Home  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  •  สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทาน  • หนังสือ  •  บทความ  • กวีธรรม  • ข่าวกิจกรรม  • แจ้งปัญหา
คู่มือการใช้คู่มือการใช้  ค้นหาค้นหา   สมัครสมาชิกสมัครสมาชิก   รายชื่อสมาชิกรายชื่อสมาชิก  กลุ่มผู้ใช้กลุ่มผู้ใช้   ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว  เช็คข้อความส่วนตัวเช็คข้อความส่วนตัว  เข้าสู่ระบบ(Log in)เข้าสู่ระบบ(Log in)
 
ได้ทำการย้ายไปเว็บบอร์ดแห่งใหม่แล้ว คลิกที่นี่
www.dhammajak.net/forums
15 ตุลาคม 2551
 การอโหสิกรรม อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
ผู้ตั้ง ข้อความ
พิทรายา
บัวใต้น้ำ
บัวใต้น้ำ


เข้าร่วม: 12 ส.ค. 2007
ตอบ: 103
ที่อยู่ (จังหวัด): ชลบุรี

ตอบตอบเมื่อ: 16 ก.ย. 2007, 4:37 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

อยากทราบว่า เมื่อมีคนทำให้เรามีความทุกข์จากการกระทำของเขา (อย่างสาหัส) แต่ต่อมาเราได้อโหสิกรรมให้เขา ไม่ทราบว่า เขาคนนั้นจะได้รับผลกรรมที่ได้สร้างไว้กับเราอีกหรือไม่
และการอโหสิกรรมให้กัน เป็นการลบล้างกรรมที่ทำได้หรือไม่
ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ได้อ่านและไขข้อข้องใจค่ะ
 

_________________
ความยึดมั่นถือมั่นทำให้เป็นทุกข์
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัว
I am
บัวบานเต็มที่
บัวบานเต็มที่


เข้าร่วม: 25 ต.ค. 2006
ตอบ: 972

ตอบตอบเมื่อ: 17 ก.ย. 2007, 9:54 am ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

การให้อโหสิกรรม หรือ การให้อภัย เรียกรวมๆ ว่า อภัยทาน

มีความมุ่งหมายว่า ไม่ถือโทษ ไม่เอาผิด ยกโทษให้
ไม่มุ่งหวังทำร้าย ปองร้าย พยาบาท

เป็นการฝึกจิตให้มีความเมตตา กรุณา เพื่อให้เกิด พรหมวิหาร ๔
เมื่อทำได้ดั่งนี้ ทำให้จิตของเราดีขึ้น อ่อนโยนขึ้น มีคุณค่าขึ้น

เมื่อเขามีทุกข์ ก็ขอให้พ้นจากทุกข์
มีสุขขอให้สุขยิ่งๆ ขึ้นไป

การให้อภัยคือชัยชนะอันยิ่งใหญ่แล้ว
การอยากรู้ว่ากรรมจะสนองเขาอย่างไร
ลบล้างกรรมได้หรือไม่นั้น ก็เป็นอันตัดไป


สาธุ ยิ้มเห็นฟัน
 

_________________
ทุกข์ใดดับได้ด้วยปัญญา ทุกข์นั้นจะไม่เกิดอีก
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัวส่ง Emailชมเว็บส่วนตัวMSN Messenger
สาวิกาน้อย
บัวแก้ว
บัวแก้ว


เข้าร่วม: 27 มี.ค. 2006
ตอบ: 2065

ตอบตอบเมื่อ: 17 ก.ย. 2007, 10:01 am ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

ให้อภัย
http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=6635

อภัยทาน คืออย่างไร ?
http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=6185

อภัยทาน
http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=13454
 

_________________
ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นกฎตายตัว
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัวชมเว็บส่วนตัวMSN Messenger
พิทรายา
บัวใต้น้ำ
บัวใต้น้ำ


เข้าร่วม: 12 ส.ค. 2007
ตอบ: 103
ที่อยู่ (จังหวัด): ชลบุรี

ตอบตอบเมื่อ: 17 ก.ย. 2007, 4:49 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

สาธุ ขอขอบคุณ คุณสาวิกาน้อย และ คุณ I am มากค่ะ
 

_________________
ความยึดมั่นถือมั่นทำให้เป็นทุกข์
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัว
จอมจุฑา
บัวผลิหน่อ
บัวผลิหน่อ


เข้าร่วม: 20 มิ.ย. 2007
ตอบ: 5
ที่อยู่ (จังหวัด): กรุงเทพฯ

ตอบตอบเมื่อ: 19 ก.ย. 2007, 11:24 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

สาธุ
 

_________________
แม่เป็นห่วง ดิ้นรนหา เอามาให้
แม้แม่อด หมดข้าวปลา ไม่ว่าไร
แม่สละได้ ลูกอิ่มแปร้ แม่ทนเอา
ใครไหนเล่า เฝ้าอบรม บ่มนิสัย
แม้เติบใหญ่ ไม่ท้อถอย คอยนั่งเฝ้า
พระคุณเลิศ ลูกโศก ช่วยบรรเทา
ใครไหนเล่า รักมั่นแท้ แม่ฉันเอง
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัวMSN Messenger
suvitjak
บัวบาน
บัวบาน


เข้าร่วม: 26 พ.ค. 2008
ตอบ: 457
ที่อยู่ (จังหวัด): khonkaen

ตอบตอบเมื่อ: 30 พ.ค.2008, 8:42 am ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

อายหน้าแดง มันเป็นการตัดเวรที่เขาทำไว้กับเรา แต่กรรมที่เขาทำต้องชดใช้อยู่ครับ ซึ้ง
 

_________________
ซื่อกินไม่หมดคดกินไม่นาน
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัว
แสดงเฉพาะข้อความที่ตอบในระยะเวลา:      
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
 


 ไปที่:   


อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
คุณไม่สามารถสร้างหัวข้อใหม่
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ
คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลบข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลงคะแนน
คุณ สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


 
 
เลือกบอร์ด  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  • สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทานธรรมะ  • หนังสือธรรมะ  • บทความ  • กวีธรรม  • สถานที่ปฏิบัติธรรม  • ข่าวกิจกรรม
นานาสาระ  • วิทยุธรรมะ  • เสียงธรรม  • เสียงสวดมนต์  • ประวัติพระพุทธเจ้า  • ประวัติมหาสาวก  • ประวัติเอตทัคคะ  • ประวัติพระสงฆ์  • ธรรมทาน  • แจ้งปัญหา

จัดทำโดย  กลุ่มเผยแผ่หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ธรรมจักรดอทเน็ต
เพื่อส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรมในสังคม
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546
ติดต่อ webmaster@dhammajak.net
Powered by phpBB © 2001, 2002 phpBB Group :: ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง