วันเวลาปัจจุบัน 25 เม.ย. 2024, 22:01  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 69 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 08:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มีคนเขาถามเห็นว่ามีประโยชน์ ก็เลยเอามาตั้งกระทู้และถือวิสาสะตอบในลานธรรมจักรซะเลย
เริ่มต้นด้วยการโพสเนื้อหาไว้ก่อน และอยากเชิญชวนให้กรัชกายขาประจำมาประเดิมเจิ่มป้าย

ดูซิจะว่าไง เห็นชอบทำตัวเป็นบัณฑิต(ก๊อปปี้) ที่มากด้วยเนื้อหา
แต่อยากรู้ว่าจะมีคุณค่าในปริมาณที่ก๊อปปี้เขามามั้ย :b32:


รูปภาพ

http://pantip.com/topic/35307069


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 09:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


บังเอิญแวะเข้ามาดู

ขออนุญาติลองตอบก่อนคุณกรัธกาย
ผมจะได้รู้ว่าข้อผิดพลาดในการตอบอย่างไรของตัวเอง

วิญญาณในขันธ์5คือธาตุรู้

วิญญาณในปฏิจจสมุปบาทคือจิตจุตติ

เช่น วิญญาณในขันธ์5อยู่ในส่วนของ ผัสสะ ในปฎิจจสมุปบาท

สัญญาเป็นความจำได้หมายรู้ น่าจะอยู่ในส่วนของนามรูปในปฏิจจสมุปบาท

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 09:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เขาหลงอะไรรู้ไหม คือ หลงศัพท์ที่เขานำมาเองนั่นแหละ

ชีวิตมีชีวิตเดียว

ตอน ชีวิตคืออะไร ท่านจับแต่ละศัพท์ๆ (ชื่อ) มาอธิบายเป็นรายตัว ตอนนี้ว่าด้วยขันธ์ ๕

ตอน ชีวิตเป็นไปอย่างไร (ก็ชื่อศัพท์ตอนชีวิตคืออะไรนั่น แต่จะเปลี่ยนชื่อไป) ตอนนี้ตอนปฏิจจสมุปบาท

ท่านอุปมายังงี้

ตอนชีวิตคืออะไร อุปมาเหมือนการอธิบายชื้นส่วนของรถซึ่งจอดอยู่กับที่ นั่นนี่ ชื่อยังงั้น ยังงี้

ตอนชีวิตเป็นไปอย่างไร อุปมาเหมือนรถที่แล่นไป ตอนนี้ทุกอย่างจะทำงานร่วมกันเป็นปัจจัยกันและกันหนุนกันและกัน

พอเข้าใจไหม :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 09:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ตราบใดที่เรายังไม่เข้าใจชีวิตนี้ ที่เดินแกว่งไปแกว่งมา ส่ายไปส่ายมานี่ละก็ ไม่มีทางเข้าใจพุทธธรรม เพราะพุทธธรรมพูดถึงชีวิตนี้ โดยเฉพาะนามธรรมนี่มันลึกซึ้่งยิ่งนัก :b1:

ที่พวกเราพูดกันอยุ่นี่ ไปจับเอาชื่อที่ท่านใช้แทนกันได้ ที่ว่าเป็นไวพจน์กัน ความหมายไวพจน์ทางธรรมโฮฮับยังไม่เข้าใจ คิดไปว่า ไวพจน์ นักร้อง คิกๆๆ

เอานะ แค่ชื่อจิต ใจ วิญญาณ ก็หงายท้องแล้ว :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 10:41 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จขกท ผู้ถามในพันทิป

"ที่ปฏิจจสมุปบาทว่าสังขารเป็นเหตุแห่งวิญญาณ แต่มีความคิดว่าแล้วสัญญาล่ะไม่เป็นเหตุให้เกิดวิญญาณเหรอ"

....

ผู้ถามเขา เอาเรื่องของปฏิจจฯ มาปนกะเรื่องขบวนการเกิดขันธ์๕

สังขาร เป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ นั้นเป็นเรื่องมาปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท เรื่องนอกกายใน เป็นธรรมฐิติ คือธรรมดาของธรรมชาติมันเป็นอย่างนั้น

แต่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นสังขตธรรม ที่เกิดในกายใจบุคคล เป็นเหตุให้เกิดขันธ์๕
สังขตธรรม เกิดหลังผัสสะ ก็หมายถึงเกิดหลังวิญญาณไปรู้การกระทบ ทางทวารทั้ง๖


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 10:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
จขกท ผู้ถามในพันทิป

"ที่ปฏิจจสมุปบาทว่าสังขารเป็นเหตุแห่งวิญญาณ แต่มีความคิดว่าแล้วสัญญาล่ะไม่เป็นเหตุให้เกิดวิญญาณเหรอ"

....

ผู้ถามเขา เอาเรื่องของปฏิจจฯ มาปนกะเรื่องขบวนการเกิดขันธ์๕

สังขาร เป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ นั้นเป็นเรื่องมาปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท เรื่องนอกกายใน เป็นธรรมฐิติ คือธรรมดาของธรรมชาติมันเป็นอย่างนั้น

แต่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นสังขตธรรม ที่เกิดในกายใจบุคคล เป็นเหตุให้เกิดขันธ์๕
สังขตธรรม เกิดหลังผัสสะ ก็หมายถึงเกิดหลังวิญญาณไปรู้การกระทบ ทางทวารทั้ง๖



ถ้าพูดถึงขันธ์ ๕ จบตอน ซึ่งรวมแล้วก็ชีวิตหนึ่งนี่ จบ

คำว่า "ปฏิจจสมุปบาท" (เติมให้อีกก็ได้ - อิทัปปัจจยตาปฏิจจสมุปบาท) แปลว่า สิ่งที่อาศัยกันและกันเกิดขึ้น เป็นชื่อเรียกองค์ธรรม ทั้ง 12 องค์นั่นแหละว่า มันอาศัยกันและกันเกิด (อาศัยกันและกันดับ) ตามหน้าที่ของมัน

นี่เข้าใจผิดเลยครับ

อ้างคำพูด:
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นสังขตธรรม ที่เกิดในกายใจบุคคล เป็นเหตุให้เกิดขันธ์๕


รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ก็คือ กาย กับ ใจ (กาย - มโน) มันเป็นบุคคลคนหนึ่ง เป็นชีวิตหนึ่งแล้ว

แล้วจะให้เป็นเหตุให้เกิดขันธ์ ๕ มาแต่ไหนอีกเล่า เกิดในกายใจบุคคลมาแต่ไหนอีกเล่า

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 12:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
พระปริยัติธรรมที่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ค่ะ
คือรู้ความจริงของสิ่งที่กำลังมีกำลังปรากฏให้รู้แต่ละ1ขณะเดี๋ยวนี้เอง
ทรงจำแนกรายละเอียดไว้อย่างครบถ้วนเพื่อไม่ให้ไปคิดต่อเอาเองค่ะ
การศึกษาไม่จะเอ่ยคำไหนหรือเรื่องใดในพระไตรปิฎกคือปัจจุบัน
:b8:
สัญญาคือความจำ สังขารคือการปรุงแต่ง วิญญาณคือความรับรู้ค่ะ
ถ้าไปติดในคำก็จะสงสัยแต่ถ้าสนทนาในภาษาไทยคำว่าสัญญา
เป็นสภาพรู้เป็นสภาพจำขณะนี้ที่กำลังรู้ผ่านตาหูจมูกลิ้นกายใจ
ก็จำได้ทั้งจำภาพที่เห็นจำความรู้สึกที่กำลังคิดอยู่นี่แหละว่ามี
เป็นการปรุงแต่งไปตามความคิดว่าเป็นตัวตนคนสัตว์สิ่งของ
ความรับรู้+ความจำ+การปรุงแต่งนี้เองที่เป็นเหตุและผล
ทำให้มีการสะสมความคิดที่จำผิดว่าเป็นอัตตาตัวตน
วิญญาณตามคำสอนคือจิตเป็นสภาพรู้ไม่ใช่คิดจำ
การคิดจำไปตามการหลงในสิ่งที่เพียงแต่ปรากฏ
ไม่รู้ความจริงเรียกว่ามีกิเลสเป็นเครื่องร้อยรัด
เป็นโลภะติดข้องโทสะขุ่นเคืองโมหะหลงผิด
เกิดการปรุงแต่งในความมีเป็นเห็นได้ต่างๆ
คือตัณหา3 กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา
กามตัณหาคือพอใจในรูปรสกลิ่นเสียงสัมผัสคิดนึก
ภวตัณหาคืออยากได้อยากมีในสิ่งที่ทำให้มีความสุข
วิภวตัณหาคือไม่อยากได้ในสิ่งที่ทำให้เกิดทุกข์ลำบาก
ความสอดคล้องกันตั้งแต่ต้นลงมาก็คือการหลงผิดในตัวตน
ที่เกดจากจิตจำผิดคลาดเคลื่อนโดยการปรุงแต่งด้วยความไม่รู้จริงๆ
:b17:
:b4: :b20:


แก้ไขล่าสุดโดย Rosarin เมื่อ 24 มิ.ย. 2016, 12:18, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 12:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
จขกท ผู้ถามในพันทิป

"ที่ปฏิจจสมุปบาทว่าสังขารเป็นเหตุแห่งวิญญาณ แต่มีความคิดว่าแล้วสัญญาล่ะไม่เป็นเหตุให้เกิดวิญญาณเหรอ"

....

ผู้ถามเขา เอาเรื่องของปฏิจจฯ มาปนกะเรื่องขบวนการเกิดขันธ์๕

สังขาร เป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ นั้นเป็นเรื่องมาปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท เรื่องนอกกายใน เป็นธรรมฐิติ คือธรรมดาของธรรมชาติมันเป็นอย่างนั้น

แต่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นสังขตธรรม ที่เกิดในกายใจบุคคล เป็นเหตุให้เกิดขันธ์๕
สังขตธรรม เกิดหลังผัสสะ ก็หมายถึงเกิดหลังวิญญาณไปรู้การกระทบ ทางทวารทั้ง๖


ใช้ได้ ยอดเยี่ยมครับ! :b17:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 12:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
ตัณหา ทาโส มหาศาลคือไม่รู้น๊า
เป็นทาสความอยาก
ทั้งอยากได้และไม่อยากได้
เพราะมีความไม่รู้เป็นกิเลส
ไม่ดี=1โลภะ+โมหะ2โทสะ+โมหะ
:b16:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 12:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
บังเอิญแวะเข้ามาดู

ขออนุญาติลองตอบก่อนคุณกรัธกาย
ผมจะได้รู้ว่าข้อผิดพลาดในการตอบอย่างไรของตัวเอง

วิญญาณในขันธ์5คือธาตุรู้

วิญญาณในปฏิจจสมุปบาทคือจิตจุตติ

เช่น วิญญาณในขันธ์5อยู่ในส่วนของ ผัสสะ ในปฎิจจสมุปบาท

สัญญาเป็นความจำได้หมายรู้ น่าจะอยู่ในส่วนของนามรูปในปฏิจจสมุปบาท


ที่พูดมาทั้งหมด......ไม่ใช่ครับ

วิญญานไม่ใช่ขันธ์ และไม่ได้อยู่ในขันธ์ห้า
ความหมาย ขันธ์ห้า ในส่วนของวิญญานขันธ์ ไม่ใช่วิญญาน
แต่ความหมายของบัญญัติหมายถึง วิญญานเป็นเหตุแห่งขันธ์
วิญญานเป็นอนัตตาเกิดแล้วก็ดับไป แต่เพราะความไม่รู้ทำให้กายใจหลงเข้ายึด
ในสิ่งที่ไม่ใช่ตัวตน(ดับไปแล้ว ไม่มีธรรมตัวนี้แล้ว) เมื่อกายยึดเอาความไม่มีตัวตน
จึงเกิดเป็นความยึดมั่นที่เรียกว่าอัตตาหรือก็คือขันธ์ในภายหลังนั้นเอง

วิญญานไม่ได้อยู่ในขันธ์ห้า แต่อยู่ในสังขตธรรม
วิญญานขันธ์ซึ่งไม่ใช่วิญญาน จึงจะอยู่ในขันธ์ห้า

วิญญานไม่ใช่ธาตุรู้ ธาตุรู้เป็นเรื่องของกายใจ
วิญญานเป็นกฎเกณท์ทางธรรมชาติ ที่ทำให้กายใจรับรู้ความรู้สึกที่ทวารทั้งหก


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 12:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
อ้างคำพูด:
คำว่า "ปฏิจจสมุปบาท" (เติมให้อีกก็ได้ - อิทัปปัจจยตาปฏิจจสมุปบาท) แปลว่า สิ่งที่อาศัยกันและกันเกิดขึ้น เป็นชื่อเรียกองค์ธรรม ทั้ง 12 องค์นั่นแหละว่า มันอาศัยกันและกันเกิด (อาศัยกันและกันดับ) ตามหน้าที่ของมัน

:b27:
คุณกรัชกายดูความสับสนอลหม่านไม่เข้าใจคำสอนของคุณโฮฮับ
:b13:
โฮฮับ เขียน:
student เขียน:
บังเอิญแวะเข้ามาดู

ขออนุญาติลองตอบก่อนคุณกรัธกาย
ผมจะได้รู้ว่าข้อผิดพลาดในการตอบอย่างไรของตัวเอง

วิญญาณในขันธ์5คือธาตุรู้

วิญญาณในปฏิจจสมุปบาทคือจิตจุตติ

เช่น วิญญาณในขันธ์5อยู่ในส่วนของ ผัสสะ ในปฎิจจสมุปบาท

สัญญาเป็นความจำได้หมายรู้ น่าจะอยู่ในส่วนของนามรูปในปฏิจจสมุปบาท


ที่พูดมาทั้งหมด......ไม่ใช่ครับ

วิญญานไม่ใช่ขันธ์ และไม่ได้อยู่ในขันธ์ห้า
ความหมาย ขันธ์ห้า ในส่วนของวิญญานขันธ์ ไม่ใช่วิญญาน
แต่ความหมายของบัญญัติหมายถึง วิญญานเป็นเหตุแห่งขันธ์
วิญญานเป็นอนัตตาเกิดแล้วก็ดับไป แต่เพราะความไม่รู้ทำให้กายใจหลงเข้ายึด
ในสิ่งที่ไม่ใช่ตัวตน(ดับไปแล้ว ไม่มีธรรมตัวนี้แล้ว) เมื่อกายยึดเอาความไม่มีตัวตน
จึงเกิดเป็นความยึดมั่นที่เรียกว่าอัตตาหรือก็คือขันธ์ในภายหลังนั้นเอง

วิญญานไม่ได้อยู่ในขันธ์ห้า แต่อยู่ในสังขตธรรม
วิญญานขันธ์ซึ่งไม่ใช่วิญญาน จึงจะอยู่ในขันธ์ห้า

วิญญานไม่ใช่ธาตุรู้ ธาตุรู้เป็นเรื่องของกายใจ
วิญญานเป็นกฎเกณท์ทางธรรมชาติ ที่ทำให้กายใจรับรู้ความรู้สึกที่ทวารทั้งหก

Onion_L


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 12:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
วิญญาณในปฏิจจสมุปบาทคือจิตจุตติ
เช่น วิญญาณในขันธ์5อยู่ในส่วนของ ผัสสะ ในปฎิจจสมุปบาท


วิญญานเป็นองค์ธรรม(องค์ประกอบ)ของปฏิจจสมุปบาท
วิญญานไม่ใช่จิต แต่เป็นเหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดกระบวนการแห่งจิต

ปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมชาติ เป็นคนละส่วนกับกายใจ
แต่กายใจไม่สามารถหลีกเลี่ยงปฏิจจฯได้
เมื่อกายใจเกิดการกระทบ ทุกครั้งจะเกิดปฏิจจฯ ในลักษณะของสังขตธรรม

แยกแยะให้ดีระหว่างปฏิจจสมุปบาทกับขันธ์ห้า
ปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมชาตินอกกายใจ แต่ขันธ์ห้าเป็นธรรมชาติภายในกายใจ
ปฏิจจสมุปบาทเป็นต้นเหตุแห่งขันธ์ห้า


student เขียน:
สัญญาเป็นความจำได้หมายรู้ น่าจะอยู่ในส่วนของนามรูปในปฏิจจสมุปบาท


สัญญาคือความจำได้หมายรู้ แต่ไม่ใช่การจำได้หมายรู้แบบความจำในสมอง
สัญญาเป็นธรรมที่ทำให้กายใจจำลักษณะของวัตถุธรรมที่มากระทบได้
เช่น รู้ว่านั้นคือเสียง(ดัง เบา) รู้ว่านั้นคือรส(ขม หวาน)เป็นต้น

ความคิดและความจำอันเกิดขึ้นที่สมอง(มโนทวาร) ท่านเรียกว่า....ธัมมารมณ์ ไม่ใช่สัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 13:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เขาหลงอะไรรู้ไหม คือ หลงศัพท์ที่เขานำมาเองนั่นแหละ
ชีวิตมีชีวิตเดียว


นี่แหละน้า เป็นเพราะชอบลอกบทความคนอื่น ไม่รู้จักใช้สมองตนเอง
ผลทำให้พูดจาเหมือนคนที่ติดนิยายดร่าม่า
โอ่ป่ะกรัชกาย สงสัยกำลังอินซีรีย์เกาหลีแหง่ๆ :b32:

พุทธพจน์ไม่มีคำว่าชีวิต คำว่าชีวิตเป็นโวหารของปุถุชน ซึ่งผู้ใดกล่าวถึง"ชีวิต"
แสดงให้รู้ว่า ผู้พูดยังติดในอวิชชาหาได้เข้าใจว่า สิ่งใดเป็นมิจฉา(สัตตทิฐิ)
พระพุทธองค์ตรัสเรียก สิ่งมีชีวิตว่า สัตว์โลก(สัตตานัง) โดยแยกเป็น เดรัจฉานและบุคคล

และการที่จะพูดถึงมรรคปฏิบัติจะต้องเรียกผู้ปฏิบัติว่า บุคคล
ท่านไม่เรียกว่า "ชีวิต"หรือ"คน" เหมือนอย่างที่โอป่ะกรัชกายชอบมั่ว

กรัชกาย เขียน:

ตอน ชีวิตคืออะไร ท่านจับแต่ละศัพท์ๆ (ชื่อ) มาอธิบายเป็นรายตัว ตอนนี้ว่าด้วยขันธ์ ๕
ตอน ชีวิตเป็นไปอย่างไร (ก็ชื่อศัพท์ตอนชีวิตคืออะไรนั่น แต่จะเปลี่ยนชื่อไป) ตอนนี้ตอนปฏิจจสมุปบาท


ชีวิตคืออะไร หรือชีวิตเป็นอย่างไร มันเป็นเรื่องของปรัชญาหรือไม่ก็เป็นเรื่องนวนิยายไปนู้น
เป็นเพราะคนที่เขียนบทความไม่รู้ธรรม ก็เลยหลงเอามาพูดจนธรรมของพุทธองค์เลอะเทอะไปหมด

กรัชกาย เขียน:
ท่านอุปมายังงี้

ตอนชีวิตคืออะไร อุปมาเหมือนการอธิบายชื้นส่วนของรถซึ่งจอดอยู่กับที่ นั่นนี่ ชื่อยังงั้น ยังงี้

ตอนชีวิตเป็นไปอย่างไร อุปมาเหมือนรถที่แล่นไป ตอนนี้ทุกอย่างจะทำงานร่วมกันเป็นปัจจัยกันและกันหนุนกันและกัน

พอเข้าใจไหม :b32:


ถามจริงกรัชกายแยกโวหารออกมั้ย ที่กรัชกายละเลงอยู่เนี่ยเขาเรียกโวหาร
ลักษณะของโวหาร มันไม่มีจุดยืนที่แน่นอน(ไม่ใช่สัจจะ) มันสามารถเปลี่ยนแปลงไปตาม
ความคิดความปรุงแต่งของคนพูด......สรุปก็คือกำลังเอาความปรุงแต่งมาละเลงธรรม
หัดไปแยกแยะให้ออกก่อนว่า อะไรเป็นพุทธพจน์ อะไรเป็นโวหาร เห็นมั่วมาหลายปีแล้ว
ปัญญาไม่กระเตื่องเลยสักนิด


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 13:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


อนุโมทนาครับกับคำตอบ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 14:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เขาหลงอะไรรู้ไหม คือ หลงศัพท์ที่เขานำมาเองนั่นแหละ
ชีวิตมีชีวิตเดียว


นี่แหละน้า เป็นเพราะชอบลอกบทความคนอื่น ไม่รู้จักใช้สมองตนเอง
ผลทำให้พูดจาเหมือนคนที่ติดนิยายดร่าม่า
โอ่ป่ะกรัชกาย สงสัยกำลังอินซีรีย์เกาหลีแหง่ๆ :b32:

พุทธพจน์ไม่มีคำว่าชีวิต คำว่าชีวิตเป็นโวหารของปุถุชน ซึ่งผู้ใดกล่าวถึง"ชีวิต"
แสดงให้รู้ว่า ผู้พูดยังติดในอวิชชาหาได้เข้าใจว่า สิ่งใดเป็นมิจฉา(สัตตทิฐิ)
พระพุทธองค์ตรัสเรียก สิ่งมีชีวิตว่า สัตว์โลก(สัตตานัง) โดยแยกเป็น เดรัจฉานและบุคคล

และการที่จะพูดถึงมรรคปฏิบัติจะต้องเรียกผู้ปฏิบัติว่า บุคคล
ท่านไม่เรียกว่า "ชีวิต"หรือ"คน" เหมือนอย่างที่โอป่ะกรัชกายชอบมั่ว

กรัชกาย เขียน:

ตอน ชีวิตคืออะไร ท่านจับแต่ละศัพท์ๆ (ชื่อ) มาอธิบายเป็นรายตัว ตอนนี้ว่าด้วยขันธ์ ๕
ตอน ชีวิตเป็นไปอย่างไร (ก็ชื่อศัพท์ตอนชีวิตคืออะไรนั่น แต่จะเปลี่ยนชื่อไป) ตอนนี้ตอนปฏิจจสมุปบาท


ชีวิตคืออะไร หรือชีวิตเป็นอย่างไร มันเป็นเรื่องของปรัชญาหรือไม่ก็เป็นเรื่องนวนิยายไปนู้น
เป็นเพราะคนที่เขียนบทความไม่รู้ธรรม ก็เลยหลงเอามาพูดจนธรรมของพุทธองค์เลอะเทอะไปหมด

กรัชกาย เขียน:
ท่านอุปมายังงี้

ตอนชีวิตคืออะไร อุปมาเหมือนการอธิบายชื้นส่วนของรถซึ่งจอดอยู่กับที่ นั่นนี่ ชื่อยังงั้น ยังงี้

ตอนชีวิตเป็นไปอย่างไร อุปมาเหมือนรถที่แล่นไป ตอนนี้ทุกอย่างจะทำงานร่วมกันเป็นปัจจัยกันและกันหนุนกันและกัน

พอเข้าใจไหม :b32:


ถามจริงกรัชกายแยกโวหารออกมั้ย ที่กรัชกายละเลงอยู่เนี่ยเขาเรียกโวหาร
ลักษณะของโวหาร มันไม่มีจุดยืนที่แน่นอน(ไม่ใช่สัจจะ) มันสามารถเปลี่ยนแปลงไปตาม
ความคิดความปรุงแต่งของคนพูด......สรุปก็คือกำลังเอาความปรุงแต่งมาละเลงธรรม
หัดไปแยกแยะให้ออกก่อนว่า อะไรเป็นพุทธพจน์ อะไรเป็นโวหาร เห็นมั่วมาหลายปีแล้ว
ปัญญาไม่กระเตื่องเลยสักนิด



อ้างคำพูด:
พุทธพจน์ไม่มีคำว่าชีวิต คำว่าชีวิตเป็นโวหารของปุถุชน ซึ่งผู้ใดกล่าวถึง "ชีวิต"
แสดงให้รู้ว่า ผู้พูดยังติดในอวิชชาหาได้เข้าใจว่า สิ่งใดเป็นมิจฉา (สัตตทิฐิ)
พระพุทธองค์ตรัสเรียก สิ่งมีชีวิตว่า สัตว์โลก (สัตตานัง) โดยแยกเป็น เดรัจฉานและบุคคล



สิ่งมีชีวิตว่า สัตว์โลก (สัตตานัง) โดยแยกเป็น เดรัจฉาน และบุคคล

คิกๆๆ วัวพันหลัก ลิ้นพันคอตัวเอง แล้วเป็นชีวิตคนหนึ่งๆ บุคคลหนึ่งๆ สัตว์โลกคนหนึ่งๆมั้ย

คน,บุคคล, สัตว์โลก มีชีวิต เป็นชีวิต เป็นชีวิติทรีย์หนึ่งๆมั้ย เอ้าๆๆ

หรือคนต้องคนบ้า คนไม่บ้า เรียกบุคคล อิอิ

สัตว์โลกบ้าๆ ไม่บ้าเรียกบุคคล :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 69 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 145 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร