วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 08:54  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


พบ 8163 ผลลัพธ์
ผลจากการค้นหา:

เจ้าของ ข้อความ

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: การรู้อายตนะ ธาตุ นาม และรูป

เมื่อ: 10 ธ.ค. 2023, 12:33 

ตอบกลับ: 1
แสดง: 876


การรู้อายตนะ ธาตุ นาม และรูป ในขณะที่เห็นอยู่นั้น ความใสแห่งจักษุ เรียกว่า "จักขายตนะ จักขุธาตุ" สีที่ สามารถเห็นได้ เรียกว่า "รูปายตนะ รูปธาตุ" หมู่จิตที่เรียกว่าการเห็น เรียกว่า "มนายตนะ" ในมนายตนะนั้น จิตที่สักแต่ว่าเห็น เรียกว่า "จักขุวิญญาณธาตุ" ส่วนจิตท...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: การรู้การเกิดดับของวิญญาณ

เมื่อ: 09 ธ.ค. 2023, 19:20 

ตอบกลับ: 0
แสดง: 1672


การรู้การเกิดดับของวิญญาณ ในขณะที่เห็นอยู่ คู้เข้าอยู่ ตรึกนึกคิดอยู่ เป็นต้นนั้น โยคีย่อมรู้ซึ้งถึงสภาวะ จิตที่เห็น ที่ได้ยิน เป็นต้น ในทุกขณะที่ทำการกำหนดโดยนัยว่า "เห็นหนอ ได้ยินหนอ คู้เข้าหนอ อยากเหยียดหนอ ตรึกหนอ คิดหนอ กำหนดหนอ รู้หนอ" โยคีนั้น จะสามารถเห็นโดยทำนองนี้ว่าสภาวะที่เป็น...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: การรู้การเกิดดับของเวทนา

เมื่อ: 09 ธ.ค. 2023, 07:22 

ตอบกลับ: 0
แสดง: 1846


การรู้การเกิดดับของเวทนา ทุกๆครั้งที่มีการกำหนดรู้ถึงความรู้สึกหรือเวทนาที่เกิดขึ้นภายในจิตใจและ กายไม่ว่าจะเป็นความสุข ความดีใจ ซึ่งเรียกว่า "สุขเวทนา" หรือความทุกข์ใจ ความไม่สบายใจ ความเสียใจ ซึ่งเรียกว่า "ทุกขเวทนา" หรือความรู้สึกที่เป็นกลางๆ หรือเฉยๆซึ่งเรียกว่า "อุเบกข...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: การรู้การเกิดดับของรูป

เมื่อ: 08 ธ.ค. 2023, 19:51 

ตอบกลับ: 0
แสดง: 1773


การรู้การเกิดดับของรูป ในขณะที่โยคีเห็น ก็ดี คู้เข้าเป็นต้น ก็ดี ทุกครั้งที่กำหนดว่า "เห็นหนอ คู้เข้าหนอ" ก็จะทราบว่า ความใสของจักษุ สีที่สามารถห็นได้และรูปมีการเคลื่อนไหว เป็นต้นนั้น จะเกิดดับอยู่อย่างต่อเนื่อง ก็การรู้เช่นนี้ ได้ชื่อว่าเป็น อุทยัพพยญาณ คือญาณที่เห็นการเกิดซึ่งเรียกว่าสม...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: จตุสัจกัมมัฏฐาน

 หัวข้อกระทู้: Re: จตุสัจกัมมัฏฐาน
เมื่อ: 07 ธ.ค. 2023, 06:40 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 1281


ซึ่งเกิดขึ้นในปัจจุบันมากำหนดรู้ด้วยปัจจักญาณได้และสามารถที่จะกำหนดรู้ตัณหา ซึ่งเป็นอดีตดังกล่าวได้ด้วยอนุมานญาณจะอย่างไรก็ตามตัณทาที่เป็นอดีตกับตัณหา ที่เป็นปัจจุบันนั้นบอกจากจะมีสภาวะเหมือนกันแล้วยังถือว่าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดย เอกัคคนัย ทั้งนี้เพราะเป็นสภาวธรรมที่กิดขึ้นในชันธสันดานของโยคีบุ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: จตุสัจกัมมัฏฐาน

 หัวข้อกระทู้: Re: จตุสัจกัมมัฏฐาน
เมื่อ: 06 ธ.ค. 2023, 19:25 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 1281


สตินั้น ก็ไม่สามารถที่จะมีได้ ดังนั้น พระอรรถกถาจารย์ท่านจึงกล่าวไว้ว่า ตัณหา ในภพซาติ ก่อนที่เป็นต้นเหตุไปเกิดสตินั้น จัดเป็นสมุทยสัจ เหมือนกับการตรัส คำว่า สงฺขารปจฺจยา วิญฺญาณํ (ที่มาในมัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ พหุธาตุกสูตร) ฉันนั้น ซึ่งในที่นั้น หมายความตามนัยแห่งพระสูตรดังนี้ว่า คำว่า "วิญ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: จตุสัจกัมมัฏฐาน

 หัวข้อกระทู้: Re: จตุสัจกัมมัฏฐาน
เมื่อ: 06 ธ.ค. 2023, 17:40 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 1281


เพราะฉะนั้น ในการกล่าวถึงการเกิดจตุสัจกัมมัฏฐาน พระอัฏฐกถาจารย์ ท่านจึงหมายเอาเฉพาะสติที่เป็นทุกขสัจเท่านั้น อนึ่ง การที่แสดงว่า สตินั่นเทียว เป็นทุกขสัจนั้นเป็นการกล่าวโดยปธานนัย(สำนวนโวหารที่พูดโดยหยิบยกเอาสติ ซึ่งเป็นธรรมหลักขึ้นมากล่าว แต่ยังสงเคราะห์เอาจิต เจตสิกทีเกิดร่วมกับสติ รวมไปถึงรูปธรรม...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: จตุสัจกัมมัฏฐาน

 หัวข้อกระทู้: จตุสัจกัมมัฏฐาน
เมื่อ: 06 ธ.ค. 2023, 14:03 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 1281


จตุสัจกัมมัฏฐาน ในการนำเอาสัจจะ ๔ มาเจริญเป็นวิปัสสนานั้น พึงทราบว่า เมื่อโยคีได้ทำ การน้อมจิตของตนไปด้วยอำนาจของสุตะที่ได้ยินได้ฟังมาเกียวกับพระนิพพาน และมรรคธรรมที่ว่า "นิพพานและมรรคเป็นสภาวธรรมที่ประเสริฐ แล้วทำการ เจริญวิปัสสนาพิจารณากำหนดเฉพาะทุกขสัจและธรรมที่เป็นสมุทยสัจเท่านั้น ซึ่งข้อน...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: ปกตูปนิสสยปัจจัยมี ๙ วาระ

เมื่อ: 04 ธ.ค. 2023, 10:21 

ตอบกลับ: 1
แสดง: 1025


๓ สทฺธา สีลํ สุตํ จาโค ปญฺญา สทฺธาย สีลสฺส จาคสฺส ปญฺญาย ปกตูปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย (ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา เป็นปัจจัยช่วยอุปการะแก่ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ด้วย อำนาจปกตูปนิสสยปัจจัย) กุ. ๒๐ เจ. ๓๘ --> กุ. ๒๑ เจ. ๓๘ ๔. ปฐมสฺส ฌานสฺส ปริกมฺมํ ปฐมสฺส ฌานสฺส, ทุติยสฺส ปริกมฺมํ ทุติยสฺส ฌานสฺส, ตต...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: ปกตูปนิสสยปัจจัยมี ๙ วาระ

เมื่อ: 04 ธ.ค. 2023, 08:04 

ตอบกลับ: 1
แสดง: 1025


๑. บาลีวิธี กุสโล ธมฺโม กุสลสฺส ธมฺมสฺส ปกตูนิสฺสยปจฺจเยนปจฺจโย (กุศลธรรมเป็นปัจบแก่กุศลธรรม ด้วยอำนาจปกตูปนิสสยปัจจัย) กุ --> กุ.คือ กุ. ๒๐ เจ ๓๘ (เว้นอรหัตตมัค) --> กุ. ๒๑ เจ ๓๘ บาลีอนุวาท ๑.สทฺธํ อุปนิสฺสาย ทานํ เทติ สีลํ สมาทิยติ อุโปสถกมฺม กโรติ ฌานํ อุปฺปาเทติ วิปสฺนํ อุปฺปาเทติ มคฺคํ อุปฺปาเท...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: อุปนิสสยปัจจัย

 หัวข้อกระทู้: Re: อุปนิสสยปัจจัย
เมื่อ: 04 ธ.ค. 2023, 04:20 

ตอบกลับ: 4
แสดง: 1158


ปกโต อุปนิสฺสโยติ = ปกตูปนิสฺสโย (เหตุธรรมอันเป็นที่อาศัยมี กำลังแรงกล้าที่ได้ทำมาแล้วด้วยดีนั้น ชื่อว่า ปกตูปนิสสยปัจจัย)หรือว่า อารมฺมณานนุตเรหิ อสํมิสฺโส หุตวา ปกติยาเยว อุปนิสุสโยติ = ปกตูปนิสฺสโย (เหตุธรรมเป็นที่อาศัยที่มีกำลังกล้าด้วยอำนาจสภาวะ ของตนเอง ไม่เกี่ยวข้อง ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย และ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: อุปนิสสยปัจจัย

 หัวข้อกระทู้: Re: อุปนิสสยปัจจัย
เมื่อ: 03 ธ.ค. 2023, 19:30 

ตอบกลับ: 4
แสดง: 1158


ส่วนอนันตรูปนิสสยปัจจัย หมายเอาจิตเวงเก่าที่ดับไปนั้นเป็น เหตุมีกำลังยิ่งเพราะสามารถสร้างจิตดวงใหม่ให้เกิดขึ้นได้ เพราะฉะนั้น อนันตรูปนิสสมปัจจัยก็คือ อนันตรปัจจัยที่มีกำลังนั่นเอง การที่ยกมากล่าวอีกในอุปนิสสยปัจจัย ก็เพื่อให้เห็นความสำคัญของอนันตรูปนิสสยปัจจัย ว่าเป็นปัจจัยที่อาศัยนสำคัญของสัตว์โลก...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: อุปนิสสยปัจจัย

 หัวข้อกระทู้: Re: อุปนิสสยปัจจัย
เมื่อ: 03 ธ.ค. 2023, 17:45 

ตอบกลับ: 4
แสดง: 1158


ความต่างกันของอารมณ์ ๓ อย่าง คือ ๑.อารัมมณปัจจัย คือสักแต่ว่าเป็นอารมณ์ทั้งดีและไม่ดี ๒. อารัมมณาธิปติปัจจัย คือเอาแต่เฉพาะการมณ์ที่ดีๆ ที่พอใจมาก เป็นอติอิฏฐารมณ์ ๓.อารัมมณูปนิสสยปัจจัยคือเอาอารมณ์ที่สำคัญด้วยและเป็นที่อาศัยมีกำลังมากด้วย อารัมมณูปนิสสยปัจจัย จึงไม่ต้องอธิบายซ้ำอีก เพราะเหมือนกับ ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: อุปนิสสยปัจจัย

 หัวข้อกระทู้: Re: อุปนิสสยปัจจัย
เมื่อ: 03 ธ.ค. 2023, 11:06 

ตอบกลับ: 4
แสดง: 1158


วจนัตถะของอุปนิสสยปัจจัย ภูโส นิสฺสโย = อุปนิสุสโย (ธรรมอันเป็นที่อาศัยอย่างแรงกล้า ชื่อว่า อุปนิสลย) หรือ พลวตโต นิสฺสโยติ = อุปนิสฺสโย (ธรรมอันเป็นที่อาศัยที่มีกำลังมาก ชื่อว่า อุปนิสสย) หรือ อุปนิสฺสยภาเวน อุปการโก ธมฺโม = อุปนิสฺสยปจฺจโย (ธรรม ที่เป็นผู้อุปการะโดยความเป็นที่อาศัยอย่างแรงกล้า ชื...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: อุปนิสสยปัจจัย

 หัวข้อกระทู้: อุปนิสสยปัจจัย
เมื่อ: 03 ธ.ค. 2023, 08:48 

ตอบกลับ: 4
แสดง: 1158


อุปนิสสยปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยที่ ๙ ในปัจจัย ๒๔ หรือเป็นปัจจัยที่ ๑๓ ในปัจจุ ๕๒ อุทเทส อุปนิสฺสยปจฺจโย ธรรมเป็นที่อาศัยมีกำลังมากเป็นปัจจัย หรือธรรมเป็นเหตุมีกำลังยิ่งเป็นปัจจัยให้เกิดผลธรรม เพราะนิสสย แปลว่า ที่อาศัย หรือเหตุ อุป แปลว่า ยิ่ง อุปนิสสยปัจปัจเป็นปัจจัยที่อาศัยอย่างแรง กล้าห...
เรียงตาม:  
หน้า 4 จากทั้งหมด 545 [ พบ 8163 ผลลัพธ์ ]


เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร