วันเวลาปัจจุบัน 19 เม.ย. 2024, 08:06  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 16 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 09:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




80px-ปางทุกรกิริยา2.jpg
80px-ปางทุกรกิริยา2.jpg [ 6.64 KiB | เปิดดู 2727 ครั้ง ]
เอาอีกสักเรืองสิจะพากันไปทางไหน :b1: :b14:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 09:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กฎ กติกา ระเบียบ แบบแผน ตลอดจนกฎหมาย ที่จัดตั้งวางลงไปให้ถือปฏิบัติกันนี้ เรียกรวมๆ ตามภาษาพระเป็นคำเดียวว่า “วินัย” (วินย.)



บางคนพูดว่า ถ้าคนแต่ละคนดีแล้ว สังคมก็ดีเอง นี่เป็นการการตอบแบบธรรม ถูกต้อง ถ้าทุกคนดีแล้ว สังคมก็ดีเอง อันนี้ไม่ผิด แต่เป็นการตอบแบบกำปั้นทุบดิน ก็ใช่ซิ ถ้าทุกคนดี สังคมมันก็ดี แต่ปัญหาต่อไปว่า ทำอย่างไรจะให้แต่ละคนดี นี่คือปัญหาของวินับ

ถ้าแต่ละคนดี สังคมก็จะดี นี้เป็นเงื่อนไขของธรรม เป็นความจริงตามกฎธรรมชาติ

ทำอย่างไรจะให้แต่ละคนดี นี้เป็นเงื่อนไขของวินัย ที่เป็นปฏิบัติการทางสังคมของมนุษย์

ปฏิบัติการทางสังคมของมนุษย์ด้วยวินัยนั้น จะต้องให้เป็นไปตามธรรม เริ่มตั้งแต่รู้ถูกต้องว่า คนดีเป็นอย่างไร สังคมดีเป็นอย่างไร

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 09:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมเป็นบรรทัดฐานแห่งความถูกต้องของวินัย วินัยเป็นบรรทัดฐานแห่งพฤติกรรมที่ถูกต้องตามธรรม



วินัย นั้น จัดสรรทั้งวัตถุปัจจัย จัดสรรสภาพแวดล้อม และจัดระบบความสัมพันธ์ในการอยู่ร่วมและทำกิจการร่วมกัน จัดทำไม ก็เพื่อให้มันเกื้อหนุนต่อการที่คนจะพัฒนาตัวให้เข้าถึงธรรม มีชีวิตที่ดีงาม ในสังคมที่มีสันติสุข ในโลกที่รื่นรมย์น่าอยู่อาศัย


การดำเนินสังฆกรรม การจัดกิจกรรมของหมู่คณะ วิธีดำเนินคดี และสงโทษผู้กระทำผิด ระเบียบการบริหารการคณะสงฆ์ เป็นเพียงส่วนปลีกย่อยของวินัย


จะเห็นว่า วินัยของสงฆ์ให้ความสำคัญแก่ปัจจัย ๔ เรื่องวัตถุ เรื่องเศรษฐกิจ เรื่องระบบการบริหาร การปกครอง เรื่องของระบบระเบียบสังคมทุกอย่าง ในฐานะเป็นฐานที่จะเกื้อหนุนให้คนเป็นอยู่อย่างสอดคล้องกับธรรม และได้ประโยชน์จากธรรม


บางคนมองแต่ธรรมอย่างเดียว เห็นว่าพุทธศาสนาเป็นเรื่องจิตใจ ไม่เกี่ยวกับสังคม เป็นเรื่องเฉพาะตัว


บางคนพูดว่า ถ้าคนแต่ละคนดีแล้ว สังคมก็ดีเอง นี่เป็นการการตอบแบบธรรม ถูกต้อง ถ้าทุกคนดีแล้ว สังคมก็ดีเอง อันนี้ไม่ผิด แต่เป็นการตอบแบบกำปั้นทุบดิน ก็ใช่ซิ ถ้าทุกคนดี สังคมมันก็ดี แต่ปัญหาต่อไปว่า ทำอย่างไรจะให้แต่ละคนดี นี่คือปัญหาของวินัย


ถ้าแต่ละคนดี สังคมก็จะดี นี้เป็นเงื่อนไขของธรรม เป็นความจริงตามกฎธรรมชาติ

ทำอย่างไรจะให้แต่ละคนดี นี้เป็นเงื่อนไขของวินัย ที่เป็นปฏิบัติการทางสังคมของมนุษย์

ปฏิบัติการทางสังคมของมนุษย์ด้วยวินัยนั้น จะต้องให้เป็นไปตามธรรม เริ่มตั้งแต่รู้ถูกต้องว่า คนดีเป็นอย่างไร สังคมดีเป็นอย่างไร


ปัญหาของวินัยมาจับจุดตรงที่ว่า แล้วทำอย่างไรจะให้แต่ละคนดี ต่อด้วย => ได้ปรับประโยชน์ มีความสุข ฯลฯ


คำตอบก็คือ ต้องจัดระเบียบ ระบบ แบบแผน ระบบความสัมพันธ์ และสภาพแวดล้อมที่เกื้อกูลขึ้น เพื่อจะได้ตะล่อมช่วยป้องกันคนจาการทำชั่ว หรือทำในทางที่ผิดเสียหาย และสร้างสภาพที่เอื้อเกื้อกูลหนุนต่อการทำความดี และเอื้อต่อการพัฒนาตนเองของมนุษย์ที่จะเข้าถึงชีวิต และสังคมที่มีสันติสุขเป็นอิสระ


พูดอย่างง่ายๆว่า เพื่อปิดกั้นจำกัดโอกาสแห่งความชั่ว และส่งเสริมโอกาสแหงความดี อย่างนี้คือวินัย

ฉะนั้น วินัยจึงมาช่วยในการที่ว่าทำอย่างไรจะให้แต่ละคนกลายเป็นคนดีขึ้นมา โดยมีเครื่องชักนำให้เขาเข้าสู่ธรรม


ธรรมนั้น เป็นเรื่องของความจริงตามธรรมชาติ ที่ชีวิตของคนแต่ละคนจะต้องเป็นไปตามเหตุปัจจัยของมัน เช่น เป็นเรื่องของชีวิตแต่ละชีวิต เป็นของการที่ทุกคนรับผิดชอบต่อกรรมของตัวเอง เป็นเรื่องของความรับผิดชอบต่อกฎธรรมชาติ การที่ชีวิตของแต่ละคนต้องขึ้นต่อการทำงานของระบบย่อยอาหาร ระบบการหายใจ ระบบหมุนเวียนของโลหิต ระบบความรู้สึกนึกคิด ฯลฯ ซึ่งรวมลงในคติธรรมดาของสังขาร คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย


(มีต่อ แต่ลงให้คิดกันเท่านี้ก่อน เพื่อดูกระแสตอบรับ จาก :b32: )

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 13:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลอกอะไรจากไหนมา
โดยมารยาทต้อง ให้ เครดิต ผู้เขียนบทความด้วย
เข้าใจไหมกรัชกาย

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 13:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




1375241010-1370203825-o.gif
1375241010-1370203825-o.gif [ 497.16 KiB | เปิดดู 2704 ครั้ง ]
เช่นนั้น เขียน:
ลอกอะไรจากไหนมา
โดยมารยาทต้อง ให้ เครดิต ผู้เขียนบทความด้วย
เข้าใจไหมกรัชกาย


เอาอีกแระ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 13:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ลอกอะไรจากไหนมา
โดยมารยาทต้อง ให้ เครดิต ผู้เขียนบทความด้วย
เข้าใจไหมกรัชกาย


เอาอีกแระ

ลอกจากไหนมา
:b17: :b17: :b17:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 13:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ลอกอะไรจากไหนมา
โดยมารยาทต้อง ให้ เครดิต ผู้เขียนบทความด้วย
เข้าใจไหมกรัชกาย


เอาอีกแระ

ลอกจากไหนมา
:b17: :b17: :b17:



กรัชกายจะอ่านหนังสือที่ท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์เท่านั้น มีหลายเล่ม บอกครั้งเดียวพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องบอกไปบททุกตอน คิกๆๆ ยังมีอีกเยอะอีกหลายบทหลายตอน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 13:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ลอกอะไรจากไหนมา
โดยมารยาทต้อง ให้ เครดิต ผู้เขียนบทความด้วย
เข้าใจไหมกรัชกาย


เอาอีกแระ

ลอกจากไหนมา
:b17: :b17: :b17:



กรัชกายจะอ่านหนังสือที่ท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์เท่านั้น มีหลายเล่ม บอกครั้งเดียวพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องบอกไปบททุกตอน คิกๆๆ ยังมีอีกเยอะอีกหลายบทหลายตอน


จะลอกมากี่หน โดยมารยาทก็ต้องบอกครับ
ส่วนไหนที่กรัชกาย อธิบายเกิน ที่ลอกมา โดยมารยาท ก็ต้องบอกเช่นเดียวกันครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 13:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ลอกอะไรจากไหนมา
โดยมารยาทต้อง ให้ เครดิต ผู้เขียนบทความด้วย
เข้าใจไหมกรัชกาย


เอาอีกแระ

ลอกจากไหนมา
:b17: :b17: :b17:



กรัชกายจะอ่านหนังสือที่ท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์เท่านั้น มีหลายเล่ม บอกครั้งเดียวพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องบอกไปบททุกตอน คิกๆๆ ยังมีอีกเยอะอีกหลายบทหลายตอน


จะลอกมากี่หน โดยมารยาทก็ต้องบอกครับ
ส่วนไหนที่กรัชกาย อธิบายเกิน ที่ลอกมา โดยมารยาท ก็ต้องบอกเช่นเดียวกันครับ



ไม่บอก บอกครั้งเดียวพอแล้ว คิกๆๆ ไม่ต้องพูดมาก ตัวเองมีอะไรว่ามา ไม่ต้องกลัวเกรงทุกข์ยากอันใด :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 13:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ลอกอะไรจากไหนมา
โดยมารยาทต้อง ให้ เครดิต ผู้เขียนบทความด้วย
เข้าใจไหมกรัชกาย


เอาอีกแระ

ลอกจากไหนมา
:b17: :b17: :b17:



กรัชกายจะอ่านหนังสือที่ท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์เท่านั้น มีหลายเล่ม บอกครั้งเดียวพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องบอกไปบททุกตอน คิกๆๆ ยังมีอีกเยอะอีกหลายบทหลายตอน


จะลอกมากี่หน โดยมารยาทก็ต้องบอกครับ
ส่วนไหนที่กรัชกาย อธิบายเกิน ที่ลอกมา โดยมารยาท ก็ต้องบอกเช่นเดียวกันครับ



ไม่บอก บอกครั้งเดียวพอแล้ว คิกๆๆ ไม่ต้องพูดมาก ตัวเองมีอะไรว่ามา ไม่ต้องกลัวเกรงทุกข์ยากอันใด :b32:


ว่าไปแล้ว
ไยต้องให้บอกซ้ำอีก
ว่า กรัชกายไม่มีมารยาท :b17:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 20:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ลอกอะไรจากไหนมา
โดยมารยาทต้อง ให้ เครดิต ผู้เขียนบทความด้วย
เข้าใจไหมกรัชกาย


เอาอีกแระ

ลอกจากไหนมา
:b17: :b17: :b17:



กรัชกายจะอ่านหนังสือที่ท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์เท่านั้น มีหลายเล่ม บอกครั้งเดียวพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องบอกไปบททุกตอน คิกๆๆ ยังมีอีกเยอะอีกหลายบทหลายตอน


จะลอกมากี่หน โดยมารยาทก็ต้องบอกครับ
ส่วนไหนที่กรัชกาย อธิบายเกิน ที่ลอกมา โดยมารยาท ก็ต้องบอกเช่นเดียวกันครับ



ไม่บอก บอกครั้งเดียวพอแล้ว คิกๆๆ ไม่ต้องพูดมาก ตัวเองมีอะไรว่ามา ไม่ต้องกลัวเกรงทุกข์ยากอันใด :b32:


ว่าไปแล้ว
ไยต้องให้บอกซ้ำอีก
ว่า กรัชกายไม่มีมารยาท :b17:



อ่านแล้วเป็นไง แทงใจดำสิท่า :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2014, 21:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ่านแล้วเป็นไง แทงใจดำสิท่า :b32:

ที่แปะมาทั้งหมดน่ะ กรัชกายเชื่อไหม :b9: :b9:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2014, 16:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ธรรมเป็นบรรทัดฐานแห่งความถูกต้องของวินัย วินัยเป็นบรรทัดฐานแห่งพฤติกรรมที่ถูกต้องตามธรรม



วินัย นั้น จัดสรรทั้งวัตถุปัจจัย จัดสรรสภาพแวดล้อม และจัดระบบความสัมพันธ์ในการอยู่ร่วมและทำกิจการร่วมกัน จัดทำไม ก็เพื่อให้มันเกื้อหนุนต่อการที่คนจะพัฒนาตัวให้เข้าถึงธรรม มีชีวิตที่ดีงาม ในสังคมที่มีสันติสุข ในโลกที่รื่นรมย์น่าอยู่อาศัย


การดำเนินสังฆกรรม การจัดกิจกรรมของหมู่คณะ วิธีดำเนินคดี และสงโทษผู้กระทำผิด ระเบียบการบริหารการคณะสงฆ์ เป็นเพียงส่วนปลีกย่อยของวินัย


จะเห็นว่า วินัยของสงฆ์ให้ความสำคัญแก่ปัจจัย ๔ เรื่องวัตถุ เรื่องเศรษฐกิจ เรื่องระบบการบริหาร การปกครอง เรื่องของระบบระเบียบสังคมทุกอย่าง ในฐานะเป็นฐานที่จะเกื้อหนุนให้คนเป็นอยู่อย่างสอดคล้องกับธรรม และได้ประโยชน์จากธรรม


บางคนมองแต่ธรรมอย่างเดียว เห็นว่าพุทธศาสนาเป็นเรื่องจิตใจ ไม่เกี่ยวกับสังคม เป็นเรื่องเฉพาะตัว


บางคนพูดว่า ถ้าคนแต่ละคนดีแล้ว สังคมก็ดีเอง นี่เป็นการการตอบแบบธรรม ถูกต้อง ถ้าทุกคนดีแล้ว สังคมก็ดีเอง อันนี้ไม่ผิด แต่เป็นการตอบแบบกำปั้นทุบดิน ก็ใช่ซิ ถ้าทุกคนดี สังคมมันก็ดี แต่ปัญหาต่อไปว่า ทำอย่างไรจะให้แต่ละคนดี นี่คือปัญหาของวินัย


ถ้าแต่ละคนดี สังคมก็จะดี นี้เป็นเงื่อนไขของธรรม เป็นความจริงตามกฎธรรมชาติ

ทำอย่างไรจะให้แต่ละคนดี นี้เป็นเงื่อนไขของวินัย ที่เป็นปฏิบัติการทางสังคมของมนุษย์

ปฏิบัติการทางสังคมของมนุษย์ด้วยวินัยนั้น จะต้องให้เป็นไปตามธรรม เริ่มตั้งแต่รู้ถูกต้องว่า คนดีเป็นอย่างไร สังคมดีเป็นอย่างไร


ปัญหาของวินัยมาจับจุดตรงที่ว่า แล้วทำอย่างไรจะให้แต่ละคนดี ต่อด้วย => ได้ปรับประโยชน์ มีความสุข ฯลฯ


คำตอบก็คือ ต้องจัดระเบียบ ระบบ แบบแผน ระบบความสัมพันธ์ และสภาพแวดล้อมที่เกื้อกูลขึ้น เพื่อจะได้ตะล่อมช่วยป้องกันคนจาการทำชั่ว หรือทำในทางที่ผิดเสียหาย และสร้างสภาพที่เอื้อเกื้อกูลหนุนต่อการทำความดี และเอื้อต่อการพัฒนาตนเองของมนุษย์ที่จะเข้าถึงชีวิต และสังคมที่มีสันติสุขเป็นอิสระ


พูดอย่างง่ายๆว่า เพื่อปิดกั้นจำกัดโอกาสแห่งความชั่ว และส่งเสริมโอกาสแหงความดี อย่างนี้คือวินัย

ฉะนั้น วินัยจึงมาช่วยในการที่ว่าทำอย่างไรจะให้แต่ละคนกลายเป็นคนดีขึ้นมา โดยมีเครื่องชักนำให้เขาเข้าสู่ธรรม


ธรรมนั้น เป็นเรื่องของความจริงตามธรรมชาติ ที่ชีวิตของคนแต่ละคนจะต้องเป็นไปตามเหตุปัจจัยของมัน เช่น เป็นเรื่องของชีวิตแต่ละชีวิต เป็นของการที่ทุกคนรับผิดชอบต่อกรรมของตัวเอง เป็นเรื่องของความรับผิดชอบต่อกฎธรรมชาติ การที่ชีวิตของแต่ละคนต้องขึ้นต่อการทำงานของระบบย่อยอาหาร ระบบการหายใจ ระบบหมุนเวียนของโลหิต ระบบความรู้สึกนึกคิด ฯลฯ ซึ่งรวมลงในคติธรรมดาของสังขาร คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย




นำมาต่อกันให้เลย ดังนี้


เพราะฉะนั้น บุคคลที่จะจัดตั้งวินัยได้ถูกต้องเกิดผลดี จึงต้องมีคุณสมบัติพื้นฐาน ๒ ประการ คือ

๑. มีปัญญารู้แจ้งจริง เข้าถึงสัจธรรม ใครรู้ธรรม รู้ตัวความจริง เข้าถึงความจริงแห่งธรรมดาของกฎธรรมชาติได้เท่าไร การวางวินัยก็ยิ่งได้ผลดีเท่านั้น

๒. มีเจตนาดีงามบริสุทธิ์ คือต้องมีเจตนาบริสุทธิ์ ไม่หวังผลประโยชน์ส่วนตัว ไม่เห็นแก่ตัว ไม่มีโลภะ โทสะ เคลือบแฝง มุ่งเพื่อประโยชน์สุขแก่หมู่มนุษย์ทั่วไป


พระพุทธเจ้าทรงเป็นแบบอย่างเนื่องนี้ คือ

๑. มีปัญญา เข้าถึงความจริงแห่งธรรมดาของธรรมขาติ ความรู้นี้ทำให้จัดโครงสร้าง ตั้งระบบ วางกฎระเบียบแบบแผนที่สอดคล้องกับธรรม คือตัวความจริงของระบบความสัมพันธ์ในกฎธรรมชาติ ทำให้วินัยสอดคล้องกับธรรม

๒.มีมหากรุณา คือมีจิตใจที่ประกอบด้วย เมตตา กรุณา ไมมีอกุศลธรรม ไม่มีเจตนาร้ายต่อผู้ใด ไม่ได้หวังผลประโยชน์ส่วนตน แต่กระทำเพื่อประโยชน์สุขแก่มวลมนุษย์บนฐานแห่งพระวิสุทธิคุณ


ด้วยปัญญารู้แจ้งธรรม และด้วยเจตนาบริสุทธิ์ประกอบด้วยมหากรุณา ก็ทำให้พระพุทธองค์วางวินัยได้ผล ซึ่งทำให้เกิดระบบคณะสงฆ์ขึ้นมา อันเป็นสถาบันที่ยั่งยืนที่สุดในโลก

ฝรั่งยอมรับว่า ปัจจุบันสถาบันที่ยั่งยืนที่สุดในโลก คือ “สังฆะ” หรือสงฆ์ในพระพุทธศาสนา ยังไม่มีสถานบันใด องค์กรใด ที่ยังยืนเท่าสงฆ์ สองพันห้าร้อยกว่าปีแล้ว ยังคงอยู่ได้


จนตอนนี้


ตอนต่อไป "วินัยกันไว้ ไม่ให้เอาธรรมาอ้างในทางที่ผิด"

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2014, 18:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถ้าอยากจะลงบทความ
นู่น มีอีกห้องหนึ่งจัดให้โดยเฉพาะ

"บทความธรรมะ
รวมบทความธรรมะ"

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2014, 19:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ถ้าอยากจะลงบทความ
นู่น มีอีกห้องหนึ่งจัดให้โดยเฉพาะ

"บทความธรรมะ
รวมบทความธรรมะ"



หมดผู้เห็นแย้งเห็นต่าง ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบเค้าย้ายไปเองแหละน่า คิกๆๆ มีอะไรคัดค้านไหม ว่าไป :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 16 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 59 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร