วันเวลาปัจจุบัน 20 เม.ย. 2024, 09:09  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 12 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 พ.ค. 2013, 13:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 มี.ค. 2010, 10:10
โพสต์: 104

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ใจเป็นกลางกับใจเป็นธรรม เหมือนกันหรือเปล่าค่ะ :b10: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 พ.ค. 2013, 13:14 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 ธ.ค. 2012, 16:46
โพสต์: 412

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


s006


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 พ.ค. 2013, 14:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 มี.ค. 2010, 19:57
โพสต์: 1014

โฮมเพจ: http://www.vitwong.blogspot.com
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


ใจเป็นธรรม ได้โดยไม่ต้องเกี่ยวข้องกับใคร

ใจเป็นกลาง ระหว่างฝ่ายโน้น กับฝ่ายนั้น

.....................................................
ยังงมงาย...
เมื่อเห็นว่าพระไตรปิฏก มีส่วนถูก มีส่วนจริงแค่ 20 ถึง 30 เปอร์เซนต์ เท่านั้น

เลิกงมงาย..
เมื่อเห็นว่า พระไตรปิฏก มีส่วนถูก ส่วนจริง เกินกว่า 80 ถึง กว่า 90 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/user/govit2554#g/u


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 พ.ค. 2013, 14:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


คิดว่าไม่เหมือนกันแต่ไปด้วยกันได้ครับ คือ สามารถอาศัยซึ่งกันและกัน

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 พ.ค. 2013, 16:02 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 ธ.ค. 2012, 16:46
โพสต์: 412

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ใจเป็นกลาง ยังยึดตึด อยู่ตรงความเป็นกลาง

ใจเป็นธรรม ไม่ยึดฝ่ายใดเลย แม้แต่ตรงกลาง :b6:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 พ.ค. 2013, 16:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอตอบจากที่เคยฝึกฝนมามานะค่ะ (ไท่รู้จะสอบตกป่าว :b9: )
ใจเป็นกลาง คือการที่เราไม่เอาจิตไปจับกับอารมณ์ที่เข้ามากระทบกับกับ หู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ คือไม่ว่าจะมีอะไรมากระทบจิตเราก็ไม่ปรุงแต่ง ให้เกิดความยินดียินร้าย(ด่านอรหันต์เลยนะเนียะ :b14: )
ใจเป็นธรรม คือสภาวะที่ปรากฏในปัจจุบันขนะนั้น ไม่ว่าจะเกิดความรู้สึกเช่นไรก็ตาม จะชอบใจ ไม่ชอบใจ อะไรมากระทบก็รู้ กำหนดรู้สภาวะนั้นและน้อมจิตมาพิจารณาว่า สิ่งใดที่เกิดขึ้นสิ่งนั้นย่อมดับลง เป็นการรักษาไจ สำรวมใจ ถ้าเราเห็นถึงความดับทุกกรณี ตัวปัญญาจะเกิดค่ะ :b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 พ.ค. 2013, 18:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


ใจเป็นกลางจริงๆจะต้องเป็นจิตของอรหันต์เท่านั้น แต่ใจเป้นธรรมนั้นขึ้นอยู่กับเหตุและผล


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 พ.ค. 2013, 14:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ย. 2010, 20:29
โพสต์: 5111

แนวปฏิบัติ: พิจารณากาย
สิ่งที่ชื่นชอบ: มณีรัตน์,พระผู้เป็นดั่งผ้าขี้ร้วห่อทอง
อายุ: 39

 ข้อมูลส่วนตัว


:b3:

"ใจเป็นธรรม" ฮานาโกะนึกถึง..เมื่อเวลาเราถูกกระทบด้วยสิ่งใดก็ตาม ก็ให้ตั้งธงไว้ในใจก่อนว่า มันมีสัจธรรมอยู่ คือ พระไตรลักษณ์ เช่น มันไม่เที่ยงแท้แน่นอน มันต้องเผื่อใจไว้ มันไม่ได้อย่างใจที่เราอยากได้หรอก คือ คอยสอนตัวเอาไว้ ให้มันระลึกถึงลักษณะของมันตามสัจธรรมอะค่ะ จะเจอเรื่องดีก็ เออ...ดีได้ก็ร้ายได้ เจอเรื่องร้ายก็...เออ มันร้ายได้ก็ดีได้


แต่พอใช้คำว่า "ใจเป็นกลาง" ฮานาโกะก็นึกถึงอีกแง่หนึ่ง คือ การเว้นจากอคติ ๔ ได้แก่ ความรัก ความชัง ความหลง ความกลัว ซึ่งควรจะคอยชั่งหัวใจเราไว้เสมอๆ ว่า ตอนนี้เราตกอยู่ในอำนาจของหนึ่งในสี่ประการนี้หรือเปล่า ถ้าเราตกอยู่ในอำนาจของมัน เราจะผิดศีลไหม เราจะขัดประเพณีดีงามไหม เราจะผิดสภาวะหรือหน้าที่ที่เรารับผิดชอบไหม เราจะขัดกฏหมายไหม ถ้าผิดก็ต้องหักห้ามใจ

คอยชั่งใจไว้ด้วยอคติ ๔ ยังมีประโยชน์ด้วย รู้สึกเหมือนพรหมวิหาร ๔ จะเจริญขึ้นตามได้ด้วยแหะ.. :b9:
พรหมวิหาร..ก็ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ใช่ไหมคะ
:b46:

.....................................................
"เกิดดับ..เกิดแล้วไม่ดับไม่มี"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 พ.ค. 2013, 15:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Hanako เขียน:
:b3:

"ใจเป็นธรรม" ฮานาโกะนึกถึง..เมื่อเวลาเราถูกกระทบด้วยสิ่งใดก็ตาม ก็ให้ตั้งธงไว้ในใจก่อนว่า มันมีสัจธรรมอยู่ คือ พระไตรลักษณ์ เช่น มันไม่เที่ยงแท้แน่นอน มันต้องเผื่อใจไว้ มันไม่ได้อย่างใจที่เราอยากได้หรอก คือ คอยสอนตัวเอาไว้ ให้มันระลึกถึงลักษณะของมันตามสัจธรรมอะค่ะ จะเจอเรื่องดีก็ เออ...ดีได้ก็ร้ายได้ เจอเรื่องร้ายก็...เออ มันร้ายได้ก็ดีได้


แต่พอใช้คำว่า "ใจเป็นกลาง" ฮานาโกะก็นึกถึงอีกแง่หนึ่ง คือ การเว้นจากอคติ ๔ ได้แก่ ความรัก ความชัง ความหลง ความกลัว ซึ่งควรจะคอยชั่งหัวใจเราไว้เสมอๆ ว่า ตอนนี้เราตกอยู่ในอำนาจของหนึ่งในสี่ประการนี้หรือเปล่า ถ้าเราตกอยู่ในอำนาจของมัน เราจะผิดศีลไหม เราจะขัดประเพณีดีงามไหม เราจะผิดสภาวะหรือหน้าที่ที่เรารับผิดชอบไหม เราจะขัดกฏหมายไหม ถ้าผิดก็ต้องหักห้ามใจ

คอยชั่งใจไว้ด้วยอคติ ๔ ยังมีประโยชน์ด้วย รู้สึกเหมือนพรหมวิหาร ๔ จะเจริญขึ้นตามได้ด้วยแหะ.. :b9:
พรหมวิหาร..ก็ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ใช่ไหมคะ
:b46:


smiley smiley smiley


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 พ.ค. 2013, 06:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 มี.ค. 2010, 16:12
โพสต์: 2298

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต้อยตีวิด เขียน:
ใจเป็นกลางกับใจเป็นธรรม เหมือนกันหรือเปล่าค่ะ :b10: :b8:

ใจเป็นกลาง ก็คือ ใจเป็นธรรม ..

อันประกอบด้วย "อุเบกขาธรรม" ไม่เอียงซ้าย เอียงขวา
ไม่ประกอบด้วย "อคติ ๔ " ไม่เอียงเพราะรัก เพราะชัง ..

:b1:

.....................................................
"พุทโธ .. พุทโธ .. พุทโธ"
ภาวนาวันละนิด จิตแจ่มใส


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 พ.ค. 2013, 23:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต้อยตีวิด เขียน:
ใจเป็นกลางกับใจเป็นธรรม เหมือนกันหรือเปล่าค่ะ :b10: :b8:

สภาพธรรมในจิตตุปปาทกัณพ์
ใจเป็นธรรม มี 3 สภาวะ
คือ ใจเป็นกุศล
ใจเป็นอกุศล
ใจเป็นอัพยากต

แต่ ใจที่เป็นอัพยากต กล่าวว่าเป็นกลางๆ คือไม่ใช่เป็นจิตเหตุกุศล หรือจิตเหตุอกุศล
ซึ่งใจที่เป็นอัพยากต เป็นวิบาก แม้ว่าจะเป็นวิบากของกุศล หรือวิบากของอกุศลก็ตามแต่
โดยใจที่เป็นอัพยากต เป็นกลางๆ ด้วยเหตุที่ว่าเป็นใจที่พลิกผัน ไปกระทำเหตุอันเป็นกุศล ก็ได้ กระทำเหตุอันเป็นอกุศลก็ได้ แล้วแต่เจตนา

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2013, 09:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 มี.ค. 2010, 10:10
โพสต์: 104

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอบพระคุณคะ :b8: :b1:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 12 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 80 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร