วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 02:13  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 50 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ส.ค. 2014, 09:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


วิธีอ่านคำบาลี

ภาษาบาลีเป็นภาษาที่บรรจุพระพุทธศาสนาไว้อย่างครบถ้วน ผู้นับถือพระพุทธศาสนาจึงควรจะรู้ภาษาบาลีพอสมควร หรืออย่างน้อยก็ควรจะรู้วิธีอ่านคำบาลีให้ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการอ่านคำศัพท์ธรรม บัญญัติจำนวนมาก ที่ยืมมาจากบาลี (และสันสกฤต) มาใช้ในภาษาไทย เช่น อนุปุพพิกถา ปฏิจจสมุปบาท


การเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรไทยและวิธีอ่าน

๑. รูปสระ เมื่อเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรไทย สระทุกตัว (ยกเว้น สระ อ) มีทั้งรูป "สระลอย" (คือ สระที่ไม่มีพยัญชนะต้นประสมอยู่ด้วย) และรูป "สระจม" (คือสระที่มีพยัญชนะต้นประสมอยู่ด้วย) ให้ออกเสียงสระตามรูปสระนั้น เช่น อาภา (อา - พา) อิสิ (อิ-สิ) อุตุ (อุ-ตุ) ทั้งนี้ ก็เช่นเดียวกับในภาษาไทย

ข้อพิเศษที่แปลกจากภาษาไทย คือ "สระ อ" จะปรากฏรูปเมื่อเป็นสระลอย และไม่ปรากฏรูปเมื่อเป็นสระจม ให้ออกเป็นเสียง อ (อะ) เช่น อมต (อะมะตะ)

นอกจากนี้ (ตัว อ) ยังใช้เป็นทุ่นให้สระอื่นเกาะ เมื่อสระนั้นใช้เป็นสระลอย เช่น เอก (เอ-กะ) โอฆ (โอ-คะ)

๒. รูปพยัญชนะ พยัญชนะ เมื่อประสมกับสระใด ก็จะมีรูปสระนั้นปรากฏอยู่ด้วย (ยกเว้นเมื่อประสมกับสระ อ) และให้ออกเสียงพยัญชนะประสมกับสระนั้น เช่น กรณีย (กะ-ระ-นี-ยะ)

พยัญชนะที่ใช้โดยไม่มีรูปสระปรากฏอยู่ และไม่มีเครื่องหมาย ฺ (พินทุ) กำกับ แสดงว่าประสมกับสระ อ และให้ออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมกับ (อะ) เช่น รตน (ระ - ตะ - นะ)

ส่วนพยัญชนะที่มีเครื่องหมาย . (พินทุ) กำกับ แสดงว่าไม่มีสระใดประสมอยู่ด้วย ให้ออกเสียงเป็นตัวสะกด เช่น ธมฺม (ทำ-มะ) ปจฺตฺตํ (ปัด-จัด-ตัง) หรือตัวควบกล้ำ เช่น พฺหฺม (พ๎ระ-ห๎มะ) แล้วแต่กรณี ในบางกรณี อาจต้องออกเสียงเป็นทั้งตัวสะกด และตัวควบกล้ำ เช่น ตตฺร (ตัด-ต๎ระ) กลฺยาณ (กัน-ล๎-ยา-นะ)

อนึ่ง รูป เอยฺย มักนิยมออกเสียงตามความสะดวก เป็น (ไอ-ยะ) ก็มี หรือ (เอยฺ-ยะ) ก็มี เช่น ทกฺขิเณยฺย ออกเสียงเป็น (ทัก-ขิ-ไน-ยะ) หรือ (ทัก-ขิ-เนย-ยะ) เมื่อยืมเข้ามาใช้ในภาษาไทย จึงปรากฎว่ามีใช้ ๒ รูป คือ ทักขิไณย (บุคคล) และ ทักขิเณยย (บุคคล)

๓. เครื่องหมายนิคหิต เครื่องหมาย ํ (นิคหิต) ต้องอาศัยสระ และจะปรากฏเฉพาะหลังสระ อ, อิ หรือ อุ ให้ออกเสียงสระนั้นๆ (เป็น (อะ) (อิ) หรือ (อุ) แล้วแต่กรณี) และ มี () สะกด เช่น อํส (อัง-สะ) เอวํ (เอ-วัง) กึ (กิง) วิสุํ (วิสุง)

ตัวอย่างข้อความภาษาบาลี และวิธีอ่าน มีดังนี้

สพฺพปาปสฺส ----- อกรณํ ------ กุสลสฺสูปสมฺปทา

(สับ-พะ-ปา-ปัด-สะ) (อะ-กะ-ระ-นัง) (กุ-สะ-ลัด-สู-ปะ-สัม-ปะ-ทา)

สจิตฺตปริโยทปนํ ------ เอตํ ---- พุทฺธาน ---- สาสนํ

(สะ-จิต-ตะ-ปะ-ริ-โย-ทะ-ปะ-นัง) (เอ-ตัง) (พุด-ธา-นะ) (สา-สะ-นัง)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ส.ค. 2014, 09:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


การอ่านคำที่มาจากภาษาบาลี (และสันสกฤต)

หลักพื้นฐานดังกล่าวข้างต้น อาจนำมาประยุกต์กับการอ่านคำไทยที่มาจากภาษาบาลี (และสันสกฤต) โดยอนุโลม แต่ยังต้องดัดแปลงให้เข้ากับรูปคำ และวิธีออกเสียงแบบไทยด้วย เช่น การออกเสียงอักษรนำในคำว่า สมุทัย (สะ - หมุ -ไท) แทนที่จะออกเป็น (สะ-มุ-ไท)

นอกจากนี้ หากจะออกเสียงให้ถูกต้องตามความนิยมในวงการศึกษาพระพุทธศาสนา ผู้อ่านต้องมีความรู้เพ้ิ่มเติมว่า รูปเดิมของศัพท์คำนั้นเป็นอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จะต้องทราบว่า พยัญชนะตัวใดมีพินทุกำกับด้วยหรือไม่ เช่น ปเสนทิ มีรูปเดิมเป็น ปเสนทิ จึงต้องอ่านว่า (ปะ-เส-นะ-ทิ) ไม่ใช่ (ปะ-เสน-ทิ) แต่ อนุปุพฺพิกถา จึงต้องอ่านว่า (อะ-นุ-ปุบ-พิ-กะ-ถา) ไม่ใช่ (อะ-นุ-ปุบ-พะ-พิ-กะ-ถา) หรือ ปฏิจจสมุปบาท มีรูปเดิมเป็น ปฏิจฺจสมุปฺบาท จึงต้องอ่านว่า (ปะ-ติด-จะ-สะ-หมุบ-บาด) ไม่ใช่ (ปะ-ติด-จะ-สะ-หมุบ-ปะ-บาด)

............

นิคคหิต อักขระที่่ว่ากดเสียง, อักขระที่่ว่าหุบปากกดกรณ์ไว้ไม่ปล่อย มีรูปเป็นจุดกลวง เช่น สงฺฆํ อุปสมฺปทํ, บัดนี้นิยมเขียน นิคหิต

พินทุ จุด, วงกลมเล็กๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 พ.ย. 2014, 09:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 05 มิ.ย. 2009, 10:51
โพสต์: 2758


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ธ.ค. 2014, 13:20 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 พ.ค. 2013, 10:07
โพสต์: 406

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ธ.ค. 2014, 06:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


cool
เงาร่างของกรัชกายกลับมาปรากฏด้วยกุศลจิตของมิตรสหายในธรรมที่ซาบซึ้งใจในผลกรรมดีที่กรัชกายสร้างผลงานไว้

กรัชกายหลบหลีกไปปลีกเร้นภาวนาอยู่ที่ไหนหนอ มิตรสหายทั้งหลายรอฟังข่าว
:b2:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 17:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ

๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,

พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 18:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ

๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,

พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี

:b12:
...จะแปลความ...จะตีความ...ต้องเป็นผู้ตรง...
...แปลไม่ตรงต่อความจริงที่พระองค์แสดง...
...เป็นการไม่เคารพต่อพระรัตนตรัยนะจ๊ะ...
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 18:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ

๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,

พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี

:b12:
...จะแปลความ...จะตีความ...ต้องเป็นผู้ตรง...
...แปลไม่ตรงต่อความจริงที่พระองค์แสดง...
...เป็นการไม่เคารพต่อพระรัตนตรัยนะจ๊ะ...
:b32: :b32:



ไหนลองว่าไปสิ พระพุทธองค์ว่าไง :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 19:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ


บาลีหรือมคธ ไม่ใช่พุทธพจน์
บาลีหรือมคธเป็นภาษาๆหนึ่ง ที่ใช้สื่อสารกันของชนเผ่าหนึ่งในชมพูทวีป

กรัชกาย เขียน:
๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,


ที่ชาวพุทธศึกษาอยู่ไม่ใช่พุทธวจน คำว่าพุทธวจนต้องหมายถึงถ้อยคำที่ออกจากปากหรือพระโอษถ์
ของพระพุทธองค์โดยตรง ซึ่งเป็นไปไม่ได้อยู่แล้วจะยังมีพุทธวจน นั้นเป็นเพราะพระพุทธองค์ได้เสด็จ
ปรินิพพานไปสองพันกว่าปีแล้ว.......

ไอ้ที่เราศึกษากันอยู่มันเป็นการถ่ายทอดจากปากพระอานนท์และสาวกของพระพุทธองค์
และเกิดเป็นพระไตรปิฎกในภายหลัง

และที่ว่าพระไตรปิฎกที่เป็นหลักของเถรวาทเป็นคัมภีร์ดั้งเดิม ไม่เห็นด้วย
พระไตรปิฎกของเถรวาทไทย มีการสังคายนามาหลายครั้งหลายหน
ที่สำคัญในการทำสังคายนานั้น ได้มีการสอดไส้มิจฉาทิฐิของพราหมณ์
เอาเข้ามาไว้ในพระไตรปิกฉบับเถรวาทไทย....ก็ด้วยเหตุนี้ พระไตรปิฎกจึงมีเรื่อง
เทวดา นรกสวรรค์ อิทธิปาฏิหารย์ มันล้วนแต่เป็นสัตตทิฐิ(มิจฉา)ทั้งสิ้น
กรัชกาย เขียน:
พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี


พุทธพจน์ไม่ใช่บาลี พุทธพจน์เป็นคำที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นเอง
สิ่งที่พระพุทธองค์บัญญัติก็คือสิ่งที่พระพุทธองค์ค้นพบหรือตรัสรู้
บาลีหรือมคธเป็นภาษาที่ชาวมคธใช้กันตามปกติทั่วไป แต่พุทธพจน์เป็นภาษาเฉพาะของพระพุทธองค์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 19:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ


บาลีหรือมคธ ไม่ใช่พุทธพจน์
บาลีหรือมคธเป็นภาษาๆหนึ่ง ที่ใช้สื่อสารกันของชนเผ่าหนึ่งในชมพูทวีป

กรัชกาย เขียน:
๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,


ที่ชาวพุทธศึกษาอยู่ไม่ใช่พุทธวจน คำว่าพุทธวจนต้องหมายถึงถ้อยคำที่ออกจากปากหรือพระโอษถ์
ของพระพุทธองค์โดยตรง ซึ่งเป็นไปไม่ได้อยู่แล้วจะยังมีพุทธวจน นั้นเป็นเพราะพระพุทธองค์ได้เสด็จ
ปรินิพพานไปสองพันกว่าปีแล้ว.......

ไอ้ที่เราศึกษากันอยู่มันเป็นการถ่ายทอดจากปากพระอานนท์และสาวกของพระพุทธองค์
และเกิดเป็นพระไตรปิฎกในภายหลัง

และที่ว่าพระไตรปิฎกที่เป็นหลักของเถรวาทเป็นคัมภีร์ดั้งเดิม ไม่เห็นด้วย
พระไตรปิฎกของเถรวาทไทย มีการสังคายนามาหลายครั้งหลายหน
ที่สำคัญในการทำสังคายนานั้น ได้มีการสอดไส้มิจฉาทิฐิของพราหมณ์
เอาเข้ามาไว้ในพระไตรปิกฉบับเถรวาทไทย....ก็ด้วยเหตุนี้ พระไตรปิฎกจึงมีเรื่อง
เทวดา นรกสวรรค์ อิทธิปาฏิหารย์ มันล้วนแต่เป็นสัตตทิฐิ(มิจฉา)ทั้งสิ้น
กรัชกาย เขียน:
พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี


พุทธพจน์ไม่ใช่บาลี พุทธพจน์เป็นคำที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นเอง
สิ่งที่พระพุทธองค์บัญญัติก็คือสิ่งที่พระพุทธองค์ค้นพบหรือตรัสรู้
บาลีหรือมคธเป็นภาษาที่ชาวมคธใช้กันตามปกติทั่วไป แต่พุทธพจน์เป็นภาษาเฉพาะของพระพุทธองค์



ภาษาพุทธพจน์ เป็นไง เอามาให้ดูถี่ :b14:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 20:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ

๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,

พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี

:b12:
...จะแปลความ...จะตีความ...ต้องเป็นผู้ตรง...
...แปลไม่ตรงต่อความจริงที่พระองค์แสดง...
...เป็นการไม่เคารพต่อพระรัตนตรัยนะจ๊ะ...
:b32: :b32:



ไหนลองว่าไปสิ พระพุทธองค์ว่าไง :b10:

Kiss
ทุกอย่างเป็นธัมมะจริงๆ
เกิดดับตามเหตุปัจจัย
แล้วแต่ใครจะคิด
แต่ธัมมะมีจริง
ไม่เปลี่ยน
ชัวร์ๆ
ธัมมะตรงๆแต่ความเห็นตามการสะสมดับแล้วจริงไหม
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 20:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ


บาลีหรือมคธ ไม่ใช่พุทธพจน์
บาลีหรือมคธเป็นภาษาๆหนึ่ง ที่ใช้สื่อสารกันของชนเผ่าหนึ่งในชมพูทวีป

กรัชกาย เขียน:
๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,


ที่ชาวพุทธศึกษาอยู่ไม่ใช่พุทธวจน คำว่าพุทธวจนต้องหมายถึงถ้อยคำที่ออกจากปากหรือพระโอษถ์
ของพระพุทธองค์โดยตรง ซึ่งเป็นไปไม่ได้อยู่แล้วจะยังมีพุทธวจน นั้นเป็นเพราะพระพุทธองค์ได้เสด็จ
ปรินิพพานไปสองพันกว่าปีแล้ว.......

ไอ้ที่เราศึกษากันอยู่มันเป็นการถ่ายทอดจากปากพระอานนท์และสาวกของพระพุทธองค์
และเกิดเป็นพระไตรปิฎกในภายหลัง

และที่ว่าพระไตรปิฎกที่เป็นหลักของเถรวาทเป็นคัมภีร์ดั้งเดิม ไม่เห็นด้วย
พระไตรปิฎกของเถรวาทไทย มีการสังคายนามาหลายครั้งหลายหน
ที่สำคัญในการทำสังคายนานั้น ได้มีการสอดไส้มิจฉาทิฐิของพราหมณ์
เอาเข้ามาไว้ในพระไตรปิกฉบับเถรวาทไทย....ก็ด้วยเหตุนี้ พระไตรปิฎกจึงมีเรื่อง
เทวดา นรกสวรรค์ อิทธิปาฏิหารย์ มันล้วนแต่เป็นสัตตทิฐิ(มิจฉา)ทั้งสิ้น
กรัชกาย เขียน:
พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี


พุทธพจน์ไม่ใช่บาลี พุทธพจน์เป็นคำที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นเอง
สิ่งที่พระพุทธองค์บัญญัติก็คือสิ่งที่พระพุทธองค์ค้นพบหรือตรัสรู้
บาลีหรือมคธเป็นภาษาที่ชาวมคธใช้กันตามปกติทั่วไป แต่พุทธพจน์เป็นภาษาเฉพาะของพระพุทธองค์



ภาษาพุทธพจน์ เป็นไง เอามาให้ดูถี่ :b14:

s006
โฮฮับคิดซับซ้อนจริงๆ
พระพุทธพจน์ก็คือคำพูด
ที่พระพุทธเจ้าเปล่งจากพระโอษฐ์
พระองค์อยู่ที่ไหนก็ใช้ภาษานั้นก็ตรงแล้ว
การบันทึกเกิดภายหลังอยู่ประเทศอื่นก็ต้องแปล
ให้เข้าใจความหมายได้ตามภาษาของผู้ที่เอามาศึกษา
เมื่อเวลามีการตีความเพี๊ยนไปก็ต้องไปตั้งต้นที่ภาษาต้นตำรับ
:b12:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 20:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ

๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,

พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี

:b12:
...จะแปลความ...จะตีความ...ต้องเป็นผู้ตรง...
...แปลไม่ตรงต่อความจริงที่พระองค์แสดง...
...เป็นการไม่เคารพต่อพระรัตนตรัยนะจ๊ะ...
:b32: :b32:



ไหนลองว่าไปสิ พระพุทธองค์ว่าไง :b10:

Kiss
ทุกอย่างเป็นธัมมะจริงๆ
เกิดดับตามเหตุปัจจัย
แล้วแต่ใครจะคิด
แต่ธัมมะมีจริง
ไม่เปลี่ยน
ชัวร์ๆ
ธัมมะตรงๆแต่ความเห็นตามการสะสมดับแล้วจริงไหม


บอกให้เที่ยวห้อง จ่ายตลาด ทำกับข้าวกับปลากินมั่ง :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 20:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ

๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,

พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี

:b12:
...จะแปลความ...จะตีความ...ต้องเป็นผู้ตรง...
...แปลไม่ตรงต่อความจริงที่พระองค์แสดง...
...เป็นการไม่เคารพต่อพระรัตนตรัยนะจ๊ะ...
:b32: :b32:



ไหนลองว่าไปสิ พระพุทธองค์ว่าไง :b10:

Kiss
ทุกอย่างเป็นธัมมะจริงๆ
เกิดดับตามเหตุปัจจัย
แล้วแต่ใครจะคิด
แต่ธัมมะมีจริง
ไม่เปลี่ยน
ชัวร์ๆ
ธัมมะตรงๆแต่ความเห็นตามการสะสมดับแล้วจริงไหม


บอกให้เที่ยวห้อง จ่ายตลาด ทำกับข้าวกับปลากินมั่ง :b1:

:b32:
ก็อิ่มแล้วกำลังเที่ยวห้องสนทนาธรรมอยู่
จิตท่องเที่ยวดวงเดียวทำ2ประการคิด/พิมพ์
:b16:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2016, 07:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
บาลี ๑. "ภาษาอันรักษาไว้ ซึ่งพุทธพจน์" ภาษาที่ใช้ทรงจำ และจารึกรักษาพุทธพจน์ แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ่ ถือกันว่า ได้แก่ ภาษามคธ


บาลีหรือมคธ ไม่ใช่พุทธพจน์
บาลีหรือมคธเป็นภาษาๆหนึ่ง ที่ใช้สื่อสารกันของชนเผ่าหนึ่งในชมพูทวีป

กรัชกาย เขียน:
๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,


ที่ชาวพุทธศึกษาอยู่ไม่ใช่พุทธวจน คำว่าพุทธวจนต้องหมายถึงถ้อยคำที่ออกจากปากหรือพระโอษถ์
ของพระพุทธองค์โดยตรง ซึ่งเป็นไปไม่ได้อยู่แล้วจะยังมีพุทธวจน นั้นเป็นเพราะพระพุทธองค์ได้เสด็จ
ปรินิพพานไปสองพันกว่าปีแล้ว.......

ไอ้ที่เราศึกษากันอยู่มันเป็นการถ่ายทอดจากปากพระอานนท์และสาวกของพระพุทธองค์
และเกิดเป็นพระไตรปิฎกในภายหลัง

และที่ว่าพระไตรปิฎกที่เป็นหลักของเถรวาทเป็นคัมภีร์ดั้งเดิม ไม่เห็นด้วย
พระไตรปิฎกของเถรวาทไทย มีการสังคายนามาหลายครั้งหลายหน
ที่สำคัญในการทำสังคายนานั้น ได้มีการสอดไส้มิจฉาทิฐิของพราหมณ์
เอาเข้ามาไว้ในพระไตรปิกฉบับเถรวาทไทย....ก็ด้วยเหตุนี้ พระไตรปิฎกจึงมีเรื่อง
เทวดา นรกสวรรค์ อิทธิปาฏิหารย์ มันล้วนแต่เป็นสัตตทิฐิ(มิจฉา)ทั้งสิ้น
กรัชกาย เขียน:
พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก, ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า "บาลี" ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลี ในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลี หรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี


พุทธพจน์ไม่ใช่บาลี พุทธพจน์เป็นคำที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นเอง
สิ่งที่พระพุทธองค์บัญญัติก็คือสิ่งที่พระพุทธองค์ค้นพบหรือตรัสรู้
บาลีหรือมคธเป็นภาษาที่ชาวมคธใช้กันตามปกติทั่วไป แต่พุทธพจน์เป็นภาษาเฉพาะของพระพุทธองค์



ภาษาพุทธพจน์ เป็นไง เอามาให้ดูถี่ :b14:


ไปเลือกเอาพระสูตรสั้นมาสักบท แล้วจะชี้ให้ดูว่า ภาษาพุทธพจน์ที่ถามเป็นอย่างไร

กรัชกายมันนิสัยแบบนี้ทุกที่ คือ...ไม่มีความรับผิดชอบ
ไปลอกบทความชาวบ้านมาตั้งกระทู้ พอมีคนโต้แย้งก็จนปัญญาให้ความกระจ่าง
ไม่รู้มันจะตั้งกระทู้ให้รกบอร์ดห้องสนทนาธรรมทำไม อยากโพสบทความเขามีห้องให้โพสก้ไม่ไปโพส

อยู่เว็บนี้มาจากผมดำเป็นผมขาวแล้ว ยังไม่รู้ปะสีปะสาอีก.....ไม่ไหวจะเคลียร์ :b32:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 50 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 43 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร