วันเวลาปัจจุบัน 17 เม.ย. 2024, 01:41  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 71 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 07:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
student เขียน:
โฮฮับ เขียน:
student เขียน:
ผมว่าทรงไว้
เรียกความเป็นใหญ่

ตาเอาไว้มอง
หูเอาไว้ฟัง
เป็นต้น


อธิบายให้ฟังสำหรับผู้มีความมุ่งหมั่นตั้งใจ :b13:

ลักษณะของการทรงไว้ ในที่นี้ท่านหมายถึงสภาวธรรมครับ
สภาวธรรมใดที่สามารถทรงความเป็นปัจจุบันธรรมได้นั้น....ท่านเรียกปัจจุบันธรรมนั้นว่า อินทรีย์ครับ

ในขณะที่ตามองเห็นวัตถุธรรม สิ่งที่ทรงความป็นใหญ่ในขณะนั้นเรียกว่า ...จักขุนทรีย์
หรือในขณะที่หูกำลังได้ยิน สิ่งที่ทรงความเป็นใหญ่ขณะนั้นเรียกว่า... โสตินทรีย์ .


การทรงไว้ไม่ใช่ธาตุอย่างที่นายกรัชกายแกมั่วหรอกครับ :b32:


อนุโมทนาครับ


เรา ก็น่าจะพอใจกะคำอธิบายนี้มาก
น่าจะเช่นเดียวกะ คุณ Student

ต้องสารภาพกะคุณโฮฮับว่า
เราเอง ก็ขัน เจื้อยๆ ตลอดมา ว่า ธาตุ คือ ทรงไว้ ซึ่งความเป็นธาตุ เหมือนกัน

ขอบคุณ จริงๆ ขอรับ ท่านโฮ


คุณจะพูดว่า..."ทรงไว้ซึ่งความเป็นธาตุ"ก็ย่อมได้ครับ แต่นั้นต้องหมายความว่า
คุณต้องอ้างอิงองค์ธรรมให้ถูก จึงจะเป็นวิชชาครับ

อย่างเอาคำว่า จักขุธาตุ มาบอกว่า เป็นการทรงไว้ซึ่งจักขุธาตุ นี่มันผู้ผิดจากสภาพความเป็นจริง
ความเป็นจริงของจักขุก็คือ ธาตุ๔
จักขุธาตุเป็นอวิชชาครับ ธาตุ๔จึงจะเป็น วิชชา


ฉะนั้นจะเอาคำว่า "ทรงไว้"มาใช้กับธาตุ จะต้องใช้กับ ธาตุ๔(ดิน น้ำ ลม ไฟ)และธาตุรู้เท่านั้นครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 08:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
student เขียน:
ผมว่าทรงไว้
เรียกความเป็นใหญ่

ตาเอาไว้มอง
หูเอาไว้ฟัง
เป็นต้น


อธิบายให้ฟังสำหรับผู้มีความมุ่งหมั่นตั้งใจ :b13:

ลักษณะของการทรงไว้ ในที่นี้ท่านหมายถึงสภาวธรรมครับ
สภาวธรรมใดที่สามารถทรงความเป็นปัจจุบันธรรมได้นั้น....ท่านเรียกปัจจุบันธรรมนั้นว่า อินทรีย์ครับ

ในขณะที่ตามองเห็นวัตถุธรรม สิ่งที่ทรงความป็นใหญ่ในขณะนั้นเรียกว่า ...จักขุนทรีย์
หรือในขณะที่หูกำลังได้ยิน สิ่งที่ทรงความเป็นใหญ่ขณะนั้นเรียกว่า... โสตินทรีย์ .


การทรงไว้ไม่ใช่ธาตุอย่างที่นายกรัชกายแกมั่วหรอกครับ :b32:



ทำให้นึกถึง พระสูตร ที่ตรัสว่า...
เมื่อใดที่ อริยสาวก มารู้จักความก่อขึ้นแห่งอินทรีย์หก...ฯ ท่าน เรียกว่า เป็นพระโสดาบัน


ต้องเป็นอินทีย์๕ครับ ไม่ใช่๖ บุคคลผู้เข้าถึงความเป็นอินทรีย์คืออริยะ เริ่มแต่โสดาบัน
อินทรีย์๕ที่ว่า ก็ได้แก่.... สตินทรีย์ ๑ ปัญญินทรีย์ ๑ สัทธินทรีย์ ๑ วิริยินทรีย์ ๑ สมาธินทรีย์ ๑

Duangrat เขียน:

แล้ว ธาตุ เป็นการทรงไว้ ของสภาวธรรม ที่เป็นปัจจุบันธรรม
แสดงว่า ธาตุ ท่านทรงใช้เรียกทั้ง ฝั่งอวิชชา และฝั่งมีวิชชาแล้ว ใช่ไหมคะ?


ยกตัวอย่าง ในขณะที่ตาเห็นภาพ กายใจจะไปรับรู้ความรู้สึกที่ปสาทตา
ปัจจุบันขณะนี้เรียกว่า..... จักขุนทรีย์........นี่คือวิชชา คือบุคคลมีสัมปชัญญะรู้ทันผัสสะ

แต่ถ้าเป็นในขณะที่ตาเห็นภาพ กายใจหลงไม่รับรู้ ไปรู้สึกอีกที่ก็ที่มโนทวาร
นี้คือ การปรุงแต่ง(ไม่เห็นสภาพความเป็นจริง) และลักษณะของการปรุงก็คือ
สมอง(มโนทวาร) จะคิดฟุ้งซ่านว่า ตาเห็นภาพที่ชอบใจหรือไม่ชอบใจ.....นี่คือ อวิชชา
วิชชากับอวิชชาต่างกันตรงนี้

กับคำจักขุธาตุจะใช้ว่าทรงไว้ไม่ได้ ถ้ากล่าวว่าทรงไว้ซึ่งจักขุธาตุเท่ากับเป็นอวิชชา
สิ่งที่เป็นธาตุแท้ และก็ทรงไว้ไว้ตลอดเวลาก็คือ ธาตุ๔ในมหาภูติรูป๔
จักขุธาตุเป็นอุปาทายรูป ก็คือเกิดจากการปรุงแต่งอันมีมหาภูติรูป๔เป็นเหตุปัจจัย
แท้จริงแล้ว ตามสภาพธรรมที่เป็นจริง จักขุก็คือ ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ นั้นเอง
คำว่า หู ตา จมูกเกิดจากการปรุงแต่งของ นามรูปในปฏิจจฯ



นี่คือผู้ที่ไม่เข้าใจความหมายทางภาษาของเค้า

อ้างคำพูด:
ยกตัวอย่าง ในขณะที่ตาเห็นภาพ กายใจจะไปรับรู้ความรู้สึกที่ปสาทตา
ปัจจุบันขณะนี้เรียกว่า..... จักขุนทรีย์........นี่คือวิชชา คือบุคคลมีสัมปชัญญะรู้ทันผัสสะ


จักขุนทรีย์ อินทรีย์คือจักษุ (อินทรีย์คือตา) อิอิ เท่านี้เอง

แนะๆ แถมว่า
อ้างคำพูด:
นี่คือวิชชา คือบุคคลมีสัมปชัญญะรู้ทันผัสสะ


เป็นวิชชา มีสัมปชันแยะ เข้าไปอีก :b13:

ถ้ายังงั้น คนทั่วๆไป ที่ตาไม่บอด มองเห็นรูป ก็มีวิชชา มีสัมปชัญญะกันทั้งนั้นซี่พี่โฮ

นี่แหละเอาศัทพ์เขามาเดามาด้นเพื่อให้เข้ากับทิฐิของตัว :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 08:18 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
student เขียน:
ผมว่าทรงไว้
เรียกความเป็นใหญ่

ตาเอาไว้มอง
หูเอาไว้ฟัง
เป็นต้น


อธิบายให้ฟังสำหรับผู้มีความมุ่งหมั่นตั้งใจ :b13:

ลักษณะของการทรงไว้ ในที่นี้ท่านหมายถึงสภาวธรรมครับ
สภาวธรรมใดที่สามารถทรงความเป็นปัจจุบันธรรมได้นั้น....ท่านเรียกปัจจุบันธรรมนั้นว่า อินทรีย์ครับ

ในขณะที่ตามองเห็นวัตถุธรรม สิ่งที่ทรงความป็นใหญ่ในขณะนั้นเรียกว่า ...จักขุนทรีย์
หรือในขณะที่หูกำลังได้ยิน สิ่งที่ทรงความเป็นใหญ่ขณะนั้นเรียกว่า... โสตินทรีย์ .


การทรงไว้ไม่ใช่ธาตุอย่างที่นายกรัชกายแกมั่วหรอกครับ :b32:



ทำให้นึกถึง พระสูตร ที่ตรัสว่า...
เมื่อใดที่ อริยสาวก มารู้จักความก่อขึ้นแห่งอินทรีย์หก...ฯ ท่าน เรียกว่า เป็นพระโสดาบัน


ต้องเป็นอินทีย์๕ครับ ไม่ใช่๖ บุคคลผู้เข้าถึงความเป็นอินทรีย์คืออริยะ เริ่มแต่โสดาบัน
อินทรีย์๕ที่ว่า ก็ได้แก่.... สตินทรีย์ ๑ ปัญญินทรีย์ ๑ สัทธินทรีย์ ๑ วิริยินทรีย์ ๑ สมาธินทรีย์ ๑




ไม่ใช่ต้องรู้ทั้ง สองอย่างเหรอ
รู้ อวิชชา ความก่อเกิดของอินทรีย์หก
และความรู้นั้นเป็น วิชชา คือ เกิด อินทรีย์ห้า

อ่านมาจากสำนวนแปลโดยท่านพุทธทาส อ้างอิง
- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๗๑/๙๐๒


แก้ไขล่าสุดโดย Duangrat เมื่อ 03 ก.ค. 2016, 08:59, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 08:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
สภาพธรรมที่เกิดกับแต่ละทาง
มีธรรม3อย่างx 6ทาง=18อย่าง
18อย่างเกิดและดับที่1ขณะจิต
สภาพรู้ตัวทั่วพร้อมคือสติสัมปชัญญะ
จะต้องรู้ตรงลักษณะสภาพที่กำลังปรากฏ
รู้ตัวทั่วพร้อมในสภาพธรรมที่ปรากฏให้รู้ได้7อย่างทุกขณะ
:b55: :b55:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 10:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
student เขียน:
ผมว่าทรงไว้
เรียกความเป็นใหญ่

ตาเอาไว้มอง
หูเอาไว้ฟัง
เป็นต้น


อธิบายให้ฟังสำหรับผู้มีความมุ่งหมั่นตั้งใจ :b13:

ลักษณะของการทรงไว้ ในที่นี้ท่านหมายถึงสภาวธรรมครับ
สภาวธรรมใดที่สามารถทรงความเป็นปัจจุบันธรรมได้นั้น....ท่านเรียกปัจจุบันธรรมนั้นว่า อินทรีย์ครับ

ในขณะที่ตามองเห็นวัตถุธรรม สิ่งที่ทรงความป็นใหญ่ในขณะนั้นเรียกว่า ...จักขุนทรีย์
หรือในขณะที่หูกำลังได้ยิน สิ่งที่ทรงความเป็นใหญ่ขณะนั้นเรียกว่า... โสตินทรีย์ .


การทรงไว้ไม่ใช่ธาตุอย่างที่นายกรัชกายแกมั่วหรอกครับ :b32:



ทำให้นึกถึง พระสูตร ที่ตรัสว่า...
เมื่อใดที่ อริยสาวก มารู้จักความก่อขึ้นแห่งอินทรีย์หก...ฯ ท่าน เรียกว่า เป็นพระโสดาบัน


ต้องเป็นอินทีย์๕ครับ ไม่ใช่๖ บุคคลผู้เข้าถึงความเป็นอินทรีย์คืออริยะ เริ่มแต่โสดาบัน
อินทรีย์๕ที่ว่า ก็ได้แก่.... สตินทรีย์ ๑ ปัญญินทรีย์ ๑ สัทธินทรีย์ ๑ วิริยินทรีย์ ๑ สมาธินทรีย์ ๑




ไม่ใช่ต้องรู้ทั้ง สองอย่างเหรอ
รู้ อวิชชา ความก่อเกิดของอินทรีย์หก
และความรู้นั้นเป็น วิชชา คือ เกิด อินทรีย์ห้า

อ่านมาจากสำนวนแปลโดยท่านพุทธทาส อ้างอิง
- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๗๑/๙๐๒


มันต้องพูดว่า......พระอริยะรู้อินทรีย์๖ด้วยอินทรีย์๕ครับ
พระอริยะจะต้องทรงความเป็นอินทรีย์๕อย่างสม่ำเสมอ....ประเด็นนี้คุณคงเข้าใจ นั้นก็เพราะ
องค์มรรคผู้ปฏิบัติคือ อินทรีย์๕ของอริยะ

ถ้าพระอริยะไม่ทรงความเป็นอินทรีย์๕ไว้ ก็จะรู้ไม่ทันผัสสะ
เมื่อเกิดการกระทบขึ้นที่ทวารใด ก็จะหลงไปปรุงแต่งทันที

แต่ถ้าอริยะทรงความเป็นอินทรีย์๕ไว้ เมื่อเกิดการกระทบก็จะรู้ว่า เกิดอินทรีย์ขึ้นแล้ว
ที่ทวารหนึ่งของทวารทั้ง๖

รู้ของอริยะไม่ได้หมายถึงรู้อวิชชา แต่หมายถึงว่ารู้อะไรบ้างที่เป็นอวิชชาเดี๋ยวจะสับสน
ความรู้เรื่องลักษณะของอวิชชา และรู้ลักษณะของวิชชา....รวมเรียกว่า วิชชา
เพราะมันเป็นคุณสมบัติของ อริยะ

อวิชชาที่พระอริยะรู้ จักขุเป็นกาย(ดิน น้ำ ลม ไฟ) ไม่ใช่ธาตุ
แต่ปุถุชนผู้ติดในอวิชชาจะหลงคิดว่า จักขุเป็นธาตุ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 11:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:

ไม่ใช่ต้องรู้ทั้ง สองอย่างเหรอ
รู้ อวิชชา ความก่อเกิดของอินทรีย์หก
และความรู้นั้นเป็น วิชชา คือ เกิด อินทรีย์ห้า

อ่านมาจากสำนวนแปลโดยท่านพุทธทาส อ้างอิง
- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๗๑/๙๐๒


ในความเป็นอินทรีย์๕นั้น ในสภาพธรรมจะต้องเกิดสืบเนื่องกัน จนดูเป็นหนึ่งเดียวกันทั้งห้าองค์ธรรม(อินทรีย์)

เราจะเรียกอินทรีย์หกแบบนี้ไม่ได้ เพราะจะทำให้เข้าใจไปว่า เป็นการเกิดแบบอินทรีย์๕
ซึ่งมันเป็นไปไม่ได้ ทวารที่เป็นเหตุจะรับการกระทบได้ที่ละทวารหรือที่ละขณะ ไม่สืบเนื่องเป็นหนึ่งแบบ
อินทรีย์๕ ฉะนั้นจะเรียกอินทรีย์ที่เกิดจากทวารใดก็ต้องจำเพราะเจาะจงลงไปเลยครับ

Duangrat เขียน:
ไม่ใช่ต้องรู้ทั้ง สองอย่างเหรอ


พระอริยะต้องรู้ทั้งสองอย่าง รู้ในที่นี้หมายถึงความจำได้หมายรู้ ไม่ใช่รู้โดยตัวผู้รู้หรือวิปัสสนานะครับ
รู้อวิชชาของอริยะ คือรู้ว่า ลักษณะอย่างไรมีเหตุมาจากอวิชชา สภาพธรรมเช่นไรเกิดจากอวิชชา
โดยสรุป ความรู้อวิชชาของอริยะเป็นอดีตจึงต้องรู้ด้วยสติ
วิชชาของอริยะเป็นปัจจุบันจึง ต้องรู้ด้วยปัญญา..
นี้แหล่ะคือเหตุที่บอกว่า พระอริยะต้องทรงความเป็นอินทรีย์๕อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

Duangrat เขียน:
รู้ อวิชชา ความก่อเกิดของอินทรีย์หก
และความรู้นั้นเป็น วิชชา คือ เกิด อินทรีย์ห้า

อ่านมาจากสำนวนแปลโดยท่านพุทธทาส อ้างอิง
- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๗๑/๙๐๒


นี่ถูกต้องครับ! เพียงแต่ต้องไม่สับสน รู้ อวิชชา คือรู้ว่าสิ่งใดเป็นสิ่งที่เกิดจากการปรุงแต่ง
คำบางคำถ้าไม่พิจารณาจะทำให้งง เช่น รู้อวิชา อาจหมายถึงความไม่รู้ของปุถุชนก็ได้
รู้อวิชชาอาจหมายถึงรู้ในสิ่งที่ปรุงแต่งก็ได้ครับ

อยากให้คิดแบบนี้ครับ......อวิชชาเป็นลักษณะของผู้ที่ไม่เคยเห็นสภาพที่แท้จริงของธรรม
เมื่อไม่เห็นก็เลยไม่รู้ลักษณะที่แท้จริงนั้น

วิชชา ....ก็คือบุคคลได้รู้เห็นสภาพธรรมที่เป็นจริงแล้ว การรู้เห็นสภาพที่เป็นจริงเรียกว่า...วิชชา

ทั้งอวิชชาและวิชชา เป็นธรรมที่แตกต่างกัน มีอย่างหนึ่งแล้วจะมีอีกอย่างไม่ได้
เช่นยังเป็นผู้มีอวิชชา ย่อมไม่มีวิชชา
เป็นผู้มีวิชชาแล้ว ย่อมไม่มีอวิชชา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 16:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
student เขียน:
ผมว่าทรงไว้
เรียกความเป็นใหญ่

ตาเอาไว้มอง
หูเอาไว้ฟัง
เป็นต้น


อธิบายให้ฟังสำหรับผู้มีความมุ่งหมั่นตั้งใจ :b13:

ลักษณะของการทรงไว้ ในที่นี้ท่านหมายถึงสภาวธรรมครับ
สภาวธรรมใดที่สามารถทรงความเป็นปัจจุบันธรรมได้นั้น....ท่านเรียกปัจจุบันธรรมนั้นว่า อินทรีย์ครับ

ในขณะที่ตามองเห็นวัตถุธรรม สิ่งที่ทรงความป็นใหญ่ในขณะนั้นเรียกว่า ...จักขุนทรีย์
หรือในขณะที่หูกำลังได้ยิน สิ่งที่ทรงความเป็นใหญ่ขณะนั้นเรียกว่า... โสตินทรีย์ .


การทรงไว้ไม่ใช่ธาตุอย่างที่นายกรัชกายแกมั่วหรอกครับ :b32:



ทำให้นึกถึง พระสูตร ที่ตรัสว่า...
เมื่อใดที่ อริยสาวก มารู้จักความก่อขึ้นแห่งอินทรีย์หก...ฯ ท่าน เรียกว่า เป็นพระโสดาบัน


ต้องเป็นอินทีย์๕ครับ ไม่ใช่๖ บุคคลผู้เข้าถึงความเป็นอินทรีย์คืออริยะ เริ่มแต่โสดาบัน
อินทรีย์๕ที่ว่า ก็ได้แก่.... สตินทรีย์ ๑ ปัญญินทรีย์ ๑ สัทธินทรีย์ ๑ วิริยินทรีย์ ๑ สมาธินทรีย์ ๑




ไม่ใช่ต้องรู้ทั้ง สองอย่างเหรอ
รู้ อวิชชา ความก่อเกิดของอินทรีย์หก
และความรู้นั้นเป็น วิชชา คือ เกิด อินทรีย์ห้า

อ่านมาจากสำนวนแปลโดยท่านพุทธทาส อ้างอิง
- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๗๑/๙๐๒


มันต้องพูดว่า......พระอริยะรู้อินทรีย์๖ด้วยอินทรีย์๕ครับ
พระอริยะจะต้องทรงความเป็นอินทรีย์๕อย่างสม่ำเสมอ....ประเด็นนี้คุณคงเข้าใจ นั้นก็เพราะ
องค์มรรคผู้ปฏิบัติคือ อินทรีย์๕ของอริยะ

ถ้าพระอริยะไม่ทรงความเป็นอินทรีย์๕ไว้ ก็จะรู้ไม่ทันผัสสะ
เมื่อเกิดการกระทบขึ้นที่ทวารใด ก็จะหลงไปปรุงแต่งทันที

แต่ถ้าอริยะทรงความเป็นอินทรีย์๕ไว้ เมื่อเกิดการกระทบก็จะรู้ว่า เกิดอินทรีย์ขึ้นแล้ว
ที่ทวารหนึ่งของทวารทั้ง๖

รู้ของอริยะไม่ได้หมายถึงรู้อวิชชา แต่หมายถึงว่ารู้อะไรบ้างที่เป็นอวิชชาเดี๋ยวจะสับสน
ความรู้เรื่องลักษณะของอวิชชา และรู้ลักษณะของวิชชา....รวมเรียกว่า วิชชา
เพราะมันเป็นคุณสมบัติของ อริยะ

อวิชชาที่พระอริยะรู้ จักขุเป็นกาย(ดิน น้ำ ลม ไฟ) ไม่ใช่ธาตุ
แต่ปุถุชนผู้ติดในอวิชชาจะหลงคิดว่า จักขุเป็นธาตุ



อ้างคำพูด:
อวิชชาที่พระอริยะรู้ จักขุเป็นกาย (ดิน น้ำ ลม ไฟ) ไม่ใช่ธาตุ
แต่ปุถุชนผู้ติดในอวิชชาจะหลงคิดว่า จักขุเป็นธาตุ


คิกๆๆ โฮฮับมั่วได้ใจกรัชกายไปเต็มๆ

ไม่เข้าใจจุดประสงค์หลักวิภัชชวาที คือ ท่านจำแนกแยกแยะกาย มโน (กายใจ) เป็นขันธ์ ตัวอย่าง (จักขุ = รวมอยู่กับกาย)

เป็นอายตนะ (จักขวายตนะ)

เป็นธาตุ (จักขุธาต)

เป็นอินทรีย์ (จักขุนทรีย์) เพื่อให้สาธุชนเห็นว่า เป็นสักแต่ว่าขันธ์ เป็นต้น ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา

แต่เจ้ากรรมนายเวรโฮฮับไปคิดสะยังงั้น จึงกลวงใน :b32: นี่แหละอวิชชาแบรนด์เนม อวิชชาของแท้ ไม่ลอกไม่ดำ ขำ :b9: :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 16:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอาหลักวางเทียบให้ดูที่เขาเล่นกัน (แต่ฝ่ายเกิดกิเลสเกิดทุกข์นะ)

อ้าวดู

"อาศัยตาและรูป เกิดจักขุวิญญาณ ความประจวบแห่งธรรมทั้ง ๓ นั้นเป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี บุคคลเสวยอารมณ์ใด ย่อมหมายรู้อารมณ์ นั้น (= สัญญา) หมายรู้อารมณ์ใด ย่อมตริตรึกอารมณ์นั้น (= วิตักกะ) ตริตรึกอารมณ์ใด ย่อมผันพิสดารซึ่งอารมณ์นั้น (= ปปัญจ) บุคคลผันพิสดารซึ่งอารมณ์ใด เพราะการผันพิสดารนั้นเป็นเหตุ ปปัญจสัญญาแง่ต่างๆ * (= สัญญาที่ซับซ้อนหลากหลาย) ย่อมผุดพลุ่งสุมรุมเขา ในเรื่องรูปทั้งหลาย ทีพึงรู้ได้ด้วยตา ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน"

(ต่อไป ว่าด้วยอายตนะ และอารมณ์อื่นๆ จนครบ ๖ คู่ ใจความอย่างเดียวกัน)

(ดู ที.ม.10/256-7/311)


ตา+รูป+จักขุวิญญาณ=ผัสสะ => ต่อจากนี้แล้วแต่คนๆนั้นโง่หรือฉลาด โฮ่ก็อวิชชา (โง่) ถ้าฉลาดก็วิชชา (ปัญญา)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 17:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับนี่เอาหลักธรรมที่ท่านสอนไว้ถูกต้องแล้ว มาต้มยำทำแกงจนเลอะเทอะไปหมด :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2016, 19:55 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:

สังขตธาตุไม่ใช่ขันธ์ห้า ลักษณะของสังขตธาตุหรือธรรมเกิดจากปฏิจจสมปบาท
ส่วนขันธ์ห้าเกิดจากอัตตา

อสังขตธาตุหรือธรรม ไม่ใช่นิพพาน
อสังขตฯเป็นลักษณะของกายใจ ไม่มีการปรุงแต่ง เมื่อไม่มีการปรุงแต่งความเป็นโทสะ
โลภะและโมหะจึงไม่เกิด......แต่กายใจนั้นยังครองภพอยู่ จึงไม่นับเป็นนิพพาน
กายใจที่เป็นลักษณะของอสังขตฯก็คือ การทำสมาบัติและกายใจเป็นเป็นภวังค์(นอนหลับสนิท)

สภาวะที่เป็นนิพพาน จะต้องเป็นสภาวะที่เรียกว่า .....วิสังขาร
กายใจที่รู้สึกตัวรับการกระทบแต่ไม่เกิดการปรุงแต่ง





เมื่อ อสังขตธาตุหรือธรรม ไม่ใช่นิพพาน
ทำไมมี พระสูตรที่ทรงสอนเรื่อง ทางที่จะให้ถึงอสังขตะ ล่ะคะ?

http://www.84000.org/tipitaka/read/?18/674-684


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2016, 07:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:

สังขตธาตุไม่ใช่ขันธ์ห้า ลักษณะของสังขตธาตุหรือธรรมเกิดจากปฏิจจสมปบาท
ส่วนขันธ์ห้าเกิดจากอัตตา

อสังขตธาตุหรือธรรม ไม่ใช่นิพพาน
อสังขตฯเป็นลักษณะของกายใจ ไม่มีการปรุงแต่ง เมื่อไม่มีการปรุงแต่งความเป็นโทสะ
โลภะและโมหะจึงไม่เกิด......แต่กายใจนั้นยังครองภพอยู่ จึงไม่นับเป็นนิพพาน
กายใจที่เป็นลักษณะของอสังขตฯก็คือ การทำสมาบัติและกายใจเป็นเป็นภวังค์(นอนหลับสนิท)

สภาวะที่เป็นนิพพาน จะต้องเป็นสภาวะที่เรียกว่า .....วิสังขาร
กายใจที่รู้สึกตัวรับการกระทบแต่ไม่เกิดการปรุงแต่ง





เมื่อ อสังขตธาตุหรือธรรม ไม่ใช่นิพพาน
ทำไมมี พระสูตรที่ทรงสอนเรื่อง ทางที่จะให้ถึงอสังขตะ ล่ะคะ?

http://www.84000.org/tipitaka/read/?18/674-684



ที่ท่านต้องเน้นสอนเรื่องทางที่จะให้ถึงอสังขตะ ก็เพราะ......
อสังขตะเป็นองค์มรรคของนิพพานนั้นมีวิถีหรือการเข้าถึงเป็นการเฉพาะ
นั้นก็คือ อสังขตะเกิดได้กับทุกคน .....เพียงแต่อสังขตของพระอรหันต์
วิถีหรือการเข้าถึง ต้องเป็น โพธิปักขิยธรรม(การปฏิบัติ)


อธิบาย กายใจของบุคคลเมื่อมีการกระทบ จะเกิดเป็น......สังขตะ
กายใจของปุถุชนจะเข้าไปยึดตัวสังขตที่ดับไปแล้วนั้น กายใจของปุถุชนก็จะเป็นอัตตาและขันธ์
ตรงข้ามกับอรหันต์ เมื่อมีสังขตมากระทบกายใจ ท่านรู้ว่าสังขตที่มากระทบเป็นอนัตตา แล้วจึงปล่อยวาง
ไม่เข้าไปยึดสิ่งที่เป็นอนัตตา(สังขตที่ดับไปแล้ว) ......กายใจจึงไม่เป็นอัตตาหรือขันธ์
ลักษณะเช่นนี้ท่านเรียกว่า.....อสังขตะ ความหมายก็คือไม่เข้าไปข้องเกี่ยวกับ สังขตะนั้นเอง

ยังมีอีกกรณีหนึ่งก็คือ ปุถุชนที่มีสภาวธรรมที่เรียกว่า ภวังค์(หลับ)
กายใจของปุถุชนนั้นก็เป็นอสังขตะเช่นกัน ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะในขณะตกในในภวังค์ปุถุชนนั้น
จะไม่มีหรือไม่รับรู้สิ่งที่มากระทบ.....นั้นก็หมายความว่า ยังไม่เกิดสังขตะ เช่นนี้กายใจของปุถุชน
จึงเป็นอสังขตเช่นกัน ......เพียงแต่อย่าลืมว่าปุถชนยังไม่ได้ผ่านการเจริญปัญญาด้วยสติปัฏฐาน
และโพธิปักขิยธรรม

ฉะนั้นกายใจของปุถุชนยังมีอัตตาอยู่ ในขณะที่ตกภวังค์ กายใจของปุถุชนจึงยังคงยึดถือภพในปฏิจจฯ ที่เป็นเช่นนี้ไม่ใช่เพราะกายใจเป็นผู้กระทำ แต่เป็นเพราะกฎเกณท์ทางธรรมชาติที่เรียกว่า
ธรรมฐิติ อิทัปปจยตา

สรุปก็คือ ความสำคัญของอสังขตะนั้น ต้องขึ้นอยู่กับวิถีที่ให้ถึงอสังขตะ
อสังขตะของอรหันต์ ทางที่ให้ถึงก็คือ......การปฏิบัติในโพธิปักขิยธรรม

ส่วนอสังขตะของปุถุชนและอริยะบางระดับ มันเป็นเรื่องของธรรมชาติ
กายใจที่ว่ายังไม่ปล่อยวางกฎแห่งธรรมชาตินี้ มันก็ยังวนเวียนกับธรรมชาติที่ว่า(วัฏฏสงสาร)


ปล.เพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจ อสังขตะหมายถึงกายใจที่ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับตัวสังขตะ
อย่างหนึ่งไม่ยุ่งเพราะรู้ว่าเป็น อนัตตา(มีความรู้สึกรับรู้) อีกอย่างไม่ยุ่งเพราะไม่มีความรู้สึกหลับหรือสลบ
อสังขตะของบุคคลมันต่างกันตรงที่มาครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2016, 08:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เข้าใจมากขึ้นค่ะ ขอบคุณค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2016, 15:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
student เขียน:
ผมว่าทรงไว้
เรียกความเป็นใหญ่

ตาเอาไว้มอง
หูเอาไว้ฟัง
เป็นต้น


อธิบายให้ฟังสำหรับผู้มีความมุ่งหมั่นตั้งใจ :b13:

ลักษณะของการทรงไว้ ในที่นี้ท่านหมายถึงสภาวธรรมครับ
สภาวธรรมใดที่สามารถทรงความเป็นปัจจุบันธรรมได้นั้น....ท่านเรียกปัจจุบันธรรมนั้นว่า อินทรีย์ครับ

ในขณะที่ตามองเห็นวัตถุธรรม สิ่งที่ทรงความป็นใหญ่ในขณะนั้นเรียกว่า ...จักขุนทรีย์
หรือในขณะที่หูกำลังได้ยิน สิ่งที่ทรงความเป็นใหญ่ขณะนั้นเรียกว่า... โสตินทรีย์ .


การทรงไว้ไม่ใช่ธาตุอย่างที่นายกรัชกายแกมั่วหรอกครับ :b32:



ทำให้นึกถึง พระสูตร ที่ตรัสว่า...
เมื่อใดที่ อริยสาวก มารู้จักความก่อขึ้นแห่งอินทรีย์หก...ฯ ท่าน เรียกว่า เป็นพระโสดาบัน


ต้องเป็นอินทีย์๕ครับ ไม่ใช่๖ บุคคลผู้เข้าถึงความเป็นอินทรีย์คืออริยะ เริ่มแต่โสดาบัน
อินทรีย์๕ที่ว่า ก็ได้แก่.... สตินทรีย์ ๑ ปัญญินทรีย์ ๑ สัทธินทรีย์ ๑ วิริยินทรีย์ ๑ สมาธินทรีย์ ๑

Duangrat เขียน:

แล้ว ธาตุ เป็นการทรงไว้ ของสภาวธรรม ที่เป็นปัจจุบันธรรม
แสดงว่า ธาตุ ท่านทรงใช้เรียกทั้ง ฝั่งอวิชชา และฝั่งมีวิชชาแล้ว ใช่ไหมคะ?


ยกตัวอย่าง ในขณะที่ตาเห็นภาพ กายใจจะไปรับรู้ความรู้สึกที่ปสาทตา
ปัจจุบันขณะนี้เรียกว่า..... จักขุนทรีย์........นี่คือวิชชา คือบุคคลมีสัมปชัญญะรู้ทันผัสสะ

แต่ถ้าเป็นในขณะที่ตาเห็นภาพ กายใจหลงไม่รับรู้ ไปรู้สึกอีกที่ก็ที่มโนทวาร
นี้คือ การปรุงแต่ง(ไม่เห็นสภาพความเป็นจริง) และลักษณะของการปรุงก็คือ
สมอง(มโนทวาร) จะคิดฟุ้งซ่านว่า ตาเห็นภาพที่ชอบใจหรือไม่ชอบใจ.....นี่คือ อวิชชา
วิชชากับอวิชชาต่างกันตรงนี้

กับคำจักขุธาตุจะใช้ว่าทรงไว้ไม่ได้ ถ้ากล่าวว่าทรงไว้ซึ่งจักขุธาตุเท่ากับเป็นอวิชชา
สิ่งที่เป็นธาตุแท้ และก็ทรงไว้ไว้ตลอดเวลาก็คือ ธาตุ๔ในมหาภูติรูป๔
จักขุธาตุเป็นอุปาทายรูป ก็คือเกิดจากการปรุงแต่งอันมีมหาภูติรูป๔เป็นเหตุปัจจัย
แท้จริงแล้ว ตามสภาพธรรมที่เป็นจริง จักขุก็คือ ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ นั้นเอง
คำว่า หู ตา จมูกเกิดจากการปรุงแต่งของ นามรูปในปฏิจจฯ

Kiss
อ้างคำพูด:
แท้จริงแล้ว ตามสภาพธรรมที่เป็นจริง จักขุก็คือ ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ นั้นเอง
คำว่า หู ตา จมูกเกิดจากการปรุงแต่งของ นามรูปในปฏิจจฯ

:b12:
คุณโฮฮับคะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นส่วนประกอบของอวัยวะในร่างกายเป็นรูปที่เกิดจากกรรม

ร่างกายนี้ที่เป็นมหาภูตรูปประกอบด้วยธาตุ4ดิน น้ำ ลม ไฟ ที่มีการประกอบกันเข้าของอุปาทายรูป4

คือต้องมีสี กลิ่น รส โอชา เนื่องจากเป็นรูปที่เกิดจากกรรมที่เกิดจากจิตจึงมีวิญญาณเพิ่มอีก1อย่าง

รวมแล้วที่ร่างกายนี้ประกอบด้วยรูป9รูปอย่างน้อยไม่ว่าจะเป็นอวัยวะใดในร่างกายนี้หรือสิ่งมีชีวิตอื่น

ฉะนั้นที่มหาภูตรูปแต่ละรูปที่ปรากฏที่ไม่มีชีวิตจึงเกิดจากอุตุ(ความร้อน-เย็นที่ทำให้เกิดเป็นสิ่งต่างๆ)

การประกอบกันของทุกสิ่งที่มหาภูตรูปจึงเท่ากับธาตุสี่+อุปาทายรูป4ฐานที่มหาภูตรูปไม่ใช่มีแค่ธาตุ4

เพราะที่ใดมีมหาภูตรูปที่นั่นต้องมีสีกลิ่นรสโอชา ไม่อย่างนั้นก็จะไม่มีการปรากฏของรูปที่มหาภูตรูป

ทุกสิ่งจึงเป็นการประกอบกันของธาตุ4และอุปาทายรูป4รวมเป็น8รูปอย่างน้อย ส่วนการเิกิดของรูป

เกิดได้4แบบ มีรูปที่เกิดจาก 1)อาหาร 2)จิต 3)กรรม 4)อุตุ(ความเย็น-ร้อน) จักขุธาตุไม่ใข่แค่ธาตุ4
:b34:
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.ค. 2016, 04:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
ผมว่าทรงไว้
เรียกความเป็นใหญ่

ตาเอาไว้มอง
หูเอาไว้ฟัง
เป็นต้น

ธาตุ ก็อย่างหนึ่ง
อินทรีย์ หรือความเป็นใหญ่ก็อย่างหนึ่ง
รู้ได้อย่างไรว่า ไม่เหมือนกับที่ student เข้าใจ
ดู
อภิธรรมปิฏกเล่มที่ 35 วิภังคปกรณ์ครับ
ยกตัวอย่าง
สัก 1ธาตุ คือกามธาตุนะครับ
ในวิภังคปกรณ์จำแนกไว้อย่างนี้ครับ
Quote Tipitaka:
[๑๐๘๗] ในกามธาตุ มีขันธ์เท่าไร ฯลฯ มีจิตเท่าไร
ในกามธาตุ มีขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ สัจจะ ๓ อินทรีย์ ๒๒
เหตุ ๙ อาหาร ๔ ผัสสะ ๗ เวทนา ๗ สัญญา ๗ เจตนา ๗ จิต ๗
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=13973&Z=14102&pagebreak=0


จะเห็นได้ว่า ธาตุ บอกคุณลักษณะธรรมชาติของสิ่งนั้น ทรงไว้ซึ่งลักษณะของสิ่งนั้น เข้าใจง่ายๆคร่าวๆเช่นนี้ก่อนนะครับ
ส่วนอินทรีย์เป็นรายละเอียดเพียงส่วนหนึ่งของธาตุนั้นๆ

กามธาตุ เป็นหมวดย่อยของ สังขตธาตุนะครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.ค. 2016, 07:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
student เขียน:
ผมว่าทรงไว้
เรียกความเป็นใหญ่
ตาเอาไว้มอง หูเอาไว้ฟัง เป็นต้น

ธาตุ ก็อย่างหนึ่ง
อินทรีย์ หรือความเป็นใหญ่ก็อย่างหนึ่ง
รู้ได้อย่างไรว่า ไม่เหมือนกับที่ student เข้าใจ
ดู
อภิธรรมปิฏกเล่มที่ 35 วิภังคปกรณ์ครับ
ยกตัวอย่าง
สัก 1ธาตุ คือกามธาตุนะครับ
ในวิภังคปกรณ์จำแนกไว้อย่างนี้ครับ
Quote Tipitaka:
[๑๐๘๗] ในกามธาตุ มีขันธ์เท่าไร ฯลฯ มีจิตเท่าไร
ในกามธาตุ มีขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ สัจจะ ๓ อินทรีย์ ๒๒
เหตุ ๙ อาหาร ๔ ผัสสะ ๗ เวทนา ๗ สัญญา ๗ เจตนา ๗ จิต ๗
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=13973&Z=14102&pagebreak=0


เรื่อยเปื่อย! คำว่ากามธาตุในอภิธรรมบทนี้ กามไม่ได้เป็น ธาตุ
โดยเนื้อหาแล้ว ท่านบอกว่า กามและธาตุ กามก็อย่างหนึ่ง ธาตุก็อย่างหนึ่ง


คุณเช่นนั้นแกมั่วครับ แกอ่านพระไตรปิฎกไม่เป็น พอเห็นตัวหนังสือที่คล้ายกัน
ก็ก็รีบร้อนอ้าง แต่ที่ไหนได้มันคนละเรื่อง นกแก้วนกขุนทองครับ


ในอภิธรรมภาชนีย์ ในหัวข้อที่๑๒๔ท่านกล่าวไว้ว่าบัญญัติใดเป็นธาตุ
ซึ่งธรรมบทนี้ เป็นหัวข้อที่จะต้องทำความเข้าใจเสียก่อน ที่จะไปอ้างวิภังคปรณ์ในข้อ ๑๐๘๗

อภิธรรมภาชนีย์

[๑๒๔] ธาตุ ๑๘ คือ
๑. จักขุธาตุ
๒. รูปธาตุ
๓. จักขุวิญญาณธาตุ
๔. โสตธาตุ
๕. สัททธาตุ
๖. โสตวิญญาณธาตุ
๗. ฆานธาตุ
๘. คันธธาตุ
๙. ฆานวิญญาณธาตุ
๑๐. ชิวหาธาตุ
๑๑. รสธาตุ
๑๒. ชิวหาวิญญาณธาตุ
๑๓. กายธาตุ
๑๔. โผฏฐัพพธาตุ
๑๕. กายวิญญาณธาตุ
๑๖. มโนธาตุ
๑๗. ธรรมธาตุ
๑๘. มโนวิญญาณธาตุ



ในอภิธรรมภาชนีย์บทนี้ซึ่งเป็นหัวข้อที่จะต้องทำควา่มเข้าใจก่อน
ที่จะไปศึกษาในหัวข้อต่อไป เช่นนั้นเอาเรื่องกามธาตุในวิภังคปกรณ์มาอ้างด้วยความเขลา
หารู้ไม่ว่า ทำให้พระธรรมขัดแย้งกัน

ขอถามคุณเช่นนั้นว่า ไอ้กามธาตุที่คุณมั่วอ้าง
มันอยู่ตรงใหนในธาตุ๑๘ครับ


เช่นนั้น เขียน:
จะเห็นได้ว่า ธาตุ บอกคุณลักษณะธรรมชาติของสิ่งนั้น ทรงไว้ซึ่งลักษณะของสิ่งนั้น เข้าใจง่ายๆคร่าวๆเช่นนี้ก่อนนะครับ
ส่วนอินทรีย์เป็นรายละเอียดเพียงส่วนหนึ่งของธาตุนั้นๆ

กามธาตุ เป็นหมวดย่อยของ สังขตธาตุนะครับ


เลอะเทอะ! ในวิภังปกรณ์บทนี้ ท่านไม่ได้กล่าวถึงคุณสมบัติของธาตุ
แต่ในความหมายที่ท่านสื่อก็คือ.....
ท่านบอกว่า กามและธาตุ เป็นเหตุให้เกิดธรรมอะไรได้บ้าง มันไม่ใช่กามเป็นธาตุ ...กามไม่ใช่ธาตุ

บอกหลายครั้งแล้วว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา(เกิดแล้วดับไป)
ยังมาพูดเป็นนกแก้วว่า นั้นเป็นนี้ นี้เป็นนั้น
ธรรมเป็นได้แค่เหตุมันเกิดแล้วก็ดับได้ผลมาแทนที่

พูดมาได้ไงว่าอินทรีย์เป็นส่วนหนึ่งของธาตุ....สักกายทิฐิ วิจิกิจฉาแท้หนอ!


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 71 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 24 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร