วันเวลาปัจจุบัน 25 เม.ย. 2024, 09:24  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 69 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2015, 13:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 12 มิ.ย. 2014, 20:13
โพสต์: 709

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
ขออนุโมทนากับผู้ปฏิบัติ
ที่อยู่กับลักษณะเป็นปรมัตถ์ได้ตลอดเวลาค่ะ
tongue ยังมิสามารถ
รู้ว่า..เพราะยังขี้เกียจ55
:b9: :b9: :b3: :b9: :b9:

:b16: :b16:
แต่บางครั้งมักมีลักษณะที่..
ไม่จำเป็นต้องขยันหรือขี้เกียจ :b32: :b32:
เวลาที่มันบังคับบัญชาไม่ได้จริงๆ..ร่างกายนี้
แต่เป็นไหว,ไหล,หนักด้วยซิ :b23:
ก็..เหนื่อยน่าดู :b5: :b5: :b5:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2015, 14:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
...จะยืนเดินนั่งนอนกินดื่มพูดคิดล้วนแต่ความจริงตามสมมุติ...
...แต่ถ้าไม่กำหนดลักษณะที่รู้ทีละ1อย่างก็ไม่รู้สภาพธรรมค่ะ...
...หลงอยู่ในโลกของความคิดโดยละเลยสิ่งที่ตรงความจริงก็...
...ชื่อว่าหลงของไม่มีที่คิดว่ามีเป็นปกติที่ไม่มีสติสัมปชัญญะ...
...มหาภูตรูปเป็นธาตุสี่ดินน้ำลมไฟมีลักษณะเฉพาะตัวตามธาตุ...
...จะอยู่กับความคิดที่หลงสมมุติแล้วเกิดแต่อกุศลไปเรื่อยๆ...
...หรือจะเริ่มเข้าใจความจริงของสิ่งที่มีที่กระทบถูกตัวทั้งวัน...
...สภาพแข็งของไม้และเหล็กที่มองเห็นแต่คิดว่าเป็นแข็ง...
...สภาพแข็งที่ตรองลักษณะปรากฏความจริงเมื่อสัมผัสค่ะ...
...ที่มองเห็นคือคิดเอาว่ารู้ความจริงก็หลงสติถ้าไม่ละตัวตน...
...ไม่คิดเป็นตัวเป็นแขนเป็นขาเป็นหลังเป็นก้นแต่เป็นรู้สึก...
...กระทบตรงไหนรู้ตรงนั้นทันทีคือคิดยาวก็ปกติหลงลืมสติ...
...กระพริบตา1ครั้งสภาพเกิด-ดับทางอายตนหกดับทั้งหมด...
https://www.youtube.com/watch?v=u0_Ae4Hg5Qw
:b4: :b4:
rolleyes rolleyes rolleyes


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2015, 16:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เดินจงกรม
ให้เดินเพื่อให้มีสมาธิตั้งมั่นได้นาน
เพื่อสุขภาพ
เพื่อความสำรวมอินทรีย์
:
เดิน รู้อิริยาบถว่าเดิน พอแล้ว
เดิน เพื่อเห็นความเกิดความดับ ของนามรูป พอแล้ว
เดิน เพื่อเข้าใจว่าจิตแล่นไปในธาตุต่างๆ รูปธาตุบ้าง เวทนาธาตุบ้าง สัญญาธาตุบ้าง สังขารธาตุบ้างพอแล้ว
ก็จะเข้าใจความเกิดความดับ
อย่าเจริญความฟุ้ง ไปดูอย่างอื่นเลย
ดูไปทำไม ตึงแข็งอ่อนไหว
ดูไปทำไมเรื่องความฟุ้งของบัญญัติ เฝือไปในบัญญัติที่เข้าใจว่าเป็นปรมัตถ์
การเจริญสติปัฏฐาน 4 ในอิริยาบถเดิน ก็เป็นการเจริญอภิธรรม เป็นปรมัตถ์แล้ว
พระพุทธองค์ ทรงตรัสสอนสิ่งง่ายๆ ละความเพลินของจิตในธาตุทั้งหลาย...

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2015, 21:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
เดินจงกรม
ให้เดินเพื่อให้มีสมาธิตั้งมั่นได้นาน
เพื่อสุขภาพ
เพื่อความสำรวมอินทรีย์
:
เดิน รู้อิริยาบถว่าเดิน พอแล้ว
เดิน เพื่อเห็นความเกิดความดับ ของนามรูป พอแล้ว
เดิน เพื่อเข้าใจว่าจิตแล่นไปในธาตุต่างๆ รูปธาตุบ้าง เวทนาธาตุบ้าง สัญญาธาตุบ้าง สังขารธาตุบ้างพอแล้ว
ก็จะเข้าใจความเกิดความดับ
อย่าเจริญความฟุ้ง ไปดูอย่างอื่นเลย
ดูไปทำไม ตึงแข็งอ่อนไหว
ดูไปทำไมเรื่องความฟุ้งของบัญญัติ เฝือไปในบัญญัติที่เข้าใจว่าเป็นปรมัตถ์
การเจริญสติปัฏฐาน 4 ในอิริยาบถเดิน ก็เป็นการเจริญอภิธรรม เป็นปรมัตถ์แล้ว
พระพุทธองค์ ทรงตรัสสอนสิ่งง่ายๆ ละความเพลินของจิตในธาตุทั้งหลาย...

ลักษณะที่เคลื่อนไหวคือธาตุลม
แล้วเวลาขยับงอแข้งเหยียดขา
รู้สึกตึงๆและไหวๆก็คือการขยับ
การเคลื่อนไหวจะรู้ลักษณะอะไร
หรือจะรู้ลักษณะขยับแขนขยับขา
แล้วจะทำความเห็นว่าไม่มีตัวตนยังไง
หรือต้องตัดแขนตัดขาถึงจะไม่มีตัวตน
:b39: :b32:
:b55: :b55:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2015, 02:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
เดินจงกรม
ให้เดินเพื่อให้มีสมาธิตั้งมั่นได้นาน
เพื่อสุขภาพ
เพื่อความสำรวมอินทรีย์
:
เดิน รู้อิริยาบถว่าเดิน พอแล้ว
เดิน เพื่อเห็นความเกิดความดับ ของนามรูป พอแล้ว
เดิน เพื่อเข้าใจว่าจิตแล่นไปในธาตุต่างๆ รูปธาตุบ้าง เวทนาธาตุบ้าง สัญญาธาตุบ้าง สังขารธาตุบ้างพอแล้ว
ก็จะเข้าใจความเกิดความดับ
อย่าเจริญความฟุ้ง ไปดูอย่างอื่นเลย
ดูไปทำไม ตึงแข็งอ่อนไหว
ดูไปทำไมเรื่องความฟุ้งของบัญญัติ เฝือไปในบัญญัติที่เข้าใจว่าเป็นปรมัตถ์
การเจริญสติปัฏฐาน 4 ในอิริยาบถเดิน ก็เป็นการเจริญอภิธรรม เป็นปรมัตถ์แล้ว
พระพุทธองค์ ทรงตรัสสอนสิ่งง่ายๆ ละความเพลินของจิตในธาตุทั้งหลาย...

ลักษณะที่เคลื่อนไหวคือธาตุลม
แล้วเวลาขยับงอแข้งเหยียดขา
รู้สึกตึงๆและไหวๆก็คือการขยับ
การเคลื่อนไหวจะรู้ลักษณะอะไร
หรือจะรู้ลักษณะขยับแขนขยับขา
แล้วจะทำความเห็นว่าไม่มีตัวตนยังไง
หรือต้องตัดแขนตัดขาถึงจะไม่มีตัวตน
:b39: :b32:
:b55: :b55:

เจริญความฟุ้งอย่างแท้จริง
แทนที่จะ ให้เห็นความเกิดความดับ
กลับมาเจริญความฟุ้งไปกับรูปบัญญัติ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2015, 11:09 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ส.ค. 2015, 21:52
โพสต์: 32

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คนเราทุกคนเมื่ออยู่ในอิริยาบทใดนาน ๆ ร่างกายย่อมเมื่อยล้าเป็นธรรมดา ดังนั้นเราจึงต้องเปลี่ยนอิริยาบท เพื่อผ่อนคลายความเมื่อยล้า การปฏิบัติธรรมก็เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่การปฏิยัติธรรมจะใช้การนั่งสมาธิเป็นหลัก เมื่อแต่เมื่อนั่งไปนาน ๆ ก็เกิดความเมื่อยล้าเช่นกัน เราจึงต้องเปลี่ยนอิริยาบทอื่น ๆ ซึ่งส่วนมากมักใช้วิธีการเดินจงกรม

ถ้าเราศึกษาในพระสูตรมหาสติปัฏฐาน ในส่วนของกายานุปัสสนา ก็ได้บอกไว้ในอิริยาปถบรรพ และ สัมปชัญญบรรพ วิธีการเจริญสติด้วยบรรพทั้งสองนี้ผมว่าใกล้เคียงกัน และขอยกข้อความบางส่วนของบรรพทั้งสองนี้

อิริยาบทบรรพ "อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเมื่อเดิน ก็รู้ชัดว่าเราเดิน เมื่อยืน ก็รู้ชัดว่าเรายืน เมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่าเรานั่ง เมื่อนอนก็รู้ชัดว่าเรานอน หรือเธอตั้งกายไว้ด้วยอาการอย่างใดๆ ก็รู้ชัดอาการอย่างนั้นๆ ..."
สัมปชัญญบรรพ " อีกข้อหนึ่ง ภิกษุย่อมทำความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว ในการเดิน การยืน การนั่งการหลับ การตื่น การพูด การนั่ง..."

ข้อความสำคัญของ อิริยาบทบรรพ คือ เธอตั้งกายไว้ด้วยอาการอย่างใดๆ ก็รู้ชัดอาการอย่างนั้นๆ และข้อความสำคัญของ สัมปชัญญบรรพ คือ ย่อมทำความรู้สึกตัว ในการเดิน การยืน การนั่งการหลับ การตื่น การพูด การนั่ง ข้อความทั้งสองที่ยกมามีความหมายอย่างเดียวกันคือ ความมีสติรู้ตัวอยู่ตลอดเวลาไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบทใด

ทีนี้เวลาเดินจงกรม คุณ idea ลองพิจารณาจิตของตนเองในขณะที่เดินว่าจิตมีสติรู้ตัวอยู่หรือไม่ หรือกำลังคิดอะไร กังวลเรื่องการเดินหรือเปล่า จิตสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวหรือเปล่า ถ้ามีแสดงว่าขณะที่คุณเดินจงกรม สติไม่ได้ตั้งมั่น ซึ่งปกติคนที่เริ่มต้นทำใหม่ ๆ หรือจิตคนที่ฝึกสมาธิยังไม่มั่นคงนัก จะทำได้ยากอยู่แล้ว ยิ่งเวลาเดินเราลืมตามองประสาทสัมผัสเราจะรับรู้สิ่งรอบตัวเต็มไปหมดเลยทำให้ขาดสติได้ง่าย

คุณ idea ลองหลับตาเดิน โดยอาจทำราวยึดเกาะ หรือเดินเดินชิดผนัง หรืออาจเดินที่ว่างไม่มีอะไรกีดขวางแล้วประมาณดูว่าจะเดินได้กี่ก้าว 10 ก้าว 15 ก้าว เพื่อไม่ให้ชนกับสิ่งกีดขวาง ลองฝึกดูครับน่าจะช่วยได้มาก และถ้าจะฝึกเดินจงกรมอย่าลืมอ่านบรรพทั้งสองด้วยอ่านหลาย ๆ รอบครับ อ่านแล้วเดิน เดินแล้วอ่าน แล้วเมื่อทำได้ก็จะเข้าใจข้อความนั้นอย่างลึกซึ้งเลยครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2015, 13:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
Rosarin เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
เดินจงกรม
ให้เดินเพื่อให้มีสมาธิตั้งมั่นได้นาน
เพื่อสุขภาพ
เพื่อความสำรวมอินทรีย์
:
เดิน รู้อิริยาบถว่าเดิน พอแล้ว
เดิน เพื่อเห็นความเกิดความดับ ของนามรูป พอแล้ว
เดิน เพื่อเข้าใจว่าจิตแล่นไปในธาตุต่างๆ รูปธาตุบ้าง เวทนาธาตุบ้าง สัญญาธาตุบ้าง สังขารธาตุบ้างพอแล้ว
ก็จะเข้าใจความเกิดความดับ
อย่าเจริญความฟุ้ง ไปดูอย่างอื่นเลย
ดูไปทำไม ตึงแข็งอ่อนไหว
ดูไปทำไมเรื่องความฟุ้งของบัญญัติ เฝือไปในบัญญัติที่เข้าใจว่าเป็นปรมัตถ์
การเจริญสติปัฏฐาน 4 ในอิริยาบถเดิน ก็เป็นการเจริญอภิธรรม เป็นปรมัตถ์แล้ว
พระพุทธองค์ ทรงตรัสสอนสิ่งง่ายๆ ละความเพลินของจิตในธาตุทั้งหลาย...

ลักษณะที่เคลื่อนไหวคือธาตุลม
แล้วเวลาขยับงอแข้งเหยียดขา
รู้สึกตึงๆและไหวๆก็คือการขยับ
การเคลื่อนไหวจะรู้ลักษณะอะไร
หรือจะรู้ลักษณะขยับแขนขยับขา
แล้วจะทำความเห็นว่าไม่มีตัวตนยังไง
หรือต้องตัดแขนตัดขาถึงจะไม่มีตัวตน
:b39: :b32:
:b55: :b55:

เจริญความฟุ้งอย่างแท้จริง
แทนที่จะ ให้เห็นความเกิดความดับ
กลับมาเจริญความฟุ้งไปกับรูปบัญญัติ

ลักษณะการเดินอ่ะนะมือกุมนิ่งๆ
จุดใหญ่ๆที่เคลื่อนคือเท้าไม่ใช่เหรอ
เท้าแตะพื้นสิ่งแรกที่รู้สึกคืออะไร
ไหวคือเคลื่อนเท้าเย็นคือเท้าแตะพื้น
แข็งคือที่ตัว/มือกุมหรือเท้าสัมผัสที่พื้น
และตึงก็ที่เข่าเหยียดเท้าวางเต็มพื้นลง
และที่น้ำหนักตัวทิ้งลงพื้นทั้งหมดก็ตึง
เวลาเช่นนั้นเดินรู้สึกปัจจุบันขณะ
ที่เป็นสัจจะแบบไหนบ้างคะ
หรือคิดไปโน่นมานี่ล่ะ
อะไรมาสัมผัสที่ใจ
ก็ระลึกปัจจุบัน
เสียง/กลิ่น
ได้ทั้งนั้น
ทันทีที่รู้
:b32: :b32:
Kiss


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2015, 17:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
ลักษณะการเดินอ่ะนะมือกุมนิ่งๆ
จุดใหญ่ๆที่เคลื่อนคือเท้าไม่ใช่เหรอ
เท้าแตะพื้นสิ่งแรกที่รู้สึกคืออะไร
ไหวคือเคลื่อนเท้าเย็นคือเท้าแตะพื้น
แข็งคือที่ตัว/มือกุมหรือเท้าสัมผัสที่พื้น
และตึงก็ที่เข่าเหยียดเท้าวางเต็มพื้นลง
และที่น้ำหนักตัวทิ้งลงพื้นทั้งหมดก็ตึง
เวลาเช่นนั้นเดินรู้สึกปัจจุบันขณะ
ที่เป็นสัจจะแบบไหนบ้างคะ
หรือคิดไปโน่นมานี่ล่ะ
อะไรมาสัมผัสที่ใจ
ก็ระลึกปัจจุบัน
เสียง/กลิ่น
ได้ทั้งนั้น
ทันทีที่รู้

เช่นนั้น เขียน:
idea เขียน:
เวลาเริ่มเดิน...พยายามมีสติอยู่กับการเดิน ที่เท้า
คือรู้ที่เท้ายก...ย่าง...เหยียบ
แต่ไม่ทันไร
จิตมันคอยจะจับภาพท่อนเท้าที่ยก...แวบไปท่อนย่าง ตามจุดที่เรา พยายามทำความรู้ตัวอยู่
ไม่ได้เห็นเป็นภาพต่อเนื่องนะคะ......มันตัดเป็นฉากไป ซึ่งเดินไม่เร็วมาก
แต่ก็ทำให้สับสน...รู้กับเห็น
มันเพิ่งเริ่มต้นทำ...มันทำให้หงุดหงิด จนต้องหยุดกลับมานั่งอย่างเดียวตามความเคยชินค่ะ
จะแก้ไขกับอาการนี้ยังไงดีค่ะ
:b8:

การเดินจงกรม ด้วยอาการหุ่นยนต์เช่นนี้ ไม่ใช่การเดินจงกรม
การเดินจงกรม ไม่ยากและบังคับท่าทางร่างกายจนวุ่นวายเป็นความฟุ้งอย่างนั้น
พุทธภาษิตให้กระทำเพียงเท่านี้ครับ
Quote Tipitaka:
[๓๔๘] ดูกรอานนท์ หากเมื่อภิกษุนั้นอยู่ด้วยวิหารธรรมนี้ จิตย่อม
น้อมไปเพื่อจะจงกรม เธอย่อมจงกรมด้วยใส่ใจว่า อกุศลธรรมลามกคืออภิชฌา
และโทมนัส จักไม่ครอบงำเราผู้จงกรมอยู่อย่างนี้ได้ ด้วยอาการนี้แล เป็น
อันเธอรู้สึกตัวในเรื่องการจงกรม ฯ


รู้ได้อย่างไรว่า ไม่ต้องบังคับควบคุมร่างกายให้เหมือนหุ่นยนต์ หรือด้วยอาการเดินไม่เต็มเท้า
พุทธภาษิต ปรารภอาการ ความเป็นผู้มีสติ มีความเพียรดังนี้ครับ
Quote Tipitaka:
[๑๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีศีลสมบูรณ์ มีปาติโมกข์
สมบูรณ์ จงเป็นผู้สำรวมในปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยอาจาระและโคจร
มีปรกติเห็นภัยในโทษอันมีประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย
เมื่อเธอทั้งหลายมีศีลสมบูรณ์ มีปาติโมกข์สมบูรณ์ สำรวมในปาติโมกข์สังวร
สมบูรณ์ด้วยอาจาระและโคจร มีปรกติเห็นภัยในโทษอันมีประมาณน้อย สมาทาน
ศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย กิจที่ควรทำยิ่งกว่านี้ จะพึงมีอะไรเล่า ถ้าแม้ภิกษุ
กำลังเดินไป อภิชฌาไปปราศแล้ว พยาบาทไปปราศแล้ว ละถีนมิทธะได้แล้ว
ละอุทธัจจกุกกุจจะได้แล้ว ละวิจิกิจฉาได้แล้ว ปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน
มีสติมั่นไม่หลงลืม มีกายสงบไม่ระส่ำระสาย มีจิตมั่นคง มีอารมณ์เป็นหนึ่ง
ภิกษุแม้เดินอยู่เป็นอย่างนี้ เราเรียกว่า ผู้มีความเพียร มีโอตตัปปะ มีความเพียร
อันปรารภแล้วเป็นนิจนิรันดร มีใจเด็ดเดี่ยว ถ้าแม้ภิกษุยืนอยู่ ... ถ้าแม้ภิกษุ
นั่งอยู่ ... ถ้าแม้ภิกษุนอนตื่นอยู่ อภิชฌาไปปราศแล้ว พยาบาทไปปราศแล้ว
ละถีนมิทธะได้แล้ว ละอุทธัจจกุกกุจจะได้แล้ว ละวิจิกิจฉาได้แล้ว ปรารภความ
เพียรไม่ย่อหย่อน มีสติมั่นไม่หลงลืม มีกายสงบไม่ระส่ำระสาย มีจิตมั่นคง
มีอารมณ์เป็นหนึ่ง ภิกษุแม้นอนตื่นอยู่เป็นอย่างนี้ เราเรียกว่า ผู้มีความเพียร
มีโอตตัปปะ มีความเพียรอันปรารภแล้วเป็นนิจนิรันดร มีใจเด็ดเดี่ยว ฯ
ภิกษุพึงเดินตามสบาย พึงยืนตามสบาย พึงนั่งตามสบาย พึง
นอนตามสบาย พึงคู้ตามสบาย พึงเหยียดตามสบาย ตลอด
คติของโลก ทั้งเบื้องบน ท่ามกลาง และเบื้องต่ำ และพิจารณา
ตลอดความเกิด และความเสื่อมไปแห่งธรรม และขันธ์
ทั้งหลาย นักปราชญ์ทั้งหลายกล่าวภิกษุอย่างนั้น ผู้มีสติทุก
เมื่อ ศึกษาปฏิปทาอันสมควรแก่ความสงบใจเสมอ ว่ามีใจ
เด็ดเดี่ยว ฯ


เลิกๆ ซะ การเดินกระโหย่ง การเดินแบบหุ่นยนต์ นั่นไม่ใช่การเดินจงกรม ครับ


ไปจำมาจากไหน?
อ่านคำพระศาสดา แล้วปฏิบัติก็เพียงพอไม่ต้องทำเกินครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2015, 01:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
กิเลสกับธรรมแย่งที่นั่งในใจ
ขึ้นอยู่กับความเข้าใจที่ระลึกได้
อะไรปรากฎกับจิตก็เป็นเจตนาที่รู้
สภาพที่ปรากฎกิเลสกับธรรมแยกกัน
ถ้ารู้รวมๆก็เป็นกิเลสปกปิดสัจจะที่ปรากฎ
:b12:
:b4: :b4:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 69 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 121 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron