วันเวลาปัจจุบัน 19 เม.ย. 2024, 18:14  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ... 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มิ.ย. 2016, 17:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ก็เป็นนเรื่องลักษณะของสภาพธรรมไง



โฮฮับ ยกตัวอย่างลักษณะสภาพธรรมที่ว่าสิ


ภวังค์ เป็นชื่อของสภาพธรรม
ส่วนลักษณะของภวังค์ ก็คือ ลักษณะของสภาพธรรม
เช่น ในขณะที่กายใจไม่มีอะไรมากระทบที่ทวารทั้งหก(หลับสนิท)
นี่แหล่ะคือสภาพธรรมของ ภวังค์

กรัชกาย เขียน:

โฮฮับว่า พระพุทธเจ้าสอนคนด้วยภาษาอะไร ? :b14:


พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยภาษามคธหรือบาลี
พระองค์ใช้ภาษาบาลี อธิบายพุทธพจน์ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติ(ตั้งชื่อธรรม)
พูดให้ชัดก็คือทรงค้นพบสภาพธรรมที่เป็นจริงแล้วทรงตั้งชื่อธรรมเหล่านั้น

สำเหนียกให้ดีว่า บาลีกับพุทธพจน์มันคนละเรื่อง
จะเอาพุทธพจน์มาแปลไทยไม่ได้
นอกเสียแต่ว่าจะแปลบาลีที่ใช้อธิบายพุทธพจน์



โฮฮับพูดขัดกันอยู่ในตัว

เอานะ เอาที่โฮฮับชอบพูดบ่อยๆ นะ

"โพธิปกฺขิยธรรม" โฮฮับว่าไปสิเป็นอะไร



ถามไม่ตอบ คิกๆๆๆ

Kiss
:b1:
ร่วมอภิปรายกันหน่อยค่ะ
ภาษาน่ะค่ะคือบัญญัติใช่หรือไม่
ที่มีภาษาเพราะต้องมีองค์ประกอบใช่ไหม
แล้วองค์ประกอบที่ว่าตามพระธรรมที่ทรงแสดงคืออะไร
ทุกอย่างที่ปรากฏว่ามีเป็นเพียงนิมิต(อ่านว่านิ-มิต-ตะ)ใช่หรือไม่
แปลว่านิมิตเป็นเพียงสิ่งที่ปรากฏให้รู้ได้ชั่วคราวตามเหตุตามปัจจัยใช่ไหม
แล้วทุกคนกำลังหลงติดข้องในอะไรอยู่ถ้าไม่ใช่ติดข้องในนิมิตที่ปรากฏแล้วยึดติดคำ
ถามว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงว่าไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาทุกอย่างเป็นของว่างเป็นของเปล่าไหม
ไม่มีแลัวเกิดมีแล้วก็หามีไม่คือมีแต่ธาตุรู้กับธาตุไม่รู้ที่ปรากฏกับมหาภูตรูปสี่ถ้านิมิตไม่มีบัญญัติจะมีไหม
onion onion onion

:b32:
คุณกรัขกายหายไปไหนมาสนทนาตรงนี้ด้วยสิคะ
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มิ.ย. 2016, 20:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ก็เป็นนเรื่องลักษณะของสภาพธรรมไง



โฮฮับ ยกตัวอย่างลักษณะสภาพธรรมที่ว่าสิ


ภวังค์ เป็นชื่อของสภาพธรรม
ส่วนลักษณะของภวังค์ ก็คือ ลักษณะของสภาพธรรม
เช่น ในขณะที่กายใจไม่มีอะไรมากระทบที่ทวารทั้งหก(หลับสนิท)
นี่แหล่ะคือสภาพธรรมของ ภวังค์

กรัชกาย เขียน:

โฮฮับว่า พระพุทธเจ้าสอนคนด้วยภาษาอะไร ? :b14:


พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยภาษามคธหรือบาลี
พระองค์ใช้ภาษาบาลี อธิบายพุทธพจน์ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติ(ตั้งชื่อธรรม)
พูดให้ชัดก็คือทรงค้นพบสภาพธรรมที่เป็นจริงแล้วทรงตั้งชื่อธรรมเหล่านั้น

สำเหนียกให้ดีว่า บาลีกับพุทธพจน์มันคนละเรื่อง
จะเอาพุทธพจน์มาแปลไทยไม่ได้
นอกเสียแต่ว่าจะแปลบาลีที่ใช้อธิบายพุทธพจน์



โฮฮับพูดขัดกันอยู่ในตัว

เอานะ เอาที่โฮฮับชอบพูดบ่อยๆ นะ

"โพธิปกฺขิยธรรม" โฮฮับว่าไปสิเป็นอะไร



ถามไม่ตอบ คิกๆๆๆ

Kiss
:b1:
ร่วมอภิปรายกันหน่อยค่ะ
ภาษาน่ะค่ะคือบัญญัติใช่หรือไม่
ที่มีภาษาเพราะต้องมีองค์ประกอบใช่ไหม
แล้วองค์ประกอบที่ว่าตามพระธรรมที่ทรงแสดงคืออะไร
ทุกอย่างที่ปรากฏว่ามีเป็นเพียงนิมิต(อ่านว่านิ-มิต-ตะ)ใช่หรือไม่
แปลว่านิมิตเป็นเพียงสิ่งที่ปรากฏให้รู้ได้ชั่วคราวตามเหตุตามปัจจัยใช่ไหม
แล้วทุกคนกำลังหลงติดข้องในอะไรอยู่ถ้าไม่ใช่ติดข้องในนิมิตที่ปรากฏแล้วยึดติดคำ
ถามว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงว่า ไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาทุกอย่างเป็นของว่างเป็นของเปล่าไหม
ไม่มีแลัวเกิดมีแล้วก็หามีไม่คือมีแต่ธาตุรู้กับธาตุไม่รู้ที่ปรากฏกับมหาภูตรูปสี่ถ้านิมิตไม่มีบัญญัติจะมีไหม
onion onion onion

:b32:
คุณกรัขกายหายไปไหนมาสนทนาตรงนี้ด้วยสิคะ
:b32: :b32:


คุณโรสกลับมาที่จุดเริ่มเถอะครับ กลับมาๆ เอหิ จงมา มาที่

อัตตา หิ อัตตโน นาโถ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน :b32:

อย่าเพิ่งไปไกล ถึง

อ้างคำพูด:
ไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาทุกอย่างเป็นของว่างเป็นของเปล่าไหม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มิ.ย. 2016, 20:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ก็เป็นนเรื่องลักษณะของสภาพธรรมไง



โฮฮับ ยกตัวอย่างลักษณะสภาพธรรมที่ว่าสิ


ภวังค์ เป็นชื่อของสภาพธรรม
ส่วนลักษณะของภวังค์ ก็คือ ลักษณะของสภาพธรรม
เช่น ในขณะที่กายใจไม่มีอะไรมากระทบที่ทวารทั้งหก(หลับสนิท)
นี่แหล่ะคือสภาพธรรมของ ภวังค์

กรัชกาย เขียน:

โฮฮับว่า พระพุทธเจ้าสอนคนด้วยภาษาอะไร ? :b14:


พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยภาษามคธหรือบาลี
พระองค์ใช้ภาษาบาลี อธิบายพุทธพจน์ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติ(ตั้งชื่อธรรม)
พูดให้ชัดก็คือทรงค้นพบสภาพธรรมที่เป็นจริงแล้วทรงตั้งชื่อธรรมเหล่านั้น

สำเหนียกให้ดีว่า บาลีกับพุทธพจน์มันคนละเรื่อง
จะเอาพุทธพจน์มาแปลไทยไม่ได้
นอกเสียแต่ว่าจะแปลบาลีที่ใช้อธิบายพุทธพจน์



โฮฮับพูดขัดกันอยู่ในตัว

เอานะ เอาที่โฮฮับชอบพูดบ่อยๆ นะ

"โพธิปกฺขิยธรรม" โฮฮับว่าไปสิเป็นอะไร



ถามไม่ตอบ คิกๆๆๆ

Kiss
:b1:
ร่วมอภิปรายกันหน่อยค่ะ
ภาษาน่ะค่ะคือบัญญัติใช่หรือไม่
ที่มีภาษาเพราะต้องมีองค์ประกอบใช่ไหม
แล้วองค์ประกอบที่ว่าตามพระธรรมที่ทรงแสดงคืออะไร
ทุกอย่างที่ปรากฏว่ามีเป็นเพียงนิมิต(อ่านว่านิ-มิต-ตะ)ใช่หรือไม่
แปลว่านิมิตเป็นเพียงสิ่งที่ปรากฏให้รู้ได้ชั่วคราวตามเหตุตามปัจจัยใช่ไหม
แล้วทุกคนกำลังหลงติดข้องในอะไรอยู่ถ้าไม่ใช่ติดข้องในนิมิตที่ปรากฏแล้วยึดติดคำ
ถามว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงว่า ไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาทุกอย่างเป็นของว่างเป็นของเปล่าไหม
ไม่มีแลัวเกิดมีแล้วก็หามีไม่คือมีแต่ธาตุรู้กับธาตุไม่รู้ที่ปรากฏกับมหาภูตรูปสี่ถ้านิมิตไม่มีบัญญัติจะมีไหม
onion onion onion

:b32:
คุณกรัขกายหายไปไหนมาสนทนาตรงนี้ด้วยสิคะ
:b32: :b32:


คุณโรสกลับมาที่จุดเริ่มเถอะครับ กลับมาๆ เอหิ จงมา มาที่

อัตตา หิ อัตตโน นาโถ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน :b32:

อย่าเพิ่งไปไกล ถึง

อ้างคำพูด:
ไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาทุกอย่างเป็นของว่างเป็นของเปล่าไหม

Kiss
:b32:
ความจริงแสดงให้เห็นแต่ปัญญาไม่พอน๊า
พึ่งปัญญาที่รู้ความจริงตามคำสอนนะท่าน
อันวิญญูชนพึงรู้ได้เฉพาะตนเป็นปัจจัตตัง
มัวแต่ไปคิดคำต่างๆความจริงดับแล้วทำไง
ไหนลองทำเห็นสิทำได้ไหมคะคุณกรัชกาย
:b16:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 มิ.ย. 2016, 21:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
:b32:
สงสัยคุณกรัชกายถอยไปตั้งหลัก
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 00:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
สงสัยไม่ได้อ่านความเห็นผม ผมย้ำหลายที่แล้วว่า อารมณ์กับจิตเป็นอย่างเดียวกัน
จำให้แม่นๆนะครับที่หลังจะได้ไม่ถามซ้ำซาก


อารมณ์ กับจิต ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน จำไว้ให้แม่นๆ นะโฮฮับ
ยกตัวอย่างในพระสูตร
พระพุทธองค์ทรงแสดงเมตตาจิต จิตมีองค์ธรรมแห่งเมตตาเป็นอารมณ์
กล่าวคือให้จิตตั้งอยู่ด้วยเมตตาธรรม
เว้นจากอารมณ์อันเป็นอกุศลต่อเมตตา

พระพุทธองค์แสดง จิต และอารมณ์ ไม่ใช่จิตกับอารมณ์เป็นอย่างเดียวกัน

Quote Tipitaka:
[๒๖๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคลอื่นจะพึงกล่าวกะท่านมีอยู่ ๕ ประการ
คือ กล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควร ๑ กล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริง ๑ กล่าวด้วยคำอ่อน
หวานหรือคำหยาบคาย ๑ กล่าวด้วยคำประกอบด้วยประโยชน์หรือไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑ มี
จิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าว ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อบุคคลอื่นจะกล่าวโดยกาลอันสมควร
หรือไม่สมควรก็ตาม จะกล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริงก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำอ่อนหวานหรือหยาบ-
*คายก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำประกอบด้วยประโยชน์ หรือไม่ประกอบด้วยประโยชน์ก็ตาม จะมีจิต
เมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าวก็ตาม ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ในข้อนั้น พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้
ว่า จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจักไม่เปล่งวาจาลามก เราจักอนุเคราะห์ด้วยสิ่งอันเป็นประโยชน์
เราจักมีจิตเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน เราจักแผ่เมตตาจิตไปถึงบุคคลนั้น และเราแผ่เมตตาจิต
อันไพบูลย์ ใหญ่ยิ่ง หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไปตลอดโลก ทุกทิศทุกทาง
ซึ่งเป็นอารมณ์ของจิตนั้น ดังนี้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษาด้วยอาการดังที่กล่าวมา
นี้แล.
[๒๖๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษ ถือเอาจอบและตะกร้ามาแล้ว กล่าว
อย่างนี้ว่า เราจักกระทำแผ่นดินอันใหญ่นี้ไม่ให้เป็นแผ่นดิน ดังนี้ เขาขุดลงตรงที่นั้นๆ โกยขี้ดิน
ทิ้งในที่นั้นๆ บ้วนน้ำลายลงในที่นั้นๆ ถ่ายปัสสาวะรดในที่นั้นๆ แล้วสำทับว่าเองอย่าเป็น
แผ่นดินๆ ดังนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นจักทำแผ่นดิน
อันใหญ่นี้ไม่ให้เป็นแผ่นดินได้หรือไม่? ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า ไม่ได้ พระเจ้าข้า ข้อนั้น
เพราะเหตุไร? เพราะเหตุว่าแผ่นดินอันใหญ่นี้ ลึกหาประมาณมิได้ เขาจะทำแผ่นดินอันใหญ่นี้
ไม่ให้เป็นแผ่นดินไม่ได้ง่ายเลย ก็แลบุรุษนั้นจะต้องเหน็ดเหนื่อยลำบากเสียเปล่าเป็นแน่แท้ ดังนี้
แม้ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคลอื่นจะพึงกล่าวกะท่านมีอยู่ ๕ ประการ คือ
กล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควร ๑ กล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริง ๑ กล่าวด้วยคำอ่อนหวาน
หรือคำหยาบคาย ๑ กล่าวด้วยคำประกอบด้วยประโยชน์ หรือไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑ มีจิต-
*เมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าว ๑ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อบุคคลอื่นจะกล่าว
โดยกาลอันสมควรหรือไม่ควรก็ตาม จะกล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริงก็ตาม จะกล่าวด้วยถ้อยคำ
อ่อนหวานหรือหยาบคายก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำประกอบด้วยประโยชน์ หรือไม่ประกอบด้วย
ประโยชน์ก็ตาม จะมีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าวก็ตาม ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ในข้อนั้น
พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรปรวนเราจักไม่เปล่งวาจาที่ลามก เราจักอนุเคราะห์
ด้วยสิ่งที่เป็นประโยชน์ เราจักมีจิตเมตตา ไม่มีโทสะภายใน เราจักแผ่เมตตาจิตไปถึงบุคคลนั้น
และเราจักแผ่เมตตาจิตอันเสมอด้วยแผ่นดิน ไพบูลย์ ใหญ่ยิ่ง หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มี
พยาบาท ไปตลอดโลก ทุกทิศทุกทาง ซึ่งเป็นอารมณ์ของจิตนั้น ดังนี้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เธอทั้งหลายพึงศึกษาด้วยอาการดังที่กล่าวมานี้แล.
เปรียบเหมือนบุรุษเขียนรูปในอากาศ
[๒๖๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษ ถือเอาครั่งก็ตาม สีเหลืองสีเขียว หรือ
สีเหลืองแก่ก็ตามมาแล้ว กล่าวอย่างนี้ว่า เราจักเขียนรูปต่างๆ ในอากาศนี้ กระทำให้เป็นรูป
เด่นชัด ดังนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นจะเขียนรูปต่างๆ
ในอากาศนี้ กระทำให้เป็นรูปเด่นชัดได้หรือไม่? ไม่ได้พระเจ้าข้า ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร?
เพราะธรรมดาอากาศนี้ ย่อมเป็นของไม่มีรูปร่าง ชี้ให้เห็นไม่ได้ เขาจะเขียนรูปในอากาศนั้น
ทำให้เป็นรูปเด่นชัดไม่ได้ง่ายเลย ก็แหละบุรุษนั้นจะต้องเหน็ดเหนื่อยลำบากเสียเปล่าเป็นแน่แท้
ดังนี้ แม้ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคลอื่นจะพึงกล่าวกะท่าน มีอยู่ ๕ ประการ
คือ กล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควร ๑ กล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริง ๑ กล่าวด้วยคำอ่อน-
*หวานหรือคำหยาบคาย ๑ กล่าวด้วยคำประกอบด้วยประโยชน์ หรือไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑
มีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าว ๑ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อบุคคลอื่นจะ
กล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควรก็ตาม จะกล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริงก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำ
อ่อนหวานหรือหยาบคายก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำประกอบด้วยประโยชน์ หรือไม่ประกอบด้วยประ-
*โยชน์ก็ตาม จะมีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าวก็ตาม ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ในข้อนั้น
พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจักไม่เปล่งวาจาลามก เราจักอนุเคราะห์
ด้วยสิ่งอันเป็นประโยชน์ เราจักมีจิตเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน เราจักแผ่เมตตาจิตไปถึงบุคคล
นั้น และเราจะแผ่เมตตาจิตอันไพบูลย์ ใหญ่ยิ่ง หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไป
ตลอดโลก ทุกทิศทุกทาง ซึ่งเป็นอารมณ์ของจิตนั้น ดังนี้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษา
ด้วยอาการดังกล่าวมานี้แล.
เปรียบเหมือนบุรุษเผาแม่น้ำคงคา
[๒๗๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษ ถือเอาคบหญ้าที่จุดไฟมาแล้ว กล่าวอย่าง
นี้ว่า เราจักทำแม่น้ำคงคาให้ร้อนจัด ให้เดือดเป็นควันพลุ่ง ด้วยคบหญ้าที่จุดไฟแล้วนี้ ดังนี้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นจักทำแม่น้ำคงคาให้ร้อนจัด
ให้เดือดเป็นควันพลุ่ง ด้วยคบหญ้าที่จุดไฟแล้วได้หรือไม่? ไม่ได้พระเจ้าข้า ข้อนั้นเพราะ
เหตุไร? เพราะแม่น้ำคงคาเป็นแม่น้ำที่ลึก สุดที่จะประมาณ เขาจะทำแม่น้ำคงคานั้นให้ร้อนจัด
ให้เดือดเป็นควันพลุ่ง ด้วยคบหญ้าที่จุดไฟแล้วไม่ได้ง่ายเลย ก็แลบุรุษนั้นจะต้องเหน็ดเหนื่อย
ลำบากเสียเปล่าเป็นแน่แท้ ดังนี้ แม้ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคลอื่นจะ
พึงกล่าวกะท่านมีอยู่ ๕ ประการ คือ กล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควร ๑ กล่าวด้วยเรื่องจริง
หรือไม่จริง ๑ กล่าวด้วยคำอ่อนหวานหรือหยาบคาย ๑ กล่าวด้วยคำประกอบด้วยประโยชน์หรือไม่
ประกอบด้วยประโยชน์ ๑ มีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าว ๑ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย เมื่อบุคคลอื่นจะกล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควรก็ตาม เขาจะกล่าวด้วยเรื่องจริง
หรือไม่ก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำอ่อนหวานหรือหยาบคายก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำประกอบด้วยประโยชน์
หรือไม่ประกอบด้วยประโยชน์ก็ตาม จะมีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าวก็ตาม ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย แม้ในข้อนั้น พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจักไม่เปล่ง
วาจาที่ลามก เราจักอนุเคราะห์ด้วยสิ่งที่เป็นประโยชน์ เราจักมีเมตตาจิต ไม่มีโทสะในภายใน เรา
จักแผ่เมตตาจิตไปถึงบุคคลนั้น และเราจักแผ่เมตตาจิตอันเสมอด้วยแม่น้ำคงคา ไพบูลย์ ใหญ่ยิ่ง
หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไปตลอดโลกทุกทิศทุกทาง ซึ่งเป็นอารมณ์ของจิตนั้น
ดังนี้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย พึงศึกษาด้วยอาการดังที่กล่าวมานี้แล.
เปรียบเหมือนกระสอบหนังแมว
[๒๗๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนกระสอบหนังแมวที่นายช่างหนังฟอกดีเรียบ-
*ร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำลี เป็นกระสอบที่ตีได้ไม่ดังก้อง ถ้ามีบุรุษถือเอาไม้หรือกระเบื้อง
มา พูดขึ้นอย่างนี้ว่า เราจักทำกระสอบหนังแมว ที่เขาฟอกไว้ดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่น
และสำลี ที่ตีได้ไม่ดังก้องนี้ ให้เป็นของมีเสียงดังก้อง ด้วยไม้หรือกระเบื้อง ดังนี้ ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นจะทำกระสอบหนังแมวที่เขาฟอกไว้ดี
เรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่มและสำลี ที่ตีได้ไม่ดังก้องนี้ ให้กลับมีเสียงดังก้องขึ้นด้วยไม้หรือ
กระเบื้องได้หรือไม่? ไม่ได้พระเจ้าข้า ข้อนั้นเพราะเหตุไร? เพราะเหตุว่า กระสอบหนังแมวนี้
เขาฟอกดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำลี ซึ่งเป็นของที่ตีได้ไม่ดังก้อง เขาจะทำกระสอบ
หนังแมวนั้น ให้กลับเป็นของมีเสียงดังก้องขึ้นด้วยไม้หรือกระเบื้องไม่ได้ง่ายเลย บุรุษคนนั้น
จะต้องเหน็ดเหนื่อยลำบากเสียเปล่าเป็นแน่แท้ ดังนี้ แม้ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทางแห่ง
ถ้อยคำที่บุคคลอื่นจะพึงกล่าวกะท่านมีอยู่ ๕ ประการคือ กล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควร ๑
กล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริง ๑ กล่าวด้วยคำอ่อนหวานหรือหยาบคาย ๑ กล่าวด้วยคำมีประโยชน์
หรือไร้ประโยชน์ ๑ มีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าว ๑ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เมื่อคนอื่นจะกล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควรก็ตาม จะกล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริงก็ตาม
จะกล่าวด้วยถ้อยคำอ่อนหวานหรือหยาบคายก็ตาม จะกล่าวด้วยถ้อยคำมีประโยชน์ หรือไร้-
*ประโยชน์ก็ตาม จะมีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าวก็ตาม ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ในข้อนั้น
พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจักไม่เปล่งวาจาที่ลามก เราจักอนุเคราะห์
ผู้อื่นด้วยสิ่งที่เป็นประโยชน์ เราจักมีเมตตาจิต ไม่มีโทสะภายใน เราจักแผ่เมตตาจิตไปถึงบุคคล
นั้น และเราจักแผ่เมตตาจิตอันเสมอด้วยกระสอบหนังแมว ไพบูลย์ ใหญ่ยิ่ง หาประมาณมิได้
ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไปตลอดโลก ทุกทิศทุกทาง ซึ่งเป็นอารมณ์ของจิตนั้นดังนี้
ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษาด้วยอาการดังที่กล่าวมานี้แล.
พระโอวาทแสดงการเปรียบด้วยเลื่อย
[๒๗๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย หากจะมีพวกโจรผู้มีความประพฤติต่ำช้า เอาเลื่อยที่มีที่จับ
ทั้งสองข้าง เลื่อยอวัยวะใหญ่น้อยของพวกเธอ แม้ในเหตุนั้นภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดมีใจคิดร้าย
ต่อโจรเหล่านั้น ภิกษุหรือภิกษุณีรูปนั้น ไม่ชื่อว่าเป็นผู้ทำตามคำสั่งสอนของเรา เพราะเหตุที่อด-
กลั้นไม่ได้นั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ในข้อนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่
แปรปรวน เราจักไม่เปล่งวาจาที่ลามก เราจักอนุเคราะห์ผู้อื่นด้วยสิ่งที่เป็นประโยชน์ เราจักมีเมตตา
จิตไม่มีโทสะในภายใน เราจักแผ่เมตตาจิตไปถึงบุคคลนั้น และเราจักแผ่เมตตาอันไพบูลย์
ใหญ่ยิ่ง หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไปตลอดโลกทุกทิศทุกทาง ซึ่งเป็นอารมณ์
ของจิตนั้น ดังนี้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอพึงศึกษาด้วยอาการดังที่กล่าวมานี้แล.

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=12&A=4208&Z=4442&pagebreak=0

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 00:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จิตคิดสิ่งใด สิ่งนั้นคืออารมณ์ของจิต
พระพุทธองค์ทรงแสดงไว้อย่างนี้เช่นกัน
จิตกับอารมณ์ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน โฮฮับ

Quote Tipitaka:
[๓๖] (เทวดากล่าวว่า)
ธรรมของสมณะ คนไม่ฉลาด ทำได้ยาก ทนได้ยาก
เพราะธรรมของสมณะนั้นมีความลำบากมาก เป็นที่ติดขัดของ
คนพาล ฯ
[๓๗] (พระผู้มีพระภาคตรัสว่า)
คนพาล ประพฤติธรรมของสมณะสิ้นวันเท่าใด หากไม่ห้าม
จิต เขาตกอยู่ในอำนาจของความดำริทั้งหลาย พึงติดขัดอยู่
ทุกๆ อารมณ์ ภิกษุยั้งวิตกในใจไว้ได้ เหมือนเต่าหด
อวัยวะทั้งหลายไว้ในกระดองของตน อันตัณหานิสัยและ
ทิฐินิสัยไม่พัวพันแล้ว ไม่เบียดเบียนสัตว์อื่น ปรินิพพาน
แล้ว ไม่พึงติเตียนใคร ฯ

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=15&A=209&Z=220&pagebreak=0

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 00:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:

ส่วนคำถามอื่นที่ถามขอคำดังนี้....

สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกอสุขเวทนา.......คำทั้งสามคำนี้ไม่ใช่พุทธพจน์ มันเป็นโวหาร(คำพูด)
ของปุถุชนที่ยังขาดความเข้าใจในพุทธบัญญัติ ที่สำคัญผู้พูดยังไม่รู้ว่า สภาพธรรมในกายใจที่แท้จริง
มีลักษณะเช่นไร
ก็เลยทำให้ใช้โวหารหรือถ้อยคำที่ผิดจากความเป็นจริง .....เวทนาไม่มีสุขหรือทุกข์หรืออสุขอทุก
สุข....เป็น สังโยชน์ที่เรียกว่าอรูปราคะ เป็นเหตุที่ทำให้เกิด ภวตัณหาขึ้นที่กายใจ
ทุกข์ หมายถึง การเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือทุกขอริยสัจจ์
อทุกข์หรืออสุข.......โวหารนี้หาได้มีความหมายในทางธรรม

แนะนำครับว่า....คำว่าเวทนา มีความหมายเพียงการรับรู้ถึงลักษณะต่อสิ่งที่มากระทบ(ทวาร)
ไม่มีคำตามที่คุณยกมาถาม ตัวอย่างเช่น เวทนาต่อเสียงก็คือรู้ถึงระดับของเสียง(ดังหรือเบา)
รู้รส(ขม หวาน จืด)เป็นต้น


ผู้พูดตามตัวอย่างต่อไปนี้ ไม่รู้สภาพธรรมในกายใจที่แท้จริงมีลักษณะเช่นไรจริงหรือเปล่า

Quote Tipitaka:
[๒๗๓] อัคคิเวสสนะ เวทนาสามอย่างนี้ คือ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขม
สุขเวทนา ๑.
อัคคิเวสสนะ สมัยใดได้เสวยสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ไม่
ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่สุขเวทนาเท่านั้น. ในสมัยใดได้เสวยทุกขเวทนา ใน
สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่ทุกขเวทนาเท่านั้น. ใน
สมัยใดได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ได้
เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาเท่านั้น. อัคคิเวสสนะ สุขเวทนาไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น
อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา. แม้ทุกขเวทนาก็
ไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไป
เป็นธรรมดา. แม้อทุกขมสุขเวทนาก็ไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความ
สิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา. อัคคิเวสสนะ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อ
เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมหน่ายทั้งในสุขเวทนา ทั้งในทุกขเวทนา ทั้งในอทุกขมสุขเวทนา เมื่อหน่าย
ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้น
แล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็น
อย่างนี้มิได้มี. อัคคิเวสสนะ ภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้วอย่างนี้แล ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ
โวหารใดที่ชาวโลกพูดกัน ก็พูดไปตามโวหารนั้น แต่ไม่ยึดมั่นด้วยทิฏฐิ.

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=13&A=4661&Z=4768&pagebreak=0

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 00:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ แม้แต่ เรื่องกายใจ จิต ขันธ์5 อุปาทานขันธ์ ยังไม่เข้าใจเลย
ไม่ต้องพูดถึงเรื่องภวังคจิตต่อไปหรอกนะโฮฮับ

เอาตามสบายๆ ที่โฮฮับอยากแสดงก็แล้วกันนะ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 07:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
สงสัยไม่ได้อ่านความเห็นผม ผมย้ำหลายที่แล้วว่า อารมณ์กับจิตเป็นอย่างเดียวกัน
จำให้แม่นๆนะครับที่หลังจะได้ไม่ถามซ้ำซาก


อารมณ์ กับจิต ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน จำไว้ให้แม่นๆ นะโฮฮับ


พูดแบบนี้ไงผมถึงได้บอกว่า สิ่งที่คุณพูดเป็นมิจฉาทิฐิ
คุณเช่นนั้นกำลังยึดจิตเป็นตัวเป็นตน ...แบบนี้ท่านเรียกถูกสักกายทิฐิครอบงำครับ

เช่นนั้น เขียน:
ยกตัวอย่างในพระสูตร


แค่เบื้องต้นคุณยังไม่รู้ไม่เข้าใจเลยว่า เรากำลังคุยกันในเรื่องอะไร
เนื้อหาที่เรากำลังคุยกันมันเป็นเรื่องของ...พระอภิธรรม
จะยกเนื้อพระไตรปิฎกมาอ้าง มันต้องเอาเนื้อหาที่เป็นพระอภิธรรมปิฎกมาแสดงครับ
ไม่ใช่เอาพระสูตร เนื้อหาในพระสูตรมีทั้งโวหารของปุถุชน(แปล) และมีทั้งโวหารของสาวก
คนที่ยังติดในสักกายทิฐิไม่รู้จักแยกแยะหรอกครับ.....อย่างดีแค่เอามาแก้เกี้ยว(ดื้อตาใส)

เช่นนั้น เขียน:
พระพุทธองค์ทรงแสดงเมตตาจิต จิตมีองค์ธรรมแห่งเมตตาเป็นอารมณ์
กล่าวคือให้จิตตั้งอยู่ด้วยเมตตาธรรม
เว้นจากอารมณ์อันเป็นอกุศลต่อเมตตา
พระพุทธองค์แสดง จิต และอารมณ์ ไม่ใช่จิตกับอารมณ์เป็นอย่างเดียวกัน

แบบนี้เขาเรียกว่า อ่านบัญญัติโดยขาดซึ่งสมาธิครับ
ในเนื้อหาท่านกล่าวว่า....จิตมีองค์ธรรมแห่งเมตตาเป็นอารมณ์

ท่านก็บอกอยู่ทนโท่ว่า "จิตมีองค์ธรรมแห่งเมตตา"
และขยายความว่า..."เป็นอารมณ์"
ในเมื่อเมตตาเป็นอารมณ์ และเมตตาเป็นองค์ธรรมของจิต......แบบนี้บัญญัติทั้งสามก็เป็นสภาพธรรม
หรือเป็นกระบวนการเดียวกัน...แนะนำครับ ริจะอ้างพระสูตรมันต้องรู้จักแยกแยะว่า อย่างไหนเป็นโวหาร
อย่างไหนเป็นสมมติบัญญัติและอย่างไหนเป็นปรมัตถบัญญัติ....ในสภาพธรรมเดียวกันอาจแตกต่างกันได้
เพราะบัญญัติที่ใช้ แต่ในสภาพความเป็นจริงแล้วเป็นเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันครับ

ในที่นี้ จิตเป็น ปรมัตถบัญญัติ
เมตตาเป็นสมมติบัญญัติ
อารมณ์เป็นโวหาร
แต่โดยลักษณะที่แท้จริงตามสภาพธรรมของทั้งสามก็คือ...... ความห่วงหาอาทร


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 07:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:

พระพุทธองค์แสดง จิต และอารมณ์ ไม่ใช่จิตกับอารมณ์เป็นอย่างเดียวกัน

[quote-tipitaka][๒๖๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคลอื่นจะพึงกล่าวกะท่านมีอยู่ ๕ ประการ
คือ กล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควร ๑ กล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริง ๑ กล่าวด้วยคำอ่อน
หวานหรือคำหยาบคาย ๑ กล่าวด้วยคำประกอบด้วยประโยชน์หรือไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑ มี
จิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าว ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อบุคคลอื่นจะกล่าวโดยกาลอันสมควร
หรือไม่สมควรก็ตาม จะกล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริงก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำอ่อนหวานหรือหยาบ-
*คายก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำประกอบด้วยประโยชน์ หรือไม่ประกอบด้วยประโยชน์ก็ตาม จะมีจิต
เมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าวก็ตาม ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ในข้อนั้น พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้
ว่า จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจักไม่เปล่งวาจาลามก เราจักอนุเคราะห์ด้วยสิ่งอันเป็นประโยชน์
เราจักมีจิตเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน เราจักแผ่เมตตาจิตไปถึงบุคคลนั้น และเราแผ่เมตตาจิต
อันไพบูลย์ ใหญ่ยิ่ง หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไปตลอดโลก ทุกทิศทุกทาง
ซึ่งเป็นอารมณ์ของจิตนั้น ดังนี้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษาด้วยอาการดังที่กล่าวมา
นี้แล.


คุณเช่นนั้นพิจารณาธรรมไม่เป็นนี่ครับ อ่านแล้วก็ดูแต่ตัวหนัง เห็นตัวหนังสือไม่เหมือนกันก็บอกไม่เหมือนกันหรือเป็นคนละอย่างกัน

ก่อนจะพิจารณาธรรมหรือพระสูตร อยากชี้แนะครับว่า ในพระสูตรมีทั้งที่เป็นโวหาร เป็นสมมติและเป็นปรมัตถ์
ที่สำคัญยังมีการแบ่งเป็น ปุคคลาธิษฐานและธรรมาธิษฐานอีกด้วย...ดูก็รู้ว่าคุณเช่นนั้นอ่านไม่เป็น
ไม่ต่างจากนกแก้วที่ฝึกพูดแต่ไม่เข้าใจความหมายที่ตัวพูด

คุณเช่นนั้นอาจจะยังไม่เข้าใจว่า ทำไมตัวหนังสือไม่เหมือนกัน แต่เหตุใดความหมายจึงเป็นอย่างเดียวกัน
จะยกตัวอย่างง่ายเป็นเบื้องต้น เช่น กิน ฉัน เสวย เห้นมั้ยว่าตัวหนังสือไม่เหมือนกัน
แต่ความหมายของมันก็คือ....การเอาอาหารใส่ปาก

บัญญัติที่ใช้เรียก จิต อารมณ์ ก็เช่นกัน


ในขณะบางครั้งพระพุทธองค์จะพูดสมมติบัญญัติและตามด้วยปรมัตถบัญญัติ
หรือพูดปรมัตถ์นำหน้าสมมติ
เพื่อให้เข้าใจว่า สิ่งที่เป็นสมมติ(รูปธรรม) เพื่อทำแล้วหรือปฏิบัติแล้วจะเกิดเป็นปรมัตถ์หรือสภาพธรรม
ภายในกายใจอย่างไร ซึ่งพระองค์ใชปรมัตถ์บัญญัติเรียกแทน

เช่นกันถ้ากล่าวปรมัตถ์นำก็จะตามด้วยสมมติเพื่อให้รู้ว่า ปรมัตถ์นั้นเกิดจากสมมติตัวใด


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 08:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:

ส่วนคำถามอื่นที่ถามขอคำดังนี้....

สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกอสุขเวทนา.......คำทั้งสามคำนี้ไม่ใช่พุทธพจน์ มันเป็นโวหาร(คำพูด)
ของปุถุชนที่ยังขาดความเข้าใจในพุทธบัญญัติ ที่สำคัญผู้พูดยังไม่รู้ว่า สภาพธรรมในกายใจที่แท้จริง
มีลักษณะเช่นไร
ก็เลยทำให้ใช้โวหารหรือถ้อยคำที่ผิดจากความเป็นจริง .....เวทนาไม่มีสุขหรือทุกข์หรืออสุขอทุก
สุข....เป็น สังโยชน์ที่เรียกว่าอรูปราคะ เป็นเหตุที่ทำให้เกิด ภวตัณหาขึ้นที่กายใจ
ทุกข์ หมายถึง การเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือทุกขอริยสัจจ์
อทุกข์หรืออสุข.......โวหารนี้หาได้มีความหมายในทางธรรม

แนะนำครับว่า....คำว่าเวทนา มีความหมายเพียงการรับรู้ถึงลักษณะต่อสิ่งที่มากระทบ(ทวาร)
ไม่มีคำตามที่คุณยกมาถาม ตัวอย่างเช่น เวทนาต่อเสียงก็คือรู้ถึงระดับของเสียง(ดังหรือเบา)
รู้รส(ขม หวาน จืด)เป็นต้น


ผู้พูดตามตัวอย่างต่อไปนี้ ไม่รู้สภาพธรรมในกายใจที่แท้จริงมีลักษณะเช่นไรจริงหรือเปล่า

Quote Tipitaka:
[๒๗๓] อัคคิเวสสนะ เวทนาสามอย่างนี้ คือ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขม
สุขเวทนา ๑.
อัคคิเวสสนะ สมัยใดได้เสวยสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ไม่
ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่สุขเวทนาเท่านั้น. ในสมัยใดได้เสวยทุกขเวทนา ใน
สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่ทุกขเวทนาเท่านั้น. ใน
สมัยใดได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ได้
เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาเท่านั้น. อัคคิเวสสนะ สุขเวทนาไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น
อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา. แม้ทุกขเวทนาก็
ไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไป
เป็นธรรมดา. แม้อทุกขมสุขเวทนาก็ไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความ
สิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา. อัคคิเวสสนะ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อ
เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมหน่ายทั้งในสุขเวทนา ทั้งในทุกขเวทนา ทั้งในอทุกขมสุขเวทนา เมื่อหน่าย
ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้น
แล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็น
อย่างนี้มิได้มี. อัคคิเวสสนะ ภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้วอย่างนี้แล ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ
โวหารใดที่ชาวโลกพูดกัน ก็พูดไปตามโวหารนั้น แต่ไม่ยึดมั่นด้วยทิฏฐิ.

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=13&A=4661&Z=4768&pagebreak=0


พระสูตรแปลบทนี้ ผมได้บอกไว้แต่ต้นแล้วว่า.......
โฮฮับ เขียน:
สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกอสุขเวทนา.......คำทั้งสามคำนี้ไม่ใช่พุทธพจน์ มันเป็นโวหาร(คำพูด)
ของปุถุชนที่ยังขาดความเข้าใจในพุทธบัญญัติ
ที่สำคัญผู้พูดยังไม่รู้ว่า สภาพธรรมในกายใจที่แท้จริงมีลักษณะเช่นไร
ก็เลยทำให้ใช้โวหารหรือถ้อยคำที่ผิดจากความเป็นจริง


ถ้าเป็นผู้รู้ ผู้รู้จะต้องยกเอาพระสูตรที่เป็นต้นตอมาอ้างอิง
ไม่ใช่ทำแบบคุณเช่นนั้น คือยกเอาสิ่งที่อีกฝ่ายอ้างว่า มันเป็นปัญหา
เช่นผมบอกว่า พระสูตรแปลไทยเป็นปัญหา แทนที่คุณเช่นนั้นจะเอาบาลีมาอ้างกลับ
เอาพระสูตรที่เป็นปัญหามาอ้าง เช่นนี้ก็รู้แล้วว่าไม่ได้มีสมาธิการการสนทนา


พระสูตรที่ต้องนำมาอ้างอิงคือ..........

[๒๗๓] ติสฺโส โข อิมา อคฺคิเวสฺสน
เวทนา สุขา
เวทนา ทุกฺขา
เวทนา อทุกฺขมสุขา

เวทนา ฯ ยสฺมึ อคฺคิเวสฺสน สมเย
สุขํ เวทนํ เวเทติ เนว ตสฺมึ สมเย ทุกฺขํ เวทนํ เวเทติ น
อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวเทติ สุขํเยว ตสฺมึ สมเย เวทนํ เวเทติ ฯ

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... =269&Z=275

ในบาลีท่านไม่ได้บัญญัติว่า "สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกอสุขเวทนา.
แต่ท่านบัญญัติว่า.....เวทนา สุขา๑ เวทนา ทุกขา๑ เวทนา อทุกขมสุขา๑

ในบาลีท่านบัญญัติไว้อย่างหนึ่ง พอเวลาแปลท่านเอาไปบัญญัติอีกแบบหนึ่ง
ทำเช่นนี้ความหมายพระธรรมบาลีมันผิดเพี้ยน......
พิจารณาก็รู้ว่า ผู้แปลและคุณเช่นนั้นขาดซึ่งความเข้าใจเรื่องเหตุปัจจัยและขาดซึ่งหัวใจพุทธศาสนาที่ว่า..


เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา
เยสํ เหตุํ ตถาคโต อาห
เตสญฺจ โย นิโรโธ จ
เอวํ วาที มหาสมโณติ ฯ


ธรรมทั้งหลายเหล่าใดเกิดแต่เหตุ
พระตถาคตเจ้าทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมทั้งหลายเหล่านั้น
พระมหาสมณะเจ้า ทรงสังสอนอย่างนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 08:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
ข้าพเจ้าเห็นด้วยกับท่านเช่นนั้นว่าจิตและอารมณ์ไม่ใช่สิ่งเดียวกันอย่างแน่นอนเลยค่ะ
จิตเป็นสภาพรู้เป็นใหญ่เป็นประธานในการรู้แจ้งอารมณ์เพราะอารมณ์เป็นสิ่งที่ถูกจิตรู้
สิ่งที่ถูกจิตรู้นั้นจะรู้ได้ต้องมีเหตุปัจจัยสมบูรณ์พร้อมแล้วรู้ผ่านธาตุ4ขันธ์5อายตนะ6
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 14:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:

ส่วนคำถามอื่นที่ถามขอคำดังนี้....

สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกอสุขเวทนา.......คำทั้งสามคำนี้ไม่ใช่พุทธพจน์ มันเป็นโวหาร(คำพูด)
ของปุถุชนที่ยังขาดความเข้าใจในพุทธบัญญัติ ที่สำคัญผู้พูดยังไม่รู้ว่า สภาพธรรมในกายใจที่แท้จริง
มีลักษณะเช่นไร
ก็เลยทำให้ใช้โวหารหรือถ้อยคำที่ผิดจากความเป็นจริง .....เวทนาไม่มีสุขหรือทุกข์หรืออสุขอทุก
สุข....เป็น สังโยชน์ที่เรียกว่าอรูปราคะ เป็นเหตุที่ทำให้เกิด ภวตัณหาขึ้นที่กายใจ
ทุกข์ หมายถึง การเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือทุกขอริยสัจจ์
อทุกข์หรืออสุข.......โวหารนี้หาได้มีความหมายในทางธรรม

แนะนำครับว่า....คำว่าเวทนา มีความหมายเพียงการรับรู้ถึงลักษณะต่อสิ่งที่มากระทบ(ทวาร)
ไม่มีคำตามที่คุณยกมาถาม ตัวอย่างเช่น เวทนาต่อเสียงก็คือรู้ถึงระดับของเสียง(ดังหรือเบา)
รู้รส(ขม หวาน จืด)เป็นต้น


ผู้พูดตามตัวอย่างต่อไปนี้ ไม่รู้สภาพธรรมในกายใจที่แท้จริงมีลักษณะเช่นไรจริงหรือเปล่า

Quote Tipitaka:
[๒๗๓] อัคคิเวสสนะ เวทนาสามอย่างนี้ คือ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขม
สุขเวทนา ๑.
อัคคิเวสสนะ สมัยใดได้เสวยสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ไม่
ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่สุขเวทนาเท่านั้น. ในสมัยใดได้เสวยทุกขเวทนา ใน
สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่ทุกขเวทนาเท่านั้น. ใน
สมัยใดได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ได้
เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาเท่านั้น. อัคคิเวสสนะ สุขเวทนาไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น
อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา. แม้ทุกขเวทนาก็
ไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไป
เป็นธรรมดา. แม้อทุกขมสุขเวทนาก็ไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความ
สิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา. อัคคิเวสสนะ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อ
เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมหน่ายทั้งในสุขเวทนา ทั้งในทุกขเวทนา ทั้งในอทุกขมสุขเวทนา เมื่อหน่าย
ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้น
แล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็น
อย่างนี้มิได้มี. อัคคิเวสสนะ ภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้วอย่างนี้แล ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ
โวหารใดที่ชาวโลกพูดกัน ก็พูดไปตามโวหารนั้น แต่ไม่ยึดมั่นด้วยทิฏฐิ.

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=13&A=4661&Z=4768&pagebreak=0


พระสูตรแปลบทนี้ ผมได้บอกไว้แต่ต้นแล้วว่า.......
โฮฮับ เขียน:
สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกอสุขเวทนา.......คำทั้งสามคำนี้ไม่ใช่พุทธพจน์ มันเป็นโวหาร(คำพูด)
ของปุถุชนที่ยังขาดความเข้าใจในพุทธบัญญัติ
ที่สำคัญผู้พูดยังไม่รู้ว่า สภาพธรรมในกายใจที่แท้จริงมีลักษณะเช่นไร
ก็เลยทำให้ใช้โวหารหรือถ้อยคำที่ผิดจากความเป็นจริง


ถ้าเป็นผู้รู้ ผู้รู้จะต้องยกเอาพระสูตรที่เป็นต้นตอมาอ้างอิง
ไม่ใช่ทำแบบคุณเช่นนั้น คือยกเอาสิ่งที่อีกฝ่ายอ้างว่า มันเป็นปัญหา
เช่นผมบอกว่า พระสูตรแปลไทยเป็นปัญหา แทนที่คุณเช่นนั้นจะเอาบาลีมาอ้างกลับ
เอาพระสูตรที่เป็นปัญหามาอ้าง เช่นนี้ก็รู้แล้วว่าไม่ได้มีสมาธิการการสนทนา


พระสูตรที่ต้องนำมาอ้างอิงคือ..........

[๒๗๓] ติสฺโส โข อิมา อคฺคิเวสฺสน
เวทนา สุขา
เวทนา ทุกฺขา
เวทนา อทุกฺขมสุขา

เวทนา ฯ ยสฺมึ อคฺคิเวสฺสน สมเย
สุขํ เวทนํ เวเทติ เนว ตสฺมึ สมเย ทุกฺขํ เวทนํ เวเทติ น
อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวเทติ สุขํเยว ตสฺมึ สมเย เวทนํ เวเทติ ฯ

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... =269&Z=275

ในบาลีท่านไม่ได้บัญญัติว่า "สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกอสุขเวทนา.
แต่ท่านบัญญัติว่า.....เวทนา สุขา๑ เวทนา ทุกขา๑ เวทนา อทุกขมสุขา๑

ในบาลีท่านบัญญัติไว้อย่างหนึ่ง พอเวลาแปลท่านเอาไปบัญญัติอีกแบบหนึ่ง
ทำเช่นนี้ความหมายพระธรรมบาลีมันผิดเพี้ยน......
พิจารณาก็รู้ว่า ผู้แปลและคุณเช่นนั้นขาดซึ่งความเข้าใจเรื่องเหตุปัจจัยและขาดซึ่งหัวใจพุทธศาสนาที่ว่า..


เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา
เยสํ เหตุํ ตถาคโต อาห
เตสญฺจ โย นิโรโธ จ
เอวํ วาที มหาสมโณติ ฯ


ธรรมทั้งหลายเหล่าใดเกิดแต่เหตุ
พระตถาคตเจ้าทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น
และความดับแห่งธรรมทั้งหลายเหล่านั้น
พระมหาสมณะเจ้า ทรงสังสอนอย่างนี้


โฮฮับ ไปไม่เป็น ก็บอกมาตรงๆ
บัณฑิตที่แปล บาลีเป็นภาษาไทย หากมีการเติมตามความเข้าใจ บัณฑิตจะกระทำในวงเล็บ
บัณฑิตผู้แปล แปลตามไวยากรณ์ หลักนิรุติศาสตร์
โฮฮับจะมั่วไม่ยอมรับว่ากล่าวผิด แสดงผิด ก็อย่าแถไปข้างๆ คูๆ เช่นนี้

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 15:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:

แค่เบื้องต้นคุณยังไม่รู้ไม่เข้าใจเลยว่า เรากำลังคุยกันในเรื่องอะไร
เนื้อหาที่เรากำลังคุยกันมันเป็นเรื่องของ...พระอภิธรรม
จะยกเนื้อพระไตรปิฎกมาอ้าง มันต้องเอาเนื้อหาที่เป็นพระอภิธรรมปิฎกมาแสดงครับ
ไม่ใช่เอาพระสูตร เนื้อหาในพระสูตรมีทั้งโวหารของปุถุชน(แปล) และมีทั้งโวหารของสาวก
คนที่ยังติดในสักกายทิฐิไม่รู้จักแยกแยะหรอกครับ.....อย่างดีแค่เอามาแก้เกี้ยว(ดื้อตาใส)

โฮฮับ ...
หากจะยกอภิธรรมปิฏกมาแก้สิ่งที่โฮฮับยังเข้าใจผิดอยู่
โฮฮับ ก็ไปศึกษา ตามนี้
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php?B=34&A=0&Z=103&pagebreak=0
Quote Tipitaka:
กุสลา ธมฺมา ธรรมเป็นกุศล
อกุสลา ธมฺมา ธรรมเป็นอกุศล
อพฺยากตา ธมฺมา ธรรมเป็นอัพยากฤต

สงฺกิลิฏฺฐสงฺกิเลสิกา ธมฺมา ธรรมเศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของสังกิเลส
อสงฺกิลิฏฺฐสงฺกิเลสิกา ธมฺมา ธรรมไม่เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
อสงฺกิลิฏฺฐาสงฺกิเลสิกา ธมฺมา ธรรมไม่เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส

มคฺคารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีมรรคเป็นอารมณ์
มคฺคเหตุกา ธมฺมา ธรรมมีเหตุคือมรรค
มคฺคาธิปติโน ธมฺมา ธรรมมีมรรคเป็นอธิบดี

อตีตา ธมฺมา ธรรมเป็นอดีต
อนาคตา ธมฺมา ธรรมเป็นอนาคต
ปจฺจุปฺปนฺนา ธมฺมา ธรรมเป็นปัจจุบัน

อตีตารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นอดีต
อนาคตารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นอนาคต
ปจฺจุปฺปนฺนารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นปัจจุบัน

อชฺฌตฺตา ธมฺมา ธรรมเป็นภายใน
พหิทฺธา ธมฺมา ธรรมเป็นภายนอก
อชฺฌตฺตพหิทฺธา ธมฺมา ธรรมเป็นทั้งภายในและภายนอก

อชฺฌตฺตารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นภายใน
พหิทฺธารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นภายนอก
อชฺฌตฺตพหิทฺธารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นภายในและเป็นภายนอก

จะสนทนาอภิธรรม จิตก็ไม่ใช่อารมณ์ อารมณ์ก็ไม่ใช่จิตอยู่ดีนะโฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 มิ.ย. 2016, 19:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:

โฮฮับ ไปไม่เป็น ก็บอกมาตรงๆ
บัณฑิตที่แปล บาลีเป็นภาษาไทย หากมีการเติมตามความเข้าใจ บัณฑิตจะกระทำในวงเล็บ
บัณฑิตผู้แปล แปลตามไวยากรณ์ หลักนิรุติศาสตร์
โฮฮับจะมั่วไม่ยอมรับว่ากล่าวผิด แสดงผิด ก็อย่าแถไปข้างๆ คูๆ เช่นนี้


ไปไม่เป็นอะไรที่ไหนกันครับ!! ผมชี้ประเด็นที่เป็นปัญหาของผู้แปลกับของคุณเช่นนั้นให้ดูแล้ว
แทนที่คุณจะเอะใจแล้วกลับไปพิจารณาเปรียบเทียบเนื้อหา พระสูตรบาลีกับพระสูตรแปลไทยว่า
มันผิดเพี้ยนแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งผมได้ยกเอาหลักของการพิจารณาธรรมมาบอกเพื่อเพิ่มพูน
ปัญญาให้กับคุณเช่นนั้น สรุปมันเปล่าประโยชน์ สั้นๆครับ...เสียของ

ในบาลีท่านบัญญัติว่า....
เวทนา สุขา
เวทนา ทุกฺขา
เวทนา อทุกฺขมสุขา


โดยความหมายของบาลี ทั้งสามนี้ก็คือ.
เวทนาเป็นเหตุแห่งความสุข
เวทนาเป็นเหตุแห่งความทุกข์
เวทนาเป็นเหตุแห่งความเมินเฉย

ทั้งความสุข ความทุกข์และความเมินเฉย ไม่ใช่เวทนาแต่เป็นสิ่งที่มโนทวารปรุงแต่งขึ้นมา
ทั้งหมดล้วนเป็นผลที่มาจากเวทนา และผลที่ว่าเกิดหลังจาก เวทนาได้ดับไปแล้ว


โปรดสังเกตดูให้ดีว่า บาลีท่านบัญญัติด้วย เวทนานำหน้า และผลของเวทนา
ตามหลังและมีการเว้นวรรค.....นี้ก็แสดงให้เห็นว่า มันไม่ใช่คำเดียวหรือสิ่งเดียวกัน


มาดูที่พระสูตรแปลไทยซิครับ ผมว่าผู้แปลท่านมั่วผิดเพี้ยนครับ

ทำไม... เวทนา สุขา จึงกลายเป็น สุขเวทนา

ทำไม.....เวทนา ทุกฺขา จึงกลายเป็น ทุกขเวทนา

ทำไม.....เวทนา อทุกฺขมสุขา จึงกลายเป็น อทุกขมทุกขเวทนา

ดูก็รู้ว่าท่านแปลมั่วเห็นๆครับ แปลแบบนี้พุทธพจน์ผิดเพี้ยนหมด

แนะนำ พระธรรมไม่ใช่ตำราภาษานะครับ ถึงจะได้อ้างบัณฑิตอ้างไวยากรณ์
หรืออ้างนิรุตต์......ผู้ที่จะแปลบาลีที่ใช้อธิบายธรรม จะต้องรู้และเข้าใจหลักแห่งอภิธรรมเป็นอย่างดี
ไม่งั้นก็มั่วอย่างที่เห็นนี้แหล่ะครับ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ... 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 55 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร