วันเวลาปัจจุบัน 24 เม.ย. 2024, 02:56  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 37 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 เม.ย. 2015, 17:13 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 ธ.ค. 2011, 23:47
โพสต์: 298


 ข้อมูลส่วนตัว


แล้วพระอรหันต์ ที่ดำรงธาตุขันธ์อยู่ ดวงจิตน่าจะมีการเกิดดับอยู่ ในเมื่ออายตนะยังรู้แจ้งอยู่ ดวงจิตน่าจะมีการเกิดดับอยู่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 เม.ย. 2015, 17:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว


bbby เขียน:
คุณ muisun เขียน

อ้างคำพูด:
ถ้ารวมจิตไม่เห็นถึงการดับของเค้า และยังมีความคิดอยู่ว่า สงบ นิ่ง สุข อิ่มใจ ยังไม่ใช่การรวมจิต เพราะยังมีข้อความอยู่
การรวมจิตจิตจะรวมได้ต้องเป็นมรรคสมังคี คือ การรวมโพธิปักขิยธรรม 37 ประการมา เข้าสู่จิตดวงเดียว คือ การดับ


ขอคำอธิบายเพิ่ม ตรงที่ทำสีแดงไว้ด้วยค่ะ เราสนใจมากค่ะ :b8: :b41: :b55: :b49:


จะขอยกเป็นตัวอย่าง "มัคสมังคีย์" โดยยกเป็นรูปธรรมเพื่อง่ายต่อการเข้าใจ
มัคสมังคีย์ นั้นก็ได้แก่ "มรรคมีองค์ ๘" ที่กล่าวกันอยู่ทั่วๆไปบ่อยๆ นั่นเอง

ที่นี้ มัคสมังคีย์ ยังไง ก็เหมือนคน ๘ คนพร้อมใจกันยกของหนักอย่างแข็งขัน
เต็มกำลังตามความสามารถที่ตนมีอยู่ ยกพร้อมๆกัน เรียกว่าไม่อู้ จึงจะยกของหนักขึ้น
จึงได้ชื่อว่า สมังคีย์

นัยตรงกันข้าม มีคน ๘ คนแต่อีกคนหนึ่งไม่ยอมออกแรง หรือออกแรงแต่น้อย
หรือไม่พร้อมเพรียงกัน ก็จะยกของหนักไม่ขึ้น เรียกว่าไม่ สมังคีย์ กัน คงพอเข้าใจนะครับ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 เม.ย. 2015, 18:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ก.พ. 2009, 22:21
โพสต์: 1975


 ข้อมูลส่วนตัว


คุณลุงสมานเขียน


อ้างคำพูด:
จะขอยกเป็นตัวอย่าง "มัคสมังคีย์" โดยยกเป็นรูปธรรมเพื่อง่ายต่อการเข้าใจ
มัคสมังคีย์ นั้นก็ได้แก่ "มรรคมีองค์ ๘" ที่กล่าวกันอยู่ทั่วๆไปบ่อยๆ นั่นเอง

ที่นี้ มัคสมังคีย์ ยังไง ก็เหมือนคน ๘ คนพร้อมใจกันยกของหนักอย่างแข็งขัน
เต็มกำลังตามความสามารถที่ตนมีอยู่ ยกพร้อมๆกัน เรียกว่าไม่อู้ จึงจะยกของหนักขึ้น
จึงได้ชื่อว่า สมังคีย์

นัยตรงกันข้าม มีคน ๘ คนแต่อีกคนหนึ่งไม่ยอมออกแรง หรือออกแรงแต่น้อย
หรือไม่พร้อมเพรียงกัน ก็จะยกของหนักไม่ขึ้น เรียกว่าไม่ สมังคีย์ กัน คงพอเข้าใจนะครับ



:b8: ขอบคุณค่ะคุณลุงสมาน เข้าใจแล้วค่ะ ขอบคุณนะคะ
ที่ใช้คำภาษาธรรมง่าย ๆ ทีนี้เห็นชัดเลยค่ะ :b1: :b41: :b55: :b49:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 เม.ย. 2015, 19:14 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12: :b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 เม.ย. 2015, 19:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ก.พ. 2009, 22:21
โพสต์: 1975


 ข้อมูลส่วนตัว


คุณกบฯ

อ้างคำพูด:
:b12: :b12: :b12:




รู้สึกช่วงนี้คุณกบฯจะขยันยิ้มนะคะ :b1: :b41: :b41: :b55: :b48:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 เม.ย. 2015, 12:31 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


บางที...มันก็ต่างกันแค่คำที่ใช้

แต่...ก็สภาวะอันเดียวกันนั้นแหละ...

ก็ไม่รู้จะ...อธิบายไปทำไม

ยิ้ม..ดีกว่า :b12: :b12:

นี้แหละ...ข้อจำกัด..ของสมมุติบัญญัติ...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 เม.ย. 2015, 14:14 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ม.ค. 2015, 21:55
โพสต์: 1067

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปริชานสูตรที่ ๑             [๒๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ที่ยังไม่รู้ยิ่ง ยังไม่กำหนดรู้ ยังไม่คลาย กำหนัด ยังละไม่ได้ซึ่งสิ่งทั้งปวง ยังไม่เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย ก็สิ่งทั้งปวงคืออะไร บุคคลผู้ยังไม่รู้ยิ่ง ยังไม่กำหนดรู้ ยังไม่คลาย กำหนัด ยังละไม่ได้ ยังไม่เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย คือ จักษุ บุคคลยังไม่รู้ยิ่ง ยังไม่กำหนดรู้ ยังไม่คลายกำหนัด ยังละไม่ได้ ยังไม่ เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ รูป ฯลฯ จักษุวิญญาณ จักษุสัมผัส ฯลฯ สุขเวทนา ฯลฯ ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัส เป็นปัจจัย บุคคลยังไม่รู้ยิ่ง ยังไม่กำหนดรู้ ยังไม่คลายกำหนัด ยังละไม่ได้ ก็ ยังเป็นผู้ไม่ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ หู ฯลฯ เสียง ฯลฯ ลิ้น ฯลฯ รส ฯลฯ กาย ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ ใจ ฯลฯ ธรรมารมณ์ ฯลฯ มโนวิญญาณ ฯลฯ มโนสัมผัส ฯลฯ แม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย บุคคลยังไม่รู้ยิ่ง ยังไม่กำหนดรู้ ยังไม่คลายกำหนัด ยังละไม่ได้ ก็ยังเป็นผู้ไม่ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ที่ยัง ไม่รู้ยิ่ง ยังไม่กำหนดรู้ ยังไม่คลายกำหนัด ยังไม่ละซึ่งสิ่งทั้งปวงนี้ ยังเป็นผู้ไม่ ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ ฯ              [๒๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลผู้ที่รู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้ ละได้ซึ่งสิ่งทั้งปวง เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สิ่งทั้งปวง คืออะไร บุคคลรู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้ ละได้ เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้น ทุกข์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย คือ จักษุ บุคคลรู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้ ละ ได้ เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ รูป ฯลฯ จักษุวิญญาณ ฯลฯ จักษุสัมผัส ฯลฯ แม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็น ปัจจัย บุคคลรู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้ ละได้ ก็เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ หู ฯลฯ เสียง ฯลฯ ลิ้น ฯลฯ รส ฯลฯ กาย ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ ใจ ฯลฯ ธรรมารมณ์ ฯลฯ มโนวิญญาณ ฯลฯ มโนสัมผัส ฯลฯ แม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย บุคคลรู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้ ละได้ ก็เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคล ผู้รู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้ ละได้ซึ่งสิ่งทั้งปวงนี้แล เป็นผู้ควรเพื่อความ สิ้นทุกข์ ฯ จบสูตรที่ ๔

http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.p ... =331&Z=360


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 37 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 51 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร