วันเวลาปัจจุบัน 20 เม.ย. 2024, 05:24  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 40 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ธ.ค. 2008, 17:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3835

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ช่วยแยกตัณหากับฉันทะให้เป็นปรมัตถ์กับบัญญัติที่สิครับ แยกยังไงตรงไหนเป็นบัญญัติตรงไหนเป็นปรมัตถ์


บัญญัติ คือ ถูกสร้างขึ้น

ปรมัตถ์คือ มันเป็นของมันโดยธรรมชาติเดิมแท้ เป็นตลอดมาและตลอดไป
ไม่ถูกอำนาจใดๆบงการได้ ไม่มีทางเป้นเท็จได้
มี 4 อย่าง
1. จิตมีความเป้นธาตุรู้อยู่เป็นนิจ (จิต)
2. จิตมีการแสดงออกของจิตอยู่เป้นนิจ(เจตสิก)
3. รูปมีไตรลักษณ์เป็นนิจ
4. นิพพานเป้นธรรมชาติที่พ้นกิเลสและขันธ์เป้นนิจ

ประเด็นคือ ตันหาและฉันทะ มันไม่เข้าพวกแบบ 4 ข้อนั้นเลย
ตันหาและฉันทะ ไม่มีความเป้นปรมัตถ์เลย

ความจริงแล้ว ตันหาและฉันทะ เกิดจากดำริของเรา เกิดจากเจตน์จำนงของเรา
ถูกปรุงขึ้น จึงกล่าวว่าเป้นบัญญัติ

.....................................................
อาทิ สีลํ ปติฏฺฐา จ กลฺยาณานญฺจ มาตุกํ
ปมุขํ สพฺพธมฺมานํ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย
ศีลเป็นที่พึ่งเบื้องต้น เป็นมารดาของกัลยาณธรรมทั้งหลาย
เป็นประมุขของธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้นควรชำระศีลให้บริสุทธิ์
....................................

"หากเป็นคนฉลาดก็มีแต่จะทำให้คนอื่นรักตนเท่านั้น-วาทะคุณกุหลาบสีชา"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ธ.ค. 2008, 18:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นำคำอธิบายบัญญัติปรมัตถ์มาจากตำราไหนครับนั่น :b1: :b3:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ธ.ค. 2008, 19:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3835

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
นำคำอธิบายบัญญัติปรมัตถ์มาจากตำราไหนครับนั่น :b1: :b3:


เอามาจากความจำครับ แล้วใช้คำพูดตัวเองครับ
ถ้าพยัญชนะไม่ถูกใจ ต้องขออภัย

แต่ที่สำคัญคืออรรถไม่ใช่หรือครับ

.....................................................
อาทิ สีลํ ปติฏฺฐา จ กลฺยาณานญฺจ มาตุกํ
ปมุขํ สพฺพธมฺมานํ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย
ศีลเป็นที่พึ่งเบื้องต้น เป็นมารดาของกัลยาณธรรมทั้งหลาย
เป็นประมุขของธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้นควรชำระศีลให้บริสุทธิ์
....................................

"หากเป็นคนฉลาดก็มีแต่จะทำให้คนอื่นรักตนเท่านั้น-วาทะคุณกุหลาบสีชา"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ธ.ค. 2008, 19:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ข้อความที่เราๆท่านๆโพสต์ๆกันนั้น จะอยู่เป็นหลักฐานสำหรับศึกษาค้นคว้าอีกนาน หากเป็นไปได้ควรศึกษาจากตำหรับตำราที่สอนกันตามสำนักเรียนปริยัติที่ทางสำนักพุทธรับรองก็คงดี :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ธ.ค. 2008, 21:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3835

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ข้อความที่เราๆท่านๆโพสต์ๆกันนั้น จะอยู่เป็นหลักฐานสำหรับศึกษาค้นคว้าอีกนาน หากเป็นไปได้ควรศึกษาจากตำหรับตำราที่สอนกันตามสำนักเรียนปริยัติที่ทางสำนักพุทธรับรองก็คงดี :b1:


:b5: :b5: :b5:
ถ้าคุณพี่ไม่อยากจะเข้าประเด็นก็จบก็ได้ครับ
ผมไม่สะดวกในมาตรฐานการคุยที่คุณพี่ตั้งไว้

ผมก็ไม่ค่อยถูกจริตกับการอ่านหนังสือประเภทสำนวนวิชาการ
และรวมถึงการคุยแบบประชุมวิชาการ
ผมแค่แสดงความคิดเห็น

หากความเห้นผมมันสวนกระแสสัจจะธรรม
และหากคุณพี่ประสงค์จะชี้แนะสิ่งที่ถูกต้อง
ก้ชี้แจงแทงประเด้นลงไปได้เลยว่าขัดอย่างไร แย้งอย่างไร
ไม่มีเหตุสมควรจะมาประวิงเวลาถามหาที่มา ว่ามาอย่างไร

.....................................................
อาทิ สีลํ ปติฏฺฐา จ กลฺยาณานญฺจ มาตุกํ
ปมุขํ สพฺพธมฺมานํ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย
ศีลเป็นที่พึ่งเบื้องต้น เป็นมารดาของกัลยาณธรรมทั้งหลาย
เป็นประมุขของธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้นควรชำระศีลให้บริสุทธิ์
....................................

"หากเป็นคนฉลาดก็มีแต่จะทำให้คนอื่นรักตนเท่านั้น-วาทะคุณกุหลาบสีชา"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ธ.ค. 2008, 04:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นำหลักให้ดูก่อน (เอาเท่าที่พูดถึง)

สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (เกิดกับจิตทุกดวง) มี ๕ คือ ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา
ชีวิตินทรีย์ มนสิการ (เดิมมี ๗ คือ เวทนา กับ สัญญา แต่แยกเป็นอีกขันธ์หนึ่งๆต่างหาก คือ เวทนาจัดเป็นเวทนาขันธ์ สัญญาจัดเป็นสัญญาขันธ์)

ปกิณณกเจตสิก (เกิดกับจิตได้ทั่วๆไป ทั้งฝ่ายดีฝ่ายชั่วแต่ไม่ตายตัว) มี ๖ คือ วิตก วิจาร อธิโมกข์ วิริยะ ปีติ ฉันทะ

ปกิณณกอกุศลเจตสิก (เกิดกับจิตที่เป็นอกุศลแต่ไม่ตายตัวทุกครั้ง) มี ๑๐ คือ โลภะ ทิฏฐิ มานะ โทสะ อิสสา ฉัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ มิทธะ และวิจิกิจฉา

อ้างคำพูด:
ความจริงแล้ว ตันหาและฉันทะ เกิดจากดำริของเรา เกิดจากเจตน์จำนงของเรา
ถูกปรุงขึ้น จึงกล่าวว่าเป้นบัญญัติ


ตัณหาก็ดี ฉันทะก็ดี เจตนา (หรือที่เรียกเจตน์จำนงนั่นแหละ) ก็ดี ท่านจัดเป็นสังขารขันธ์ทั้งหมด
(คำว่าปรุงแต่ง (สังขาร) แต่สังขารมี ๒ ผู้ต้องการศึกษาก็ลิงค์นี้)

viewtopic.php?f=2&t=18670

ตัณหาเป็นอกุศล ซึ่งก็ได้แก่โลภะนั่นเอง ท่านจัดเป็นอกุศลมูล มี ๓ อย่าง คือ โลภะ โทสะ และโมหะ ตรงข้ามกับกุศลมูล คือ อโลภะ อโทสะ และอโมหะ

ตามหลัก ปรมัตถ์ มี ๔ คือ จิต เจตสิก รูป และนิพพาน

ที่ท่านแยกสอนแยกอธิบายก็เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้แง่มุมของชื่อธรรมแต่ละตัวๆว่า ตัวนี้ชื่อนี้มีหน้าที่อะไร เมื่อเกิดแล้วมีคุณมีโทษอย่างไรต่อตนเอง

แต่ในขณะปฏิบัติจริงๆ ไม่ใช่แยกทำแยกเจริญทีละตัวๆ เพราะแยกไม่ออก ด้วยว่าจิตกับเจตสิกเกิดพร้อมกัน ดับพร้อมกัน และมีอารมณ์อย่างเดียวกัน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ธ.ค. 2008, 06:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3835

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

ตามหลัก ปรมัตถ์ มี ๔ คือ จิต เจตสิก รูป และนิพพาน

ที่ท่านแยกสอนแยกอธิบายก็เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้แง่มุมของชื่อธรรมแต่ละตัวๆว่า ตัวนี้ชื่อนี้มีหน้าที่อะไร เมื่อเกิดแล้วมีคุณมีโทษอย่างไรต่อตนเอง

แต่ในขณะปฏิบัติจริงๆ ไม่ใช่แยกทำแยกเจริญทีละตัวๆ เพราะแยกไม่ออก ด้วยว่าจิตกับเจตสิกเกิดพร้อมกัน ดับพร้อมกัน และมีอารมณ์อย่างเดียวกัน


มีเส้นบางๆตรงนี้ที่ผมอยากจะพูดให้เคลียว่าผมเข้าใจว่า เจตสิกในฐานะปรมัตถ์เป้นอย่างไร


เจตสิกคือสิ่งที่เกิดดับใช่ไหมครับ ยิ่งไปหว่านั้นเจตสิกเกิดจากการปรุง
เป้นสังขตธรรมใช่ไหมครับ
ดังนั้น เจตสิก ตัวที่เป้นผลผลิต ตัวที่เกิดดับนั้นทั้งหลายนั้น จึงไม่เป็นปรมัตถ์
มันเป็นบัญญัติ

เจตสิกที่เป็นปรมัตถ์ หมายถึงว่า ลักษนาการของมัน ที่มันเกิดร่วมกับจิตเป็นนิจ เกิดดับเป้นนิจ
ลักษณาการนี้เป้นปรมัตถ์


ในการปฏิบัติจริงก็ไม่ใช่การขบคิดว่ามีชื่อนั้น เป้นอย่างนี้ มีลักษณะอย่างนี้อย่างนั้น
เราแค่รับรู้ว่ามีสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น สิ่งหนึ่งดับไป (ซึ่งสิ่งที่เกิดดับในใจก็มีแต่เจตสิกทั้งนั้นนั่นเอง)
เมื่อปฏิบัติแล้วรับรู้ให้เห็นสิ่งหนึ่งเกิด สิ่งหนึ่งดับ ก้คือการเห็นไตรลักษณ์ที่เป้นปรมัตถ์

.....................................................
อาทิ สีลํ ปติฏฺฐา จ กลฺยาณานญฺจ มาตุกํ
ปมุขํ สพฺพธมฺมานํ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย
ศีลเป็นที่พึ่งเบื้องต้น เป็นมารดาของกัลยาณธรรมทั้งหลาย
เป็นประมุขของธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้นควรชำระศีลให้บริสุทธิ์
....................................

"หากเป็นคนฉลาดก็มีแต่จะทำให้คนอื่นรักตนเท่านั้น-วาทะคุณกุหลาบสีชา"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ธ.ค. 2008, 20:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 28 ก.ค. 2006, 20:52
โพสต์: 1210

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แต่ข้าพเจ้า ถนัดอ่านมากๆค่ะ ทั้งความคิดเห็น และวิชาการ พอมีวิชาการมาแล้ว ก็มีการแสดงความคิดเห็น อาจตามด้วยมุข ขำมั่ง ฝืดๆมั่ง ก็เอาดี(สำนวนวัยรุ่นใช้ว่า ... ก้อโอ.. ค่ะ) ได้ทั้งสาระและสร้างสรรค์ไงคะ อยากบอกว่า
ทั้งกระทู้และ คห.ทั้งหมดใน หมวดสนทนาธรรมฯ นี่ผสมผสานกันลงตัว ทำให้มีเสน่ห์ น่าติดตามอ่านทั้งนั้นเลยค่ะ

:b8: :b8: :b8:
:b22: :b22: :b22:

.....................................................
สัพเพ สังขารา อนิจจา
สัพเพ ธรรมา อนัตตา...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ม.ค. 2009, 14:06 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 มิ.ย. 2004, 12:36
โพสต์: 86

โฮมเพจ: naiyanit.blogspot.com
แนวปฏิบัติ: ดูจิต
งานอดิเรก: ปฏิบัติธรรม
สิ่งที่ชื่นชอบ: หนังสือธรรมะของหลวงพ่อปราโมทย์ ทุกเล่ม
ชื่อเล่น: นิดนึง
อายุ: 0
ที่อยู่: เมืองนนท์

 ข้อมูลส่วนตัว www


:b3: ลงกระทู้ไว้แล้วลืมเลย
นึกได้เข้ามาดู ก็ยาวพอสมควร
ธรรมะแตกกระจาย กว้างขวาง

กลับไปที่หัวข้อกระทู้เรื่อง ทิฏฐิ และตัณหา อีกครั้งนะคะ

ทิฏฐิ ไม่ต้องแปลแล้ว เพราะได้รับการแปลอย่างกว้างขวางแล้ว
ตัณหา ก็ไม่ต้องแปลอีก เพราะทั้งสองท่านก็ได้แปลให้อย่างกว้างขวางเหมือนกัน

สรุปได้ว่า เมื่อมีความเห็นแตกต่าง ย่อมมีความต้องการที่แตกต่าง
แต่ในความแตกต่างนั้น ย่อมเป็นอยู่อย่างนั้นเอง ไม่มีผิด ไม่มีถูก มีแต่เนื้อหา
ไปตามธรรม (คือเป็นไปเช่นนั้นเอง)

สรุปว่ากระทู้ได้แสดงเจตนาและภาพได้อย่างชัดเจน สมบูรณ์

ปิดกระทู้ได้ค่ะ :b12:

.....................................................
~รู้สภาวะตามความเป็นจริงลงปัจจุบัน ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลาง~
สติมา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ม.ค. 2009, 13:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกใหม่
สมาชิกใหม่
ลงทะเบียนเมื่อ: 22 ม.ค. 2008, 15:28
โพสต์: 5


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8:
อนุโมทนาสาธุคะ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 40 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 92 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร