วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 23:58  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 16 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2009, 11:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ท่านว่าอย่างไหนเป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติธรรม

เช่นมีปัญญาแต่ขี้ลืมเป็นต้น

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2009, 17:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 เม.ย. 2008, 13:18
โพสต์: 1367

ที่อยู่: bangkok

 ข้อมูลส่วนตัว


ปัญญาที่ยังมีการลืมเป็นสัญญาขันธ์ครับ..... :b12:
ส่วนปัญญาที่เป็น วิชา ไม่มีวันลืมครับ :b13:

แต่หากถามถึงว่าสิ่งใดสำคัญกว่ากัน กระผมมองว่าปัญญาที่เป็นสัญญานั้นสำคัญกว่า
"เปรียบเหมือนเราจะไปหยิบของที่อยู่ที่สูง(ปัญญาที่เป็นวิชา)เราก็ต้องใช้บันไดที่มันสูงพอ(ปัญญาในสัญญาขันธ์)จึงจะหยิบสิ่งที่เราต้องการใช้ได้"

.....................................................
ตั้งสติไว้ มองความจริงตามความเป็นจริง


แก้ไขล่าสุดโดย natdanai เมื่อ 13 ธ.ค. 2009, 18:02, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2009, 18:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


mes เขียน:
ท่านว่าอย่างไหนเป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติธรรม

เช่นมีปัญญาแต่ขี้ลืมเป็นต้น


สัญญา ความจำ (ตัวบันทึกข้อมูล) เพื่อให้ปัญญาตรวจสอบ เมื่อมีข้อมูลปัญญาก็ทำงานได้

เมื่อไม่มีวัตถุดิบหรือมีข้อมูลอะไร ปัญญาก็ขาดข้อมูลให้วิจัย (พูดตัดตอนแค่นี้)

ถ้าถามว่าสิงใหนสำคัญ คงยากที่จะตัดสิน เพราะไม่มีสัญญา ปัญญาก็ทำงานไม่ได้

มีแต่สัญญา หรือมีข้อมูล แต่ไม่มีปัญญา ข้อมูลนั้นก็ไม่ต่างจากขยะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 13 ธ.ค. 2009, 18:22, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2009, 19:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 8
สมาชิก ระดับ 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 เม.ย. 2007, 15:22
โพสต์: 603

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
mes เขียน:
ท่านว่าอย่างไหนเป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติธรรม

เช่นมีปัญญาแต่ขี้ลืมเป็นต้น


สิ่งสำคัญคือ ความตั้งมั่น ความอดทน ความพึงพอใจ

อิทธิบาท 4
ฉันทะ คือความพอใจ ในฐานะเป็นสิ่งที่ตนถือว่าดีที่สุด ที่มนุษย์เราควรจะได้ข้อนี้เป็นกำลังใจ อันแรกที่ทำให้เกิด คุณธรรม ข้อต่อไป ทุกข้อ

วิริยะ คือความพากเพียร หมายถึง การการะทำที่ติดต่อ ไม่ขาดตอน เป็นระยะยาว จนประสบความสำเร็จ คำนี้มีความหมายของ ความกล้าหาญ เจืออยู่ด้วยส่วนหนึ่ง

จิตตะ หมายถึงความไม่ทอดทิ้งสิ่งนั้นไปจากความรู้สึกของตัว ทำสิ่งซึ่งเป็นวัตถุประสงค์นั้นให้เด่นชัด อยู่ในใจเสมอ คำนี้รวมความหมายของคำว่า สมาธิ อยู่ด้วยอย่างเต็มที่

วิมังสา หมายถึงความสอดส่องในเหตุและผลแห่งความสำเร็จ เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆให้ลึกซึ้งยิ่งๆขึ้นไปตลอดเวลาคำนี้รวมความหมายของคำว่า ปัญญา ไว้อย่างเต็มที่

จากเวป http://www.learntripitaka.com/scruple/Itibaht4.html


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2009, 20:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ก.ค. 2009, 12:55
โพสต์: 36

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


kanalove เขียน:
อ้างคำพูด:
mes เขียน:
ท่านว่าอย่างไหนเป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติธรรม

เช่นมีปัญญาแต่ขี้ลืมเป็นต้น


สิ่งสำคัญคือ ความตั้งมั่น ความอดทน ความพึงพอใจ

อิทธิบาท 4
ฉันทะ คือความพอใจ ในฐานะเป็นสิ่งที่ตนถือว่าดีที่สุด ที่มนุษย์เราควรจะได้ข้อนี้เป็นกำลังใจ อันแรกที่ทำให้เกิด คุณธรรม ข้อต่อไป ทุกข้อ

วิริยะ คือความพากเพียร หมายถึง การการะทำที่ติดต่อ ไม่ขาดตอน เป็นระยะยาว จนประสบความสำเร็จ คำนี้มีความหมายของ ความกล้าหาญ เจืออยู่ด้วยส่วนหนึ่ง

จิตตะ หมายถึงความไม่ทอดทิ้งสิ่งนั้นไปจากความรู้สึกของตัว ทำสิ่งซึ่งเป็นวัตถุประสงค์นั้นให้เด่นชัด อยู่ในใจเสมอ คำนี้รวมความหมายของคำว่า สมาธิ อยู่ด้วยอย่างเต็มที่

วิมังสา หมายถึงความสอดส่องในเหตุและผลแห่งความสำเร็จ เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆให้ลึกซึ้งยิ่งๆขึ้นไปตลอดเวลาคำนี้รวมความหมายของคำว่า ปัญญา ไว้อย่างเต็มที่

จากเวป http://www.learntripitaka.com/scruple/Itibaht4.html

อิทธิบาท ๔ ต้องมีความรู้ในเรื่องที่จะกระทำก่อนเป็นเบื้องต้น(สัญญา) แล้วพัฒนาจากความรู้ไปเป็นความสามารถในการคิด พูด ทำ(ปัญญา) อาศัยองค์อิทธิบาท ๔ เป็นเครื่องช่วยให้เกิดความสำเร็จ(แต่คงต้องอาศัยบุญกุศลของตนด้วย ความเห็นนะ) :b55: :b55:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2009, 20:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 8
สมาชิก ระดับ 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 เม.ย. 2007, 15:22
โพสต์: 603

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


มีแนวทางในการปฏิบัติ กับมี อิทธิบาท 4


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ธ.ค. 2009, 00:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8:

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ธ.ค. 2009, 12:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3836

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


สัญญาเป็นส่วนหนึ่งของขันธ์ พระองค์ว่าเป็น "มาร" (ขันธ์มาร)

ทรงตรัสว่า
อ้างคำพูด:
“.....ดูก่อนภิกษุ บุคคลผู้ยังยึด รูป... เวทนา... สัญญา... สังขาร... วิญญาณ มั่นอยู่ ก็ต้องถูกมารมัดไว้ เมื่อไม่ยึดมั่น จึงหลุดพ้นจากมาร....

“.....ดูก่อนภิกษุ เมื่อบุคคล คิดสร้างภาพ (ศัพท์บาลีใช้คำว่า “มญฺญมาโน”ภาษาไทยแปรว่า “สำคัญ” ฉบับอังกฤษใช้คำว่า imagining แปรว่า “คิดสร้างภาพ” ซึ่งชัดกว่า) รูป... เวทนา... สัญญา... สังขาร... วิญญาณ อยู่ก็ต้องถูกมารมักไว้ เมื่อไม่คิดสร้าง จึงหลุดพ้นจากบ่วงมาร

“.....ดูก่อนภิกษุ เมื่อบุคคลเพลิดเพลินรูป... เวทนา... สัญญา... สังขาร... วิญญาณ อยู่ ก็ต้องถูกมารมัดไว้ เมื่อไม่เพลิดเพลิน จึงพ้นจากมาร....

อุปาทิยสูตร มัญญมานสูตร อภินันทมานสูตร ขันธ. สํ. (๑๓๙, ๑๔๐ ,๑๔๑)
ตบ. ๑๗ : ๙๑-๙๔ ตท. ๑๗ : ๗๙-๘๒
ตอ. K.S. ๓ : ๖๔-๖๕


อ้างคำพูด:
“.....ดูก่อนภิกษุ เมื่อบุคคลเพลิดเพลินรูป... เวทนา... สัญญา... สังขาร... วิญญาณ อยู่ ก็ต้องถูกมารมัดไว้ เมื่อไม่เพลิดเพลิน จึงพ้นจากมาร....

แสดงว่า แม้สัญญาก็เป็นสิ่งที่ "ไม่ควรเพลิดเพลิน"

:b13: :b13: :b31:


แก้ไขล่าสุดโดย ชาติสยาม เมื่อ 14 ธ.ค. 2009, 12:14, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2009, 01:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ชาติสยาม

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2009, 20:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 8
สมาชิก ระดับ 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 ส.ค. 2009, 09:31
โพสต์: 639

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จุฬาภินันท์เป็นเลยค่ะ ได้ปัญญาแต่ขี้ลืม เพียงแต่ปัญญาจะทำให้เข้าใจ เมื่อใครพูดถึงสิ่งที่เราลืม เราก็จะระลึกได้และเข้าใจลึกซึ้งค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2009, 23:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2009, 00:02
โพสต์: 111

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b44: :b44: ความจำกับปัญญา น่าจะอยู่คู่กัน สำคัญมากในการเล่าเรียนวิชาต่างๆ ในทางโลก ถ้ามีความจำดีก็ทำให้เกิดปัญญาเพิ่มขึ้น ถ้ามีความจำดีแต่ไม่มีปัญญาในการคิดไตร่ตรอง แยกแยะดีชั่ว ก็เป็นอันตราย ฉะนั้นในทางธรรม ปัญญาน่าจะดีกว่าความจำซึ่งเป็นสัญญา (ศีล สมาธิ ปัญญา)
:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2009, 00:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12233


 ข้อมูลส่วนตัว


mes เขียน:
ท่านว่าอย่างไหนเป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติธรรม

เช่นมีปัญญาแต่ขี้ลืมเป็นต้น


แรกๆ ก็คิดว่า..ความจำ กะ ปัญญา..มันก็คล้ายกันบ้างอยู่นะ

แต่..มาคิดอีกแบบ

ความจำ...ในวิชาศีลธรรม..เขาสอนว่า..พ่อแม่เป็นผู้ที่เป็นพรหมณ์สำหรับลูก ๆ เพราะท่านมีรักเมตตาต่อบุตรเสมอ...ใคร ๆ ก็จำได้..แต่รู้สึกไหม..ว่ารักเมตตายังงัย?

ปัญญา..จำที่เขาสอนมาได้หมด..ทำข้อสอบก็ตอบได้หมด..จึงได้เกรดดี..เรียนจบสูง..เป็นดอกเตอร์เขาก็ว่าเป็นคนเก่ง..มีปัญญาสูงกว่าคนจบไม่สูง..นี้ก็ปัญญาแบบที่เห็น ๆ กันอยู่

ปัญญาอีกแบบ..ครั้นมีลูกเป็นของตัวเอง..ก็รู้ได้ว่าพ่อแม่รักลูกยังงัย..แม้จะจำละเอียดตามตำราไม่ได้..ก็ตอบได้ว่า..รักยังงัย..เมตตายังงัย..นี้ละมั้งที่พวกพ่อแม่ทั้งหลายมักพูดว่า..ถ้าพวกเอ๋งไม่มีลูกเอ๋งไม่รู้หรอกว่าพ่อแม่รักลูกยังงัย..อย่างนี้ไม่ต้องใช้ความจำก็รู้ได้

จะเห็นว่า..บางความรู้..ความจำก็สำคัญ..บางความรู้..ความจำก็ไม่สำคัญ

กลับมาเข้ากระทู้..

ถ้าความจำเป็นบ่อเกิดของปัญญา..ความจำนั้นก็ยังสำคัญอยู่..ปัญญาพวกนี้เป็นปัญญาแบบโลก ๆ ..

ถ้าความจำเป็นทางสู่ปัญญา..แม้จะต้องทิ้งความจำก่อนมีปัญญารู้จริง..เป็นปัญญาของเหล่าสาวกภูมิขีณาสพทั้งหลาย..ความจำนั้นก็ยังสำคัญอยู่ตามระดับขั้นของมัน..

ถ้าเป็นปัญญาของพระปัจเจกพุทธเจ้า..พระพุทธเจ้า..ก็จะเห็นว่า..ความจำไม่ได้เกี่ยวกับปัญญาของท่าน..ความจำจึงไม่สำคัญ

หากท่าน mes จะถามว่า..ความจำกับปัญญา..อย่างไหนสำคัญในการปฎิบัติธรรม..

อยากจะตอบว่า..บอกไม่ได้หรอกครับ :b12: :b12:

อ้างคำพูด:
เช่นมีปัญญาแต่ขี้ลืมเป็นต้น


บางครั้ง..ลืม..ก็เป็นของดีนะครับ :b12:

เช่น..ลืมโกรธ..ลืมโลภ..ลืมหลง :b17: :b17:

แต่ถ้า..หลง ๆ ลืม ๆ นี้ก็แย่เหมือนกัน :b32: :b32:


แก้ไขล่าสุดโดย กบนอกกะลา เมื่อ 20 ธ.ค. 2009, 00:48, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2009, 11:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอเรียนถามท่านผู้เจริญธรรมทั้งหลายต่อครับ

ในการปฏิบัติกรรมฐานจนชำนาญ

ความชำนาญเป็นความจำหรือไม่


และญาณ เป็นความจำหรือไม่ครับ

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


แก้ไขล่าสุดโดย mes เมื่อ 20 ธ.ค. 2009, 11:13, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2009, 20:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ก.ค. 2009, 12:55
โพสต์: 36

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


"อาศัยสัญญาเป็นสมุฐานจึงเกิดความดำริ" พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ถ้าไม่มีความจำหรือความรู้ ความคิดจะมีมาแต่ไหน? :b8:
ความชำนาญเป็นความรู้ที่ถูกใช้บ่อยๆ เกิดบ่อยๆ จำสภาวะนั้นๆได้เป็นสัญญา แต่สภาวะที่เกิดไม่ใช่สัญญา :b8:


แก้ไขล่าสุดโดย ภยังค์ เมื่อ 20 ธ.ค. 2009, 20:16, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ธ.ค. 2009, 19:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


mes เขียน:
ท่านว่าอย่างไหนเป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติธรรม

เช่นมีปัญญาแต่ขี้ลืมเป็นต้น



ฮ่า ฮ่า ฮ่า

ไม่มีความจำ ปัญญาก็ไม่เกิดดอกคุณ....ทั้งสองอย่างต้องควบคู่กันไป แยกจากกันไม่ได้
ไม่อธิบายเหตุผลนะขอรับ ให้ไปคิดพิจารณา ด้วย "สติ" ของพวกคุณก็แล้วกัน


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 16 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 50 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร