น ขุ.เถร.26/170/268) กุศล หมายถึง ความเกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ, ความหวังดี, ความมีเมตตา

อกุศล “ไม่ฉลาด” สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์หรือตรงข้ามกับกุศล, บาป, ชั่ว, ความชั่ว (อกุศลธรรม), กรรมชั่ว (อกุศลกรรม)

:b32:
ฉลาดเกินไปม๊างก๊อปมาแปะ :b32:
โชวแต่เงาสภาพธรรมให้คนอื่นดูน่ะ
ปัญญาเจตสิกของตนอยู่ตรงไหนไม่รู้
บอกให้เริ่มสะสมการฟังพระพุทธพจน์ให้ฟังก่อนไง
https://youtu.be/FtCwGHqFnww
:b13:
:b32: :b32:



แปะให้ศึกษาให้ชัด ไม่ใช่พูดมั่วๆ เทห์ๆ อุเทน พรหมมินทร์ ป่าเหนือเมื่อหน้าดอกไม้บาน

https://www.youtube.com/watch?v=9WWlCvHCcoc

:b32:

สติเจตสิก+ปัญญาเจตสิกเกิดดับพร้อมจิตทีละ1ขณะจิต
การทำฌานคือการทำจิตรู้ตามสมาธิเจตสิกที่ไม่ประกอบปัญญา
ขณะจิตที่สะสมสติเจตสิกเกิดได้โดยไม่มีปัญญาเจตสิกเกิดร่วมได้ค่ะ
แต่ขณะสะสมปัญญาเจตสิกต้องไม่ขาดสติเจตสิกเลยและต้องเป็นขณิกสมาธิ
คือสัมมามรรคสะสมตามขณะฟังที่ลืมตาดูน๊าสะสมได้เป็นขณิกะพร้อมสติ/สมาธิ/ปัญญา/หิริ/โอตัปปะ
สัมมามรรคเกิดขณะกำลังฟังเข้าใจและขณะเผลอลืมฟังเป็นอกุศลเจตสิกพิสูจน์ได้จากการฟังเท่านั้น
:b12:
:b4: :b4:



มั่วอีกแล้ว

cool
เอางี้เดี๋ยวนี้เลยนะทำใจว่างๆเหมือนแก้วเปล่าเดี๋ยวจะค่อยๆรินน้ำใส่แก้วให้
คิดตามนะคะไม่แต่งต่อเติมเพิ่มจากคำที่กำลังอ่านแล้วให้ทบทวนหลายๆรอบ
:b4:
จิตมีแล้วและไม่ขาดเจตสิกรู้ก็กระทบครบ6ทางมีแล้วครบตาหูจมูกลิ้นกายใจ
ไม่ไปไหนเลยอ่านอยู่นี่ก็มีครบจิตเจตสิกรูปนิพพานตรงตามคำสอนทุกคำคือ
ทุกคำในพระไตรปิฎกคือการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าไม่มีใครทำลายสิ่งที่มีจริง
ที่พระองค์รู้แล้วทั้งหมดได้ทรงตรัสรู้ความจริงทั้งป่าแต่ที่บัญญัติคำแค่2-3ใบคือ
ปัญญาแค่กำมือเดียวไม่ใช่ทั้งป่าแค่กำมือเดียวเทียบให้ทราบว่ายกมาแค่3ปิฎก
เป็นปัญญาจากทศพลญาณทุกคำคือเดี๋ยวนี้ทุกคำคือปัญญาพระองค์ไปท่องทำไม
พระองค์บอกให้ฟังแล้วไตรตรองตามทีละคำตอนกำลังฟังเท่านั้นที่จะเข้าใจตามได้
เข้าใจถูกตามได้=รู้=ปัญญา=สัมมาทิฏฐิ=ความรู้ถูกคิดเห็นถูกเข้าใจถูกตามคำสอนได้ตรงคำตรงจริงที่มี
:b11:
:b32: :b32:


ตำราเขาสอนให้รู้ละเอียด เพื่อให้รู้ละเอียด แต่ผู้เรียนดันหลงไปตามนั้น

พูดยังงี้ดีฝ่า คนที่่เห็นๆนี่แหละที่ตำราเขาสอน คิกๆๆ

Kiss
:b12:
เอาแค่มรรคแรกอันเดียวก่อนเถอะนะให้มันดับโมหะได้ก่อนคริคริคริ
สัมมาทิฏฐิแปลว่าความรู้ความคิดเห็นถูกเข้าใจถูกตามคำสอนทีละคำตรงขณะตามปกติเป็นปกติ
คือปัญญาและปัญญาตามคำสอนเกิดตามลำดับข้าม1ไป3ไม่ได้เหมือนเทน้ำใส่แก้วที่1เต็มก่อนจึงล้น
ไปแก้วที่2ล้นจากแก้วที่2จึงจะไปเติมเต็มแก้วที่3และการฟังเหมือนน้ำที่กำลังเติมคือเติมความเข้าใจถูก
ตรงตามคำสอนทีละคำจนรู้แจ้งชัดตรงสิ่งที่กำลังปรากฏด้วยดีกับสติปัญญาอริยมรรคคือปัญญาจริงที่มี
ถ้าไม่ฟังคำสอนเลยแล้วก็ไปขูดต้นกล้วยขอหวยแล้วก็เอาเงินถูกหวยไปถวายวัดถวายพระภิกษุลงนรกกัน
หมดคริคริคริเป็นปัญญาเข้าใจบ้างหรือยังว่ากำลังทำอะไรกันอยู่อัตภาพคนได้ยากพบพระสัทธรรมไม่ฟัง
มีแต่อ่านปัญญาพระพุทธเจ้าแล้วเลือกเอามาทำไม่รู้เลยว่าปัญญาคือความรู้ที่เพิ่มเมื่อได้ฟังคำสอนนะคะ
:b32: :b32: :b32:


ไปมรรคอีก :b32: ฟุ้งซ่านธรรมใหญ่เบย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 29 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 88 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร